SlideShare a Scribd company logo
ส่วนที่ 2
การนาความรู้จากหลายสาขามาประยุกต์
บทที่ 7
หลักการออกแบบ
1. อธิบายความหมายของการออกแบบและการออกแบบมีหลักการ
พื้นฐานได้
2. อธิบายศิลปและมีส่วนประกอบต่างๆ ได้
3. อธิบายทัศนธาตุและมีส่วนประกอบต่างๆ ได้
วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
1. ความสาคัญและความหมายของการออกแบบ
• ความหมายของการออกแบบ
วิถีชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนเสียชีวิต มีความสัมพันธ์กับการออกแบบ
ทั้งสิ้น เพราะในการดารงชีวิตของเรา จะต้องกาหนดวางแผน ในขั้นตอนต่างๆ
เพื่อให้เกิดความเหมาะสม ต่อสถานการณ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา
ไม่ว่าจะทาการใดๆ หากขาดการวางแผนหรือขั้นตอนการออกแบบแล้วก็อาจทา
ให้กิจกรรม หรือ งานนั้นประสบความสาเร็จได้ยาก ถ้าการออกแบบเป็นเงาตาม
ตัวของชีวิตของมนุษย์
การออกแบบ คือศาสตร์แห่งการแก้ปัญหา ที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น โดยอาศัย
ความรู้ และหลักการของศิลปะ นามาใช้ให้เกิดความสวยงามและมีประโยชน์ใช้
สอย
ความสวยงาม จะเน้นด้านจิตใจเป็นหลัก เป็นสิ่งแรกที่เราได้สัมผัสก่อน
คนเราแต่ละคนต่างมีความรับรู้เรื่อง ความสวยงาม กับความพอใจ ในทั้ง 2
เรื่องนี้ไม่เท่ากัน จึงเป็นสิ่งที่ถกเถียงกันอย่างมาก และไม่มีเกณฑ์ ในการ
ตัดสินใดๆ เป็นตัวที่กาหนดชัดเจน ดังนั้นงานที่เราได้มีการจัดองค์ประกอบที่
เหมาะสมนั้น ก็จะมองว่าสวยงาม ได้เหมือนกัน ซึ่งผลจากการออกแบบจะทา
ให้ผู้ที่พบเห็นเกิดความสุข เกิดความพึงพอใจ การออกแบบประเภทนี้ ได้แก่
การออกแบบด้านจิตรกรรม ประติมากรรม ตลอดจนงานออกแบบตกแต่ง
ต่างๆ เช่น งานออกแบบ ตกแต่ง ภายในอาคาร งานออกแบบตกแต่ง
สวนหย่อม
ประโยชน์ใช้สอย ผู้ออกแบบโดยมากจะต้องคานึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับเป็น
จุดมุ่งหมายแรกของการออกแบบ ซึ่งประโยชน์ที่จะได้รับมีทั้งประโยชน์ในการใช้
สอย และประโยชน์ในการติดต่อสื่อสาร การออกแบบเพื่อ ประโยชน์ ในการใช้สอย
ที่ สาคัญ ได้แก่ ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยานพาหนะ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ เช่น
อุปกรณ์ในการ ประกอบอาชีพทางการเกษตรมีแห อวน ไถ หรืออุปกรณ์สานักงาน
ต่างๆ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ ชั้นวางหนังสือ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ประโยชน์เหล่านี้จะ
เน้นประโยชน์ทางกายโดยตรง
ส่วน ประโยชน์ในการติดต่อสื่อสาร ได้แก่ การออกแบบหนังสือ โปสเตอร์
งานโฆษณา ส่วนใหญ่มักจะเน้นการสื่อสารถึงกันด้วยภาษาและภาพ ซึ่งสามารถ
รับรู้ร่วมกันได้เป็นอย่างดี ผู้ออกแบบจาเป็นจะต้องมีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน
ซึ่งการออกแบบ โดยมากมักจะเกี่ยวข้องกับจิตวิทยาชุมชน ประโยชน์ด้านนี้จะเน้น
ทางด้านความศรัทธาเชื่อถือ และการ ยอมรับ ตามสื่อที่ได้รับรู้
2. ความสาคัญของการออกแบบ
ถ้าการออกแบบสามารถแก้ไขปัญหาของเราได้การออกแบบจึงมีความสาคัญ และคุณค่าต่อ
การดารงชีวิตของมนุษย์ ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ และทัศนคติ กล่าวคือ
•มีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ เช่น
• การวางแผนการการทางาน งานออกแบบจะช่วยให้การทางานเป็นไปตาม ขั้นตอน อย่าง
เหมาะสม และประหยัดเวลา ดังนั้นอาจถือว่าการออกแบบ คือ การวาง แผนการทางานที่ดี
• การนาเสนอผลงาน ผลงานออกแบบจะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ ตรงกันอย่าง
ชัดเจน ดังนั้น ความสาคัญในด้านนี้ คือ เป็นสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจ ระหว่างกัน
•สามารถอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับงาน งานบางประเภท อาจมีรายละเอียดมากมาย
ซับซ้อน ผลงานออกแบบ จะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้อง และผู้พบเห็นมีความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น หรือ
อาจกล่าวได้ว่า ผลงานออกแบบ คือ ตัวแทนความคิดของผู้ออกแบบได้ทั้งหมด
• แบบ จะมีความสาคัญมาก ถ้าผู้ออกแบบกับผู้สร้างงานหรือผู้ผลิต เป็นคนละคนกัน เช่น
สถาปนิกกับช่างก่อสร้าง นักออกแบบกับผู้ผลิตในโรงงาน หรือถ้าจะเปรียบไปแล้ว นัก
ออกแบบก็เหมือนกับคนเขียนบทละครนั่นเอง
ทีมา-องค์ประกอปของการออกแบบ
อิทธิพลต่อรูปลักษณ์การออกแบบ
เทคนิคการสร้างความคิดสร้างสรรค์
การพัฒนาในการออกแบบ
อะไรคือศิลปะ ???
คือ สิ่งที่มนุษย์สร ้างขึ้นเพื่อแสดงออกซึ่งอารมณ์
ความรู้สึก ปัญญา ความคิดและหรือ ความงามทั้งนี้จะ
กล่าว โดยรวม ก็คือ ศิลปะ จะประกอบไปด ้วย
ส่วนประกอบ 3 ประการ คือ
1. มีความงาม
2. มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน
3. มีความคิดสร ้างสรรค์
ศิลปะคืออะไร
ดังนั้น รูปร่างลักษณะหรือ ผลงาน สร ้างสรรค์ จากสิ่งต่าง ๆ ที่
มิใช่ผลงานของมนุษย์ รวมทั้งปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่มี ความ
สลับซับซ ้อน มีความสวยงาม มีรูปทรงแปลกตา แม ้ มนุษย์ จะมี
ความชื่นชม แต่ก็ไม่ ยอมรับว่าเป็ นผลงานศิลปะ แต่หากมนุษย์
ใช ้ความบันดาลใจ จากสิ่งเหล่านั้น มาสร ้างสรรค์ขึ้นมาใหม่ ถือ
ว่าเป็ นศิลปะ แต่จะเป็ น ศิลปะบริสุทธิ์ (Fine Art) หรือศิลป
ประยุกต์ (Applied Art) หรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย ใน
การสร้างผลงาน
ทัศนธาตุเป็นการรวมตัวของคาสองคา ทัศนะหมายถึง การ
เห็น สิ่งที่มองเห็น ธาตุหมายถึง สิ่งที่ถือว่าเป็ นส่วนสาคัญ
ที่รวมกันเป็ นรูปร่างของสิ่งทั้งหลายดังนั้นทัศนธาตุหมายถึง
ส่วนสาคัญที่รวมกันเป็ นรูปร่างของสิ่งหลายอย่างที่ตา
มองเห็น ประกอบด ้วย
ทัศนธาตุ
1. ทัศนธาตุ
1.1 จุด
1.2 เส ้น
1.3 รูปร่าง
1.4 รูปทรง
2. ลักษณะทางทัศนธาตุ
2.1 ค่าน้าหนัก
2.2 สี
2.3 พื้นผิว
จุด (Point)
จุดเป็ นธาตุเบื้องต ้นที่สุดของการมองเห็นจุด
มีมิติเป็ นศูนย์ไม่มีความกว ้างความยาวความลึก
เป็ นธาตุที่ไม่สามารถจะแบ่งออกได ้อีกเป็ นสิ่งที่
เล็กที่สุดในการสร ้างรูปร่าง- รูปทรง
จุด (Point)
จุด (Point)
จุด (Point)
การสร้างภาพจากจุด
เส ้น(Line)
เส ้นเป็ นสิ่งที่มีมิติเพียงมิติเดียวคือ ความยาว
มีลักษณะต่างๆมากมาย แต่เส ้นที่เป็ นพื้นฐานจริงๆมี
2 ลักษณะคือ เส ้นตรงกับเส ้นโค ้ง เส ้นลักษณะอื่นๆ
ล ้วนเกิดจากการผสมผสานจากเส ้นสองลักษณะนี้
ทั้งสิ้น
เส ้น(Line)
ให้เกิดความรู้สึกมั่นคง ความสูง
ให้ความรู้สึก สงบ รู้สึกนิ่ง
ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ไม่มั่นคง
ให้ความรู้สึกเหมือนถูกบีบคั้น ให้ความรู้สึกผ่อนคลาย
มีอากาศหรือพื้นที่ที่จะขยายได้
ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ให้รู้สึกถึงพลังการเปลี่ยนแปลง
การสร้างมิติด้วย ทิศทางของเส้น
การสร้างมิติ - ความเคลื่อนไหวด้วย
ทิศทางและขนาดของเส้น
การสร้างภาพจากเส้น
งานองค์ประกอบ ที่เกิดจากทิศทางและขนาดของเส้น
รูปร่าง มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือความกว ้างกับความ
ยาว
รูปทรง มีลักษณะเป็น 3 มิติ มีมวลมีปริมาตร คือ
ความกว ้าง ความยาว ความสูงหรือความลึก
รูปร่างและรูปทรง (Shape and Form)
รูปร่าง
รูปทรง
สีและน้าหนัก
สี (Colors)
การสื่อความหมายที่เชื่อมโยงกับสี
- สีแดง ให้ความรู้สึกเร่าร้อน รุนแรง อันตราย ตื่นเต้น
- สีเหลือง ให้ความรู้สึก สว่าง อบอุ่น แจ่มแจ้ง ร่าเริง ศรัทธา มั่งคั่ง
- สีเขียว ให้ความรู้สึก สดใส สดชื่น เย็น ปลอดภัย สบายตา มุ่งหวัง
- สีฟ้า ให้ความรู้สึก ปลอดโปล่ง แจ่มใส กว้าง ปราดเปรื่อง
- สีม่วง ให้ความรู้สึก เศร้า หม่นหมอง ลึกลับ
- สีดา ให้ความรู้สึก มืดมิด เศร้า น่ากลัว หนักแน่น
- สีขาว ให้ความรู้สึก บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ว่างเปล่า จืดชืด
- สีเทา ให้ความรู้สึก เศร้า เงียบขรึม สงบ แก่ชรา
- สีน้าเงิน ให้ความรู้สึก เงียบขรึม สงบสุข จริงจัง มีสมาธิ
- สีน้าตาล ให้ความรู้สึก แห้งแล้ง ไม่สดชื่น น่าเบื่อ
- สีชมพู ให้ความรู้สึก อ่อนหวาน เป็นผู้หญิง ประณีต ร่าเริง
- สีทอง ให้ความรู้สึก มั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์
พื้นผิวพื้นผิว (Texture)
พื้นผิว คือ ลักษณะบริเวณผิวสัมผัสที่จับต้องหรือให้
ความรู้สึกถึงความหยาบ ละเอียด มัน ด้าน เป็นเส้น
เป็นจุด
ลักษณะพื้นผิวมี 2 ชนิดคือ
1ลักษณะพื้นผิวแท้คือพื้นผิวที่รับรู้จากการสัมผัสทางกายได้
สามารถจับต้องแล้วรู้สึกถึงความหยาบ ความละเอียด ของตัวผิว
วัตถุตามความเป็นจริง
2ลักษณะพื้นผิวที่ทาเทียมขึ้นหรือลวดลาย คือ พื้นผิวที่ดูด้วย
สายตาแล้วรู้สึกถึงความหยาบ ความละเอียด แต่เมื่อสัมผัส จับต้อง
กลับเป็นพื้นผิวที่เรียบๆ เช่น ลายหิน ลายม้าลาย ลายเสือ ลายผ้า
ต่างๆ ฯลฯ
พื้นผิวพื้นผิวแท้
พื้นผิวที่ทาเทียมขึ้นหรือลวดลาย
1.รูปทรงจากธรรมชาติ ( Natural Form)
--รูปทรงที่ได ้รับแรงบันดาลใจจากสัตว์
--รูปทรงที่ได ้รับแรงบันดาลใจจากพืช
--รูปทรงที่ได ้รับแรงบันดาลใจจากคน
--รูปทรงที่ได ้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งแวดล ้อม
(ตามธรรมชาติ )
อิทธิพลต่อรูปลักษณ์การออกแบบ
2.รูปทรงที่มนุษย์สร ้างขึ้น ( Manmade Form)
--รูปทรงที่ได ้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์
สร ้างขึ้นด ้วยมือหรือเครื่องมือพื้นฐาน
--รูปทรงที่ได ้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์
สร ้างขึ้นด ้วยเครื่องจักร
--รูปทรงที่ได ้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งแวดล ้อม
(ที่มนุษย์สร ้างขึ้น)
1.รูปทรงจากธรรมชาติ
( Natural Form)
ที่คั้นน้ามะนาวเลียนแบบรูปร่าง
ของปลาหมึก ทาจากอลูมิเนียม
หล่อ รองขาด ้วยปุ่ มยาง
สังเคราะห์เทอร์โมพลาสติก
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสัตว์
Kidz Mouse เม ้าส์คอมพิวเตอร์
รูปหนู
ผลงานของ Logitech ออกแบบ
โดย Frog Design
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสัตว์
เก ้าอี้โซฟารูปดอกไม ้ โครง
เหล็กผสมไม ้ บุโพลียูเรเท
นโฟม หุ้มผ ้า มีล ้อเลื่อน
ด ้านหลัง
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากพืช
ที่แขวนเสื้อผ ้าตั้งพื้นรูปกระบองเพชร
ทาจากโพลียูเรเทนโฟม
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากพืช
เชิงเทียนและอุปกรณ์เปิดจุกขวดไวน์
รูปผู้หญิงสวมกระโปรง
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากคน
โซฟาที่ออกแบบให ้รับกับความ
โค ้งเว ้ากับสรีระของมนุษย์
ประกอบขึ้นด ้วยลูกบอลลมหลาย
ลูกเชื่อมต่อกันคล ้ายผู้หญิงร่าง
ท ้วม ให ้ความรู้สึกเหมือนนั่งบน
ตักแม่ ทาจากพลาสติกโพลียูลี
เทนในรูปถุงสุญญากาศเพื่อลด
ขนาดจัดเก็บ แต่เมื่อเปิดถุงจะ
ซับอากาศเข ้าไป แล ้วค่อยๆพอง
ขยายตัวออกจนได ้รูปทรงตาม
ภาพ
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากคน
เก ้าอี้และโคมไฟเลียนแบบกระดูกขาของคนและ
สัตว์
ผลงานออกแบบของJohn Dickenson,1920-1982
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากคน
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากคน
เก้าอี้ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากกระดูกของคน
และสัตว์
ผลงานออกแบบของ Joris Laarman
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากคน
โต๊ะขาเดี่ยวที่
ออกแบบ
เลียนแบบการไหล
เยิ้มของนมหรือ
เลือด ทาจาก
อลูมิเนียมหล่อ
เคลือบสีขาวด ้าน
หรือสีแดงมันเงา
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งแวดล้อม
( ตามธรรมชาติ )
เครื่องเรือนรูปก ้อน
เมฆ เป็นได ้ทั้ง
ฉากกั้นห ้องชั้น
วางของและชั้น
วางหนังสือ ทา
จากพลาสติก
HDPS
2.รูปทรงที่มนูษย์สร ้างขึ้น
( Manmade Form)
โคมไฟ ที่ได ้แรง
บันดาลใจจากร่ม
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์สร้างขึ้น
ด้วยเครื่องจักร
Sacco เบานั่งไวนีลที่
บรรจุด ้วยเม็ดโฟมโพ
ลีสไตรีน ได ้
แนวความคิดมาจาก
กองถุงขยะ
ผลงานของ,
1968
รูปทรงที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งแวดล้อม
(ที่มนุษย์สร้างขึ้น)
แนวคิดและการพัฒนา
ความคิดในการออกแบบ
Creative thinking
การออกแบบ เป็น การสร้างสรรค์ทางศิลปะอย่างหนึ่ง ของมนุษย์
ชาติ ซึ่งมีประวัติ ความเป็นมาและวิวัฒนาการที่ควบคู่ กันมากับมนุษย์
โดยตลอด เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งของศิลปะที่มนุษย์ทุกคนจะต้องรู้จัก
และสัมผัสกับผลงานการออกแบบอยู่ตลอดเวลา ในชีวิตและ
ประสบการณ์ประจาวัน ไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใดก็ตาม เพราะ การ
ออกแบบนั้นก็คือความเพียรพยายามของมนุษย์ในอันที่จะนาเอา
ทรัพยากรต่างๆ ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาดัดแปลงขึ้นเป็นสิ่งที่
จะเอื้ออานวย ความสะดวกสบาย และเกิดคุณประโยชน์เกิดคุณค่าต่อ
การดารงชีวิตของมนุษย์
การขยายส่วน
การลดส่วน
การจัดส่วนประกอบใหม่
การเปลี่ยนแปลง
การสร้างความตรงข้ามกัน
การแทนที่ใหม่
การรวมตัว
เทคนิคการสร้างความคิดสร้างสรรค์
การขยายส่วน (Magnify) ได้แก่การเพิ่มส่วนใหม่
แทนที่เดิม เช่น การเพิ่มความสูง ความหนา ความยาว
ความแข็งแรง ประโยชน์ใช้สอยทางอ้อม
การลดส่วน (Minify)ได้แก่ การย่อส่วน การตัด
ทอน ในส่วนที่ไม่จาเป็น เพื่อให้รูปทรงมีความ
กะทัดรัดมากกว่าเดิม หรือ แก้ปัญหาความเทอะทะของ
ผลิตภัณฑ์
การจัดส่วนประกอบใหม่(Rearrange) ได้แก่
การจัดส่วนประกอบ ที่มีความแปลก น่าสนใจ
มากกว่าเดิม เช่น การจัดให้เกิดบริเวณว่างใหม่ การ
สร้างสภาพ การซ้าใหม่ๆเป็นต้น
การเปลี่ยนแปลง (Modify) ได้แก่ การ
ดัดแปลงบางส่วนของผลิตภัณฑ์ เช่น การเปลี่ยนค่า
น้าหนักของสี การปรับปรุงรูปทรง การสร้าง
ลักษณะพื้นผิวที่แตกต่างกันมากขึ้นในพื้นที่เดียวกัน
เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ เปลี่ยนการใช้ประโยชน์ให้ต่าง
ออกไปจากเดิม
การสร้างความตรงข้ามกัน (Reverse) ได้แก่ การ
เปลี่ยนแปลงในการตรงกันข้ามกับรูปแบบเดิม เช่น
กลับค่า กลับหน้า-หลัง บน-ล่าง ซ้าย-ขวา กลับขาว
เป็นดา
การแทนที่ใหม่ (Substitute) ได้แก่ การ
แทนด้วยสิ่งใหม่ในอัตราส่วนที่ค่อนข้างมาก
จากรูปแบบเดิม เช่น การใช้วัสดุใหม่ ระบบ
การจัดรูปแบบการทางานของผลิตภัณฑ์ใหม่
เป็นต้น
การรวมตัว (Combine) ได้แก่ การรวมสิ่งที่มี
ลักษณะคล้ายกันไว้ด้วยกัน เช่น การรวมประโยชน์ใช้
สอยที่คล้ายกันไว้ในระบบเดียวกัน หรือการรวม
ผลิตภัณฑ์มากกว่าหนึ่งประเภทเข้าด้วยกัน
นักออกแบบ คือนักแก้ปัญหา ดังนั้นในบางครั้ง
การออกแบบต้องมีการปรับเปลี่ยน หรือแก้ไขปัญหาใน
ส่วนต่างๆของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญหาเรื่อง
รูปแบบ ทั้งนี้ เพื่อทาให้ผลิตภัณฑ์ ขั้นสุดท้ายสมบูรณ์ทั้ง
ในแง่มุมของประโยชน์ใช้สอยและความงามของ
รูปลักษณ์ หลักการและแก้ไขผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย
ผลิตภัณฑ์
จุดเด่น
จุดด้อย
-แนวความคิด
-หน้าที่ใช้สอย
-ความงาม
-วัสดุ
การพัฒนาในการออกแบบ
พัฒนา
ลดทอน
1. จงอธิบายความหมายของการออกแบบคืออะไรและการ
ออกแบบมีหลักการพื้นฐาน อะไรบ้าง
2. จงอธิบายศิลปคืออะไรและมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
3. จงอธิบายทัศนธาตุคืออะไรและมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
เพิ่มเติม ให้ออกแบบ ตามที่กาหนดให้
•แบบฝึกหัดบทที่ 7

More Related Content

Similar to Ict300_7_edit

ออกแบบนิเทศศิลป์
ออกแบบนิเทศศิลป์ออกแบบนิเทศศิลป์
ออกแบบนิเทศศิลป์
สุธารัตน์ ง่วนกั้น
 
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangAibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
ssuser9ce327
 
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangAibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
ssuser618f82
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
ทับทิม เจริญตา
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
1. หลักการออกกราฟิก design
1. หลักการออกกราฟิก  design1. หลักการออกกราฟิก  design
1. หลักการออกกราฟิก design
Pakornkrits
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
Noir Black
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Tanakorn Pansupa
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)

Similar to Ict300_7_edit (16)

ออกแบบนิเทศศิลป์
ออกแบบนิเทศศิลป์ออกแบบนิเทศศิลป์
ออกแบบนิเทศศิลป์
 
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangAibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
 
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraangAibkhwaamruueruueng phaaphraang
Aibkhwaamruueruueng phaaphraang
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Caption4
Caption4Caption4
Caption4
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
1. หลักการออกกราฟิก design
1. หลักการออกกราฟิก  design1. หลักการออกกราฟิก  design
1. หลักการออกกราฟิก design
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
Document 1820130813093402
Document 1820130813093402Document 1820130813093402
Document 1820130813093402
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 

More from Nicemooon

Ict300_6_edit
Ict300_6_editIct300_6_edit
Ict300_6_editNicemooon
 
Ict300_5_edit
Ict300_5_editIct300_5_edit
Ict300_5_editNicemooon
 
Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_editNicemooon
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_editNicemooon
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
Ict300_1_edit
Ict300_1_editIct300_1_edit
Ict300_1_editNicemooon
 
Ict300_1_edit
Ict300_1_editIct300_1_edit
Ict300_1_editNicemooon
 

More from Nicemooon (7)

Ict300_6_edit
Ict300_6_editIct300_6_edit
Ict300_6_edit
 
Ict300_5_edit
Ict300_5_editIct300_5_edit
Ict300_5_edit
 
Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_edit
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_edit
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
Ict300_1_edit
Ict300_1_editIct300_1_edit
Ict300_1_edit
 
Ict300_1_edit
Ict300_1_editIct300_1_edit
Ict300_1_edit
 

Ict300_7_edit