SlideShare a Scribd company logo
1
ข้อสอบโควตา มช. วิทยาศาสตร์1 ปี 55
ข้อสอบโควต้าเคมีตอนที่ 2/2
1(มช 55) ละลาย Xl2 ปริมาณ 1.7 กรัม ในน้้า แล้วท้าปฏิกิริยากับซิลเวอร์ไนเตรตมากเกิน
พอ ได้ตะกอนซิลเวอร์ไอโอไดด์หนัก 2.35 กรัม มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าไร
1. 40.3 2. 55.0 3. 86.0 4. 96.0 (ข้อ 3)
วิธีทำ
2(มช 55) ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว
1. ค่าความดันไอของของเหลวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
2. วัตถุลอยบนผิวของของเหลวได้เนื่องมาจากแรงตึงผิว
3. ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากจะมีจุดเดือดสูง
4. น้้าเกิดเป็นหยดกลมบนผิวแอปเปิ้ลเนื่องจากแรงเชื่อมแน่นมากกว่าแรงยึดติด (ข้อ 1)
เหตุผล
3(มช 55) ผลึกในข้อใดที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยที่สุด
1. CaF2 2. C (gr) 3. Mg 4. C12H22O11 (ข้อ 4)
เหตุผล
2
4(มช 55) ข้อใดถูกต้อง
1. การเผาตะปูเหล็กจะเกิดการลุกไหม้ได้เร็วกว่ราการเผาผงเหล็ก
2. การเกิดออกไซด์ของโลหะ A ในอากาศที่อุณหภูมิห้องจะเกิดได้ดีกว่าการเผาโลหะ
A ในอากาศ
3. ปฏิกิริยาระหว่าง KMnO4 กับ H2C2O4 ได้ผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งคือ Mn2+ ซึ่งเป็น
ตัวเร่งปฏิกิริยาหลัก
4. ปฏิกิริยาของแก๊ส H2 และ I2 ในภาชนะปิด เมื่อลดปริมาตรภาชนะ อัตราการ
เกิดปฏิกิริยาจะลดลง (ข้อ 3)
เหตุผล
5(มช 55) เมื่อระบบมีการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา สมบัติในข้อใดที่ไม่เปลี่ยนแปลง
1. พลังงานของปฏิกิริยา 2. กลไกการเกิดปฏิกิริยา
3. สารเชิงซ้อนกัมมันต์ 4. พลังงานก่อกัมมันต์ (ข้อ 1)
เหตุผล
3
6(มช 55) ข้อใดอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับปฏิกิริยาต่อไปนี้ได้ถูกต้อง
2NO2(g)  N2O4(g) + พลังงาน
สีน้้าตาลแดง ไม่มีสี
1. การเพิ่มความดัน ท้าให้ระบบมีค่าคงที่สมดุลเพิ่มขึ้น
2. หากเพิ่มปริมาตรของระบบ แก๊สจะมีสีเข้มขึ้นที่สมดุลใหม่
3. การเติมแก๊สฮีเลียมลงในระบบ ไม่ท้าให้ระบบมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ
4. หากจุ่มหลอดบรรจุแก๊สผสมนี้ในอ่างน้้าร้อน ระบบจะปรับตัวท้าให้แก๊สมีสีจางลง
เหตุผล (ข้อ 2)
7(มช 55) ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยา
Cu(s) + 2Ag+(aq)  Cu2+(aq) + 2Ag(s) ที่ 25oC , K = 2 x 1015
1. ค่าคงที่ของสมดุลนี้มีหน่วยเป็น dm3/mol
2. ที่ภาวะสมดุลของปฏิกิริยานี้ [Ag+] มากกว่า [Cu2+]
3. การเติม Cl– ลงไปจนเกิด AgCl(s) สมดุลจะเลื่อนมาทางด้านซ้าย
4. หากจุ่มลวดเงินลงในสารละลายทองแดง จะเกิดการละลายได้ยากมาก
เหตุผล (ข้อ 2)
4
8(มช 55) สารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.020 โมลต่อลิตร มีเปอร์เซ็นต์แตกตัว 5%
สารละลายนี้มีค่า pH เท่าใด
1. 2.0 2. 3.0 3. 5.0 4. 6.0 (ข้อ 2)
วิธีทา
10(มช 55) ถ้าต้องการเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ pH 6.0 ปริมาตร 1 ลิตร ต้องละลายเกลือ
NaA ปริมาณกี่กรัม ในน้้ากลั่น 250 มิลลิลิตร และเติมสารละลาย HA เข้มข้น 0.10 โมล
ต่อลิตร ลงไป 500 มิลลิลิตร จากนั้นปรับปริมาตรสารละลายทั้งหมดให้เป็น 1 ลิตร
ก้าหนดให้ Ka ของ HA = 1.0 x 10–5 , มวลโมเลกุลของ NaA = 82 กรัมต่อโมล
1. 8.2 2. 20.5 3. 41.0 4. 82.0 (ข้อ 3)
วิธีทา
5
11(มช 55) จากสมการไอออนิกที่ก้าหนดให้

4
MnO (aq) + S2–(aq) + H+(aq)  Mn2+(aq) + H2O(l ) + S(s)
ผลรวมประจุไฟฟ้าที่ท้าให้สมการดุลเป็นเท่าใด (ไม่มีข้อถูก แต่น่าจะตอบ +8)
1. +2 2. +4 3. +10 4. +17
วิธีทำ
13(มช 55) กาหนดค่า o
Re
E ให้ดังนี้
A+(aq) + e–  A(s) Eo = –0.10 V
B+(aq) + e–  B(s) Eo = –0.40 V
C2+(aq) + 2e–  C(s) Eo = –0.70 V
D2+(aq) + 2e–  B(s) Eo = –1.10 V
ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. สาร D เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีที่สุด
2. ภาชนะที่ทาด้วยโลหะ B จะไม่สึกกร่อนเมื่อใช้เก็บสารละลาย A+
3. ปฏิกิริยา D(s) + 2A+(aq)  D2+(aq) + 2A(s) เกิดขึ้นได้จริงตามธรรมชาติ
4. เซลล์ C(s)/C2+(aq)/B+(aq)/B(s) จะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากขั้วแอโนดไป
แคโทด (ข้อ 2)
เหตุผล
6
14(มช 55) ข้อสรุปใดผิดเกี่ยวกับสมบัติของสาร ก – ค
CH3COOCH3 CH3CH2CH2OH CH3CH2COOH
ก ข ค
1. สาร ค ละลายน้าได้ดีที่สุด
2. จุดเดือดของสารเรียงลาดับดังนี้ ค  ข  ก
3. สาร ข และ ค สามารถทาปฏิกิริยากับโซเดียมแล้วเกิดฟองแก๊ส
4. สาร ข เมื่อละลายน้าจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นแดง (ข้อ 4)
เหตุผล
15(มช 55) พิจารณาชนิดของปฏิกิริยาต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง (ข้อ 3)
1. + Br2  ปฏิกิริยาการเติม
2. + Br2  + HBr ปฏิกิริยาการแทนที่
3. CH3CO2H + H2O  CH3COO– + H3O+ ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส
4. CH3CO2H + CH3OH 
 


H CH3COOCH3 + H3O+
ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน
เหตุผล
Br
Br
Br
7
16(มช 55) สารใดที่มีไอโซเมอร์แบบซิสและทรานส์
1. C3H6 2. C3H8 3. C4H6 4. C4H8 (ข้อ 4)
เหตุผล
17(มช 55) พิจารณาสูตรโครงสร้างของสารต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง
ก. สารนี้จัดเป็นไตรเพปไทด์
ข. สารนี้มีจานวนพันธะเพปไทด์ 4 พันธะ
ค. เมื่อทดสอบสารนี้กับไบยูเรดจะให้สารสีน้าเงินม่วง
ง. กรดอะมิโนที่เป็นองค์ประกอบในสารนี้ละลายน้าให้สารละลายเป็นเบส (ข้อ 3)
1. ก กับ ข 2. ข กับ ค 3. ก กับ ค 4. ค กับ ง
เหตุผล
CH3 O = C
NH2 – CH – C – NH – CH2 – C – NH – CH – CH2 – C – NH2
O O O
NH2
8
18(มช 55) น้ามัน A – D ประกอบด้วยกรดไขมันที่มีจานวนคาร์บอนเท่ากัน จากผลการ
ทดสอบการฟอกสีกับ Br ข้อสรุปใดไม่ถูกต้อง
น้ามัน A B C D
จานวนหยดของสารละลาย Br2 39 45 74 89
1. น้ามัน D จะเหม็นหืนยากที่สุด
2. น้ามัน A มีกรดไขมันอิ่มตัวน้อยที่สุด
3. น้ามัน B มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวมากกว่าน้ามัน C
4. กรดไขมันในน้ามัน D มีจุดหลอมเหลวต่ากว่ากรดไขมันในน้ามัน A (ข้อ 1,2,3)
เหตุผล
19(มช 55) จากข้อมูลที่กาหนดให้ สาร A B และ C อาจจะเป็นสารใด
สาร การเปลี่ยนแปลงเมื่อทดสอบกับ
สารละลายเบเนดิกต์ สารละลาย I2 ใน KI
A ไม่เปลี่ยนแปลง เกิดสารสีน้าเงิน
B เกิดตะกอนสีแดงอิฐ ไม่เปลี่ยนแปลง
C ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
1. A = แป้ง B = ซูโครส C = สาลี
2. A = สาลี B = กลูโคส C = ไข่ขาว
3. A = สาลี B = ซูโครส C = นมถั่วเหลือง
4. A = แป้ง B = ฟรักโทส C = เซลลูโลส (ข้อ 4)
เหตุผล

More Related Content

What's hot

O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53Ja 'Natruja
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkaneTongta Nakaa
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
อิ๋ว ติวเตอร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
BELL N JOYE
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 

What's hot (12)

O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
 
Que oct 47
Que oct 47Que oct 47
Que oct 47
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 

Similar to เคมี ปี 55

Chem
ChemChem
Chemaom08
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
ssuser2feafc1
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
atichat44164
 
2543october
2543october2543october
2543october
awirut
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีWattana123456
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีchemnpk
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
9GATPAT1
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02SasipraphaTamoon
 
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
blogbiology
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)N-nut Piacker
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์Pornthip Nabnain
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 

Similar to เคมี ปี 55 (20)

Chem
ChemChem
Chem
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02
 
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 

More from Premrutai Srinual (14)

Blog
BlogBlog
Blog
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 
Gat eng ต.ค. 53
Gat eng ต.ค. 53Gat eng ต.ค. 53
Gat eng ต.ค. 53
 
Gat เชื่อมโยง
Gat เชื่อมโยงGat เชื่อมโยง
Gat เชื่อมโยง
 
Pat1 (1)
Pat1 (1)Pat1 (1)
Pat1 (1)
 
เคมี54
เคมี54เคมี54
เคมี54
 
สังคม 55
สังคม 55สังคม 55
สังคม 55
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 

เคมี ปี 55

  • 1. 1 ข้อสอบโควตา มช. วิทยาศาสตร์1 ปี 55 ข้อสอบโควต้าเคมีตอนที่ 2/2 1(มช 55) ละลาย Xl2 ปริมาณ 1.7 กรัม ในน้้า แล้วท้าปฏิกิริยากับซิลเวอร์ไนเตรตมากเกิน พอ ได้ตะกอนซิลเวอร์ไอโอไดด์หนัก 2.35 กรัม มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าไร 1. 40.3 2. 55.0 3. 86.0 4. 96.0 (ข้อ 3) วิธีทำ 2(มช 55) ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว 1. ค่าความดันไอของของเหลวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 2. วัตถุลอยบนผิวของของเหลวได้เนื่องมาจากแรงตึงผิว 3. ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากจะมีจุดเดือดสูง 4. น้้าเกิดเป็นหยดกลมบนผิวแอปเปิ้ลเนื่องจากแรงเชื่อมแน่นมากกว่าแรงยึดติด (ข้อ 1) เหตุผล 3(มช 55) ผลึกในข้อใดที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยที่สุด 1. CaF2 2. C (gr) 3. Mg 4. C12H22O11 (ข้อ 4) เหตุผล
  • 2. 2 4(มช 55) ข้อใดถูกต้อง 1. การเผาตะปูเหล็กจะเกิดการลุกไหม้ได้เร็วกว่ราการเผาผงเหล็ก 2. การเกิดออกไซด์ของโลหะ A ในอากาศที่อุณหภูมิห้องจะเกิดได้ดีกว่าการเผาโลหะ A ในอากาศ 3. ปฏิกิริยาระหว่าง KMnO4 กับ H2C2O4 ได้ผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งคือ Mn2+ ซึ่งเป็น ตัวเร่งปฏิกิริยาหลัก 4. ปฏิกิริยาของแก๊ส H2 และ I2 ในภาชนะปิด เมื่อลดปริมาตรภาชนะ อัตราการ เกิดปฏิกิริยาจะลดลง (ข้อ 3) เหตุผล 5(มช 55) เมื่อระบบมีการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา สมบัติในข้อใดที่ไม่เปลี่ยนแปลง 1. พลังงานของปฏิกิริยา 2. กลไกการเกิดปฏิกิริยา 3. สารเชิงซ้อนกัมมันต์ 4. พลังงานก่อกัมมันต์ (ข้อ 1) เหตุผล
  • 3. 3 6(มช 55) ข้อใดอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับปฏิกิริยาต่อไปนี้ได้ถูกต้อง 2NO2(g)  N2O4(g) + พลังงาน สีน้้าตาลแดง ไม่มีสี 1. การเพิ่มความดัน ท้าให้ระบบมีค่าคงที่สมดุลเพิ่มขึ้น 2. หากเพิ่มปริมาตรของระบบ แก๊สจะมีสีเข้มขึ้นที่สมดุลใหม่ 3. การเติมแก๊สฮีเลียมลงในระบบ ไม่ท้าให้ระบบมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ 4. หากจุ่มหลอดบรรจุแก๊สผสมนี้ในอ่างน้้าร้อน ระบบจะปรับตัวท้าให้แก๊สมีสีจางลง เหตุผล (ข้อ 2) 7(มช 55) ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยา Cu(s) + 2Ag+(aq)  Cu2+(aq) + 2Ag(s) ที่ 25oC , K = 2 x 1015 1. ค่าคงที่ของสมดุลนี้มีหน่วยเป็น dm3/mol 2. ที่ภาวะสมดุลของปฏิกิริยานี้ [Ag+] มากกว่า [Cu2+] 3. การเติม Cl– ลงไปจนเกิด AgCl(s) สมดุลจะเลื่อนมาทางด้านซ้าย 4. หากจุ่มลวดเงินลงในสารละลายทองแดง จะเกิดการละลายได้ยากมาก เหตุผล (ข้อ 2)
  • 4. 4 8(มช 55) สารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.020 โมลต่อลิตร มีเปอร์เซ็นต์แตกตัว 5% สารละลายนี้มีค่า pH เท่าใด 1. 2.0 2. 3.0 3. 5.0 4. 6.0 (ข้อ 2) วิธีทา 10(มช 55) ถ้าต้องการเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ pH 6.0 ปริมาตร 1 ลิตร ต้องละลายเกลือ NaA ปริมาณกี่กรัม ในน้้ากลั่น 250 มิลลิลิตร และเติมสารละลาย HA เข้มข้น 0.10 โมล ต่อลิตร ลงไป 500 มิลลิลิตร จากนั้นปรับปริมาตรสารละลายทั้งหมดให้เป็น 1 ลิตร ก้าหนดให้ Ka ของ HA = 1.0 x 10–5 , มวลโมเลกุลของ NaA = 82 กรัมต่อโมล 1. 8.2 2. 20.5 3. 41.0 4. 82.0 (ข้อ 3) วิธีทา
  • 5. 5 11(มช 55) จากสมการไอออนิกที่ก้าหนดให้  4 MnO (aq) + S2–(aq) + H+(aq)  Mn2+(aq) + H2O(l ) + S(s) ผลรวมประจุไฟฟ้าที่ท้าให้สมการดุลเป็นเท่าใด (ไม่มีข้อถูก แต่น่าจะตอบ +8) 1. +2 2. +4 3. +10 4. +17 วิธีทำ 13(มช 55) กาหนดค่า o Re E ให้ดังนี้ A+(aq) + e–  A(s) Eo = –0.10 V B+(aq) + e–  B(s) Eo = –0.40 V C2+(aq) + 2e–  C(s) Eo = –0.70 V D2+(aq) + 2e–  B(s) Eo = –1.10 V ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. สาร D เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีที่สุด 2. ภาชนะที่ทาด้วยโลหะ B จะไม่สึกกร่อนเมื่อใช้เก็บสารละลาย A+ 3. ปฏิกิริยา D(s) + 2A+(aq)  D2+(aq) + 2A(s) เกิดขึ้นได้จริงตามธรรมชาติ 4. เซลล์ C(s)/C2+(aq)/B+(aq)/B(s) จะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากขั้วแอโนดไป แคโทด (ข้อ 2) เหตุผล
  • 6. 6 14(มช 55) ข้อสรุปใดผิดเกี่ยวกับสมบัติของสาร ก – ค CH3COOCH3 CH3CH2CH2OH CH3CH2COOH ก ข ค 1. สาร ค ละลายน้าได้ดีที่สุด 2. จุดเดือดของสารเรียงลาดับดังนี้ ค  ข  ก 3. สาร ข และ ค สามารถทาปฏิกิริยากับโซเดียมแล้วเกิดฟองแก๊ส 4. สาร ข เมื่อละลายน้าจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นแดง (ข้อ 4) เหตุผล 15(มช 55) พิจารณาชนิดของปฏิกิริยาต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง (ข้อ 3) 1. + Br2  ปฏิกิริยาการเติม 2. + Br2  + HBr ปฏิกิริยาการแทนที่ 3. CH3CO2H + H2O  CH3COO– + H3O+ ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส 4. CH3CO2H + CH3OH      H CH3COOCH3 + H3O+ ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน เหตุผล Br Br Br
  • 7. 7 16(มช 55) สารใดที่มีไอโซเมอร์แบบซิสและทรานส์ 1. C3H6 2. C3H8 3. C4H6 4. C4H8 (ข้อ 4) เหตุผล 17(มช 55) พิจารณาสูตรโครงสร้างของสารต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง ก. สารนี้จัดเป็นไตรเพปไทด์ ข. สารนี้มีจานวนพันธะเพปไทด์ 4 พันธะ ค. เมื่อทดสอบสารนี้กับไบยูเรดจะให้สารสีน้าเงินม่วง ง. กรดอะมิโนที่เป็นองค์ประกอบในสารนี้ละลายน้าให้สารละลายเป็นเบส (ข้อ 3) 1. ก กับ ข 2. ข กับ ค 3. ก กับ ค 4. ค กับ ง เหตุผล CH3 O = C NH2 – CH – C – NH – CH2 – C – NH – CH – CH2 – C – NH2 O O O NH2
  • 8. 8 18(มช 55) น้ามัน A – D ประกอบด้วยกรดไขมันที่มีจานวนคาร์บอนเท่ากัน จากผลการ ทดสอบการฟอกสีกับ Br ข้อสรุปใดไม่ถูกต้อง น้ามัน A B C D จานวนหยดของสารละลาย Br2 39 45 74 89 1. น้ามัน D จะเหม็นหืนยากที่สุด 2. น้ามัน A มีกรดไขมันอิ่มตัวน้อยที่สุด 3. น้ามัน B มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวมากกว่าน้ามัน C 4. กรดไขมันในน้ามัน D มีจุดหลอมเหลวต่ากว่ากรดไขมันในน้ามัน A (ข้อ 1,2,3) เหตุผล 19(มช 55) จากข้อมูลที่กาหนดให้ สาร A B และ C อาจจะเป็นสารใด สาร การเปลี่ยนแปลงเมื่อทดสอบกับ สารละลายเบเนดิกต์ สารละลาย I2 ใน KI A ไม่เปลี่ยนแปลง เกิดสารสีน้าเงิน B เกิดตะกอนสีแดงอิฐ ไม่เปลี่ยนแปลง C ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง 1. A = แป้ง B = ซูโครส C = สาลี 2. A = สาลี B = กลูโคส C = ไข่ขาว 3. A = สาลี B = ซูโครส C = นมถั่วเหลือง 4. A = แป้ง B = ฟรักโทส C = เซลลูโลส (ข้อ 4) เหตุผล