SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1
มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๓
ปุราเภทสูตร
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ในพระสูตรปุราเภทสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหมที่มาเข้า
เฝ้าพระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัส
พระสูตรปุราเภทนี้ (พระสูตรว่าด้วยเรื่องแตกหรือถึงแก่ความตายในอนาคต ว่าก่อนตายควรปฏิบัติตน
อย่างไร) พร้อมกับคาถามพระสูตรนั้น แก่พวกเทวดาและพรหมที่เป็นพวกพุทธิจริต
ปุราเภทสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๑๐. ปุราเภทสูตร
ว่าด้วยก่อนการดับขันธปรินิพพาน
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๘๕๕] บุคคลมีทัสสนะ (ทัสสนะ ในที่นี้ หมายถึงอธิปัญญา) อย่างไร มีศีล (ศีล ในที่นี้ หมายถึง
อธิศีล) อย่างไร จึงเรียกว่า เป็นผู้สงบแล้ว (สงบ ในที่นี้ หมายถึงอธิจิต) ข้าแต่พระโคตมะ ข้าพระองค์ทูล
ถามแล้ว ขอพระองค์โปรดตรัสบอกนรชนผู้สูงสุดนั้นแก่ข้าพระองค์เถิด
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๘๕๖] ก่อนดับขันธปรินิพพาน พระอรหันต์เป็นผู้คลายตัณหา ไม่ติดอยู่กับความเพลิดเพลินที่มี
อยู่ในส่วนเบื้องต้น ใครๆ กาหนดไม่ได้ในส่วนท่ามกลาง พระอรหันต์นั้นมิได้มุ่งหวังถึงตัณหาและทิฏฐิ (ใน
ส่วนเบื้องปลาย)
[๘๕๗] บุคคลผู้ไม่โกรธ ไม่สะดุ้ง ไม่โอ้อวด ไม่คะนอง พูดด้วยปัญญา ไม่ฟุ้งซ่าน เป็นผู้สารวม
วาจานั้นแล ชื่อว่า เป็นมุนี
[๘๕๘] บุคคลผู้ไม่มีตัณหาเครื่องเหนี่ยวรั้งในอนาคต ไม่เศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว ผู้เห็นวิเวกใน
ผัสสะทั้งหลาย ย่อมไม่ถูกนาไปในทิฏฐิทั้งหลาย
[๘๕๙] บุคคลนั้นเป็นผู้หลีกเร้น ไม่หลอกลวง ไม่ทะเยอทะยาน ไม่ตระหนี่ (ตระหนี่ มี ๕ อย่าง
(๑) อาวาสมัจฉริยะ(ตระหนี่ที่อยู่) (๒) กุลมัจฉริยะ(ตระหนี่ตระกูล) (๓) ลาภมัจฉริยะ(ตระหนี่ลาภ) (๔)
วัณณมัจฉริยะ(ตระหนี่วรรณะ) (๕) ธัมมมัจฉริยะ(ตระหนี่ธรรม)) ไม่คะนอง ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ และไม่
ประกอบในความเป็นผู้มีวาจาส่อเสียด
2
[๘๖๐] บุคคลผู้ไม่ยินดีในสิ่งที่น่ายินดี ไม่ประกอบในความดูหมิ่น ละเอียดอ่อน มีปฏิภาณ ไม่ต้อง
เชื่อใคร และไม่ต้องคลายกาหนัด
[๘๖๑] บุคคลไม่ศึกษาเพราะอยากได้ลาภ ไม่โกรธเพราะไม่ได้ลาภ ไม่เดือดดาลและไม่ยินดีในรส
เพราะตัณหา
[๘๖๒] บุคคลเป็นผู้วางเฉย มีสติทุกเมื่อ ไม่สาคัญว่าเสมอเขา ไม่สาคัญว่าเลิศกว่าเขา ไม่สาคัญว่า
ด้อยกว่าเขา ในโลก กิเลสหนาย่อมไม่มีแก่บุคคลนั้น
[๘๖๓] บุคคลใดไม่มีที่อาศัย ไม่มีตัณหาในภพหรือในวิภพ (ภพ หมายถึงสัสสตทิฏฐิหรือภวทิฏฐิ
วิภพ หมายถึงอุจเฉททิฏฐิ หรือวิภวทิฏฐิ) บุคคลนั้นรู้ธรรมแล้วไม่ต้องอาศัย
[๘๖๔] เราเรียกบุคคลนั้นผู้ไม่มุ่งหวังในกามทั้งหลายว่า เป็นผู้เข้าไปสงบ บุคคลนั้นไม่มีกิเลส
เครื่องร้อยรัด ข้ามตัณหาที่ชื่อว่า วิสัตติกา ได้แล้ว
[๘๖๕] บุคคลนั้นไม่มีบุตร สัตว์เลี้ยง นา ไร่ และที่ดิน ทิฏฐิว่า มีอัตตา หรือทิฏฐิว่า ไม่มีอัตตา หา
ไม่ได้ในบุคคลนั้น
[๘๖๖] เหล่าปุถุชน หรือสมณพราหมณ์ พึงกล่าวหาบุคคลนั้นด้วยโทษใด (โทษ หมายถึงกิเลสมี
ราคะเป็นต้น) โทษนั้น ไม่เชิดชูบุคคลนั้นเลย เพราะฉะนั้น บุคคลนั้นจึงไม่หวั่นไหวในเพราะวาทะทั้งหลาย
[๘๖๗] บุคคลผู้เป็นมุนี เป็นผู้คลายความยินดี ไม่ตระหนี่ ย่อมไม่กล่าวในเรื่องเลิศกว่าเขา ไม่
กล่าวในเรื่องเสมอเขา ไม่กล่าวในเรื่องด้อยกว่าเขา เป็นผู้ไม่มีความกาหนด ย่อมไม่ถึงความกาหนด (ความ
กาหนด(กัปปะ) มี ๒ อย่าง คือ (๑) กาหนดด้วยอานาจตัณหา (๒) กาหนดด้วยอานาจทิฏฐิ)
[๘๖๘] บุคคลใดไม่มีความถือว่าเป็นของตนในโลก เมื่อไม่มีความถือว่าเป็นของตน ย่อมไม่เศร้า
โศก ไม่ถึงความลาเอียงในธรรมทั้งหลาย บุคคลนั้นแล เรียกว่า ผู้สงบ
ปุราเภทสูตรที่ ๑๐ จบ
--------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อัฏฐกวรรค
ปุราเภทสูตร
อรรถกถาปุราเภทสูตรที่ ๑๐
พระสูตรนี้ มีการเกิดขึ้นอย่างไร?
ท่านกล่าวถึงการเกิดแห่งพระสูตรนี้ และอีก ๕ พระสูตร คือ กลหวิวาทสูตร จูฬวิยูหสูตร มหาวิ
ยูหสูตร ตุวฏกสูตร และอัตตทัณฑสูตร โดยความเสมอกันตามนัยดังกล่าวแล้วในการเกิดแห่งสัมมาปริพ
พาชนิยสูตรนั้นแล.
แต่โดยความต่างกัน พระผู้มีพระภาคเจ้า ในมหาสมัยนั้น เพื่อทรงแสดงธรรมให้เป็นที่สบายแก่
พวกเทวดาที่เป็นราคจริต จึงทรงให้พระพุทธนิมิตถามพระองค์แล้ว ได้ตรัสสัมมาปริพพาชนิยสูตรขึ้นฉันใด
ในมหาสมัยนั้นก็ฉันนั้นเหมือนกัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบจิตของพวกเทวดาที่มีจิตเกิดขึ้นว่า ‘ก่อน
3
ตาย เราควรทาอะไรหนอ’ เพื่อทรงอนุเคราะห์เทวดาเหล่านั้น จึงทรงนาพระพุทธนิมิต พร้อมด้วยภิกษุ
บริวาร ๑,๓๕๐ รูปมาทางอากาศ ให้พระพุทธนิมิตนั้นถามปัญหาพระองค์แล้ว จึงได้ตรัสพระสูตรนี้ .
พึงทราบความในคาถามนั้นดังนี้
พระพุทธนิมิตตรัสถามถึงอธิปัญญาด้วยคาว่า บุคคลมีความเห็นอย่างไร ถามถึงอธิศีลด้วยคาว่า
บุคคลมีศีลอย่างไร ถามถึงอธิจิตด้วยคาว่า บุคคลเช่นไรเป็นผู้สงบ.
พึงทราบความในการตอบดังนี้
พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรงแก้อธิปัญญาเป็นต้น โดยสรุปตรัสว่าบุคคลชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะ
กิเลสสงบโดยเป็นผู้มีอธิปัญญาเป็นต้น เมื่อจะทรงแสดงถึงความสงบแห่งกิเลสนั้นๆ โดยอนุโลมตาม
อัธยาศัยของเหล่าเทวดาต่างๆ
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบเทศนาด้วยธรรมเป็นยอดคือพระอรหัต.
เมื่อจบเทศนา เทวดาแสนโกฏิได้บรรลุพระอรหัต จานวนผู้บรรลุโสดาบันเป็นต้นเหลือจะนับ
ด้วยประการฉะนี้ .
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf

28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf
๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf
๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้Theeraphisith Candasaro
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdfmaruay songtanin
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติPojjanee Paniangvait
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdfmaruay songtanin
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
๐๗ มงคลสูตร มจร.pdf
๐๗ มงคลสูตร มจร.pdf๐๗ มงคลสูตร มจร.pdf
๐๗ มงคลสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 

Similar to ๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf (20)

28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
 
๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf
๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf
๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
 
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
๐๗ มงคลสูตร มจร.pdf
๐๗ มงคลสูตร มจร.pdf๐๗ มงคลสูตร มจร.pdf
๐๗ มงคลสูตร มจร.pdf
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf

  • 1. 1 มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๓ ปุราเภทสูตร พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ในพระสูตรปุราเภทสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหมที่มาเข้า เฝ้าพระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัส พระสูตรปุราเภทนี้ (พระสูตรว่าด้วยเรื่องแตกหรือถึงแก่ความตายในอนาคต ว่าก่อนตายควรปฏิบัติตน อย่างไร) พร้อมกับคาถามพระสูตรนั้น แก่พวกเทวดาและพรหมที่เป็นพวกพุทธิจริต ปุราเภทสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต ๑๐. ปุราเภทสูตร ว่าด้วยก่อนการดับขันธปรินิพพาน (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๘๕๕] บุคคลมีทัสสนะ (ทัสสนะ ในที่นี้ หมายถึงอธิปัญญา) อย่างไร มีศีล (ศีล ในที่นี้ หมายถึง อธิศีล) อย่างไร จึงเรียกว่า เป็นผู้สงบแล้ว (สงบ ในที่นี้ หมายถึงอธิจิต) ข้าแต่พระโคตมะ ข้าพระองค์ทูล ถามแล้ว ขอพระองค์โปรดตรัสบอกนรชนผู้สูงสุดนั้นแก่ข้าพระองค์เถิด (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๘๕๖] ก่อนดับขันธปรินิพพาน พระอรหันต์เป็นผู้คลายตัณหา ไม่ติดอยู่กับความเพลิดเพลินที่มี อยู่ในส่วนเบื้องต้น ใครๆ กาหนดไม่ได้ในส่วนท่ามกลาง พระอรหันต์นั้นมิได้มุ่งหวังถึงตัณหาและทิฏฐิ (ใน ส่วนเบื้องปลาย) [๘๕๗] บุคคลผู้ไม่โกรธ ไม่สะดุ้ง ไม่โอ้อวด ไม่คะนอง พูดด้วยปัญญา ไม่ฟุ้งซ่าน เป็นผู้สารวม วาจานั้นแล ชื่อว่า เป็นมุนี [๘๕๘] บุคคลผู้ไม่มีตัณหาเครื่องเหนี่ยวรั้งในอนาคต ไม่เศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงไปแล้ว ผู้เห็นวิเวกใน ผัสสะทั้งหลาย ย่อมไม่ถูกนาไปในทิฏฐิทั้งหลาย [๘๕๙] บุคคลนั้นเป็นผู้หลีกเร้น ไม่หลอกลวง ไม่ทะเยอทะยาน ไม่ตระหนี่ (ตระหนี่ มี ๕ อย่าง (๑) อาวาสมัจฉริยะ(ตระหนี่ที่อยู่) (๒) กุลมัจฉริยะ(ตระหนี่ตระกูล) (๓) ลาภมัจฉริยะ(ตระหนี่ลาภ) (๔) วัณณมัจฉริยะ(ตระหนี่วรรณะ) (๕) ธัมมมัจฉริยะ(ตระหนี่ธรรม)) ไม่คะนอง ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ และไม่ ประกอบในความเป็นผู้มีวาจาส่อเสียด
  • 2. 2 [๘๖๐] บุคคลผู้ไม่ยินดีในสิ่งที่น่ายินดี ไม่ประกอบในความดูหมิ่น ละเอียดอ่อน มีปฏิภาณ ไม่ต้อง เชื่อใคร และไม่ต้องคลายกาหนัด [๘๖๑] บุคคลไม่ศึกษาเพราะอยากได้ลาภ ไม่โกรธเพราะไม่ได้ลาภ ไม่เดือดดาลและไม่ยินดีในรส เพราะตัณหา [๘๖๒] บุคคลเป็นผู้วางเฉย มีสติทุกเมื่อ ไม่สาคัญว่าเสมอเขา ไม่สาคัญว่าเลิศกว่าเขา ไม่สาคัญว่า ด้อยกว่าเขา ในโลก กิเลสหนาย่อมไม่มีแก่บุคคลนั้น [๘๖๓] บุคคลใดไม่มีที่อาศัย ไม่มีตัณหาในภพหรือในวิภพ (ภพ หมายถึงสัสสตทิฏฐิหรือภวทิฏฐิ วิภพ หมายถึงอุจเฉททิฏฐิ หรือวิภวทิฏฐิ) บุคคลนั้นรู้ธรรมแล้วไม่ต้องอาศัย [๘๖๔] เราเรียกบุคคลนั้นผู้ไม่มุ่งหวังในกามทั้งหลายว่า เป็นผู้เข้าไปสงบ บุคคลนั้นไม่มีกิเลส เครื่องร้อยรัด ข้ามตัณหาที่ชื่อว่า วิสัตติกา ได้แล้ว [๘๖๕] บุคคลนั้นไม่มีบุตร สัตว์เลี้ยง นา ไร่ และที่ดิน ทิฏฐิว่า มีอัตตา หรือทิฏฐิว่า ไม่มีอัตตา หา ไม่ได้ในบุคคลนั้น [๘๖๖] เหล่าปุถุชน หรือสมณพราหมณ์ พึงกล่าวหาบุคคลนั้นด้วยโทษใด (โทษ หมายถึงกิเลสมี ราคะเป็นต้น) โทษนั้น ไม่เชิดชูบุคคลนั้นเลย เพราะฉะนั้น บุคคลนั้นจึงไม่หวั่นไหวในเพราะวาทะทั้งหลาย [๘๖๗] บุคคลผู้เป็นมุนี เป็นผู้คลายความยินดี ไม่ตระหนี่ ย่อมไม่กล่าวในเรื่องเลิศกว่าเขา ไม่ กล่าวในเรื่องเสมอเขา ไม่กล่าวในเรื่องด้อยกว่าเขา เป็นผู้ไม่มีความกาหนด ย่อมไม่ถึงความกาหนด (ความ กาหนด(กัปปะ) มี ๒ อย่าง คือ (๑) กาหนดด้วยอานาจตัณหา (๒) กาหนดด้วยอานาจทิฏฐิ) [๘๖๘] บุคคลใดไม่มีความถือว่าเป็นของตนในโลก เมื่อไม่มีความถือว่าเป็นของตน ย่อมไม่เศร้า โศก ไม่ถึงความลาเอียงในธรรมทั้งหลาย บุคคลนั้นแล เรียกว่า ผู้สงบ ปุราเภทสูตรที่ ๑๐ จบ -------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อัฏฐกวรรค ปุราเภทสูตร อรรถกถาปุราเภทสูตรที่ ๑๐ พระสูตรนี้ มีการเกิดขึ้นอย่างไร? ท่านกล่าวถึงการเกิดแห่งพระสูตรนี้ และอีก ๕ พระสูตร คือ กลหวิวาทสูตร จูฬวิยูหสูตร มหาวิ ยูหสูตร ตุวฏกสูตร และอัตตทัณฑสูตร โดยความเสมอกันตามนัยดังกล่าวแล้วในการเกิดแห่งสัมมาปริพ พาชนิยสูตรนั้นแล. แต่โดยความต่างกัน พระผู้มีพระภาคเจ้า ในมหาสมัยนั้น เพื่อทรงแสดงธรรมให้เป็นที่สบายแก่ พวกเทวดาที่เป็นราคจริต จึงทรงให้พระพุทธนิมิตถามพระองค์แล้ว ได้ตรัสสัมมาปริพพาชนิยสูตรขึ้นฉันใด ในมหาสมัยนั้นก็ฉันนั้นเหมือนกัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบจิตของพวกเทวดาที่มีจิตเกิดขึ้นว่า ‘ก่อน
  • 3. 3 ตาย เราควรทาอะไรหนอ’ เพื่อทรงอนุเคราะห์เทวดาเหล่านั้น จึงทรงนาพระพุทธนิมิต พร้อมด้วยภิกษุ บริวาร ๑,๓๕๐ รูปมาทางอากาศ ให้พระพุทธนิมิตนั้นถามปัญหาพระองค์แล้ว จึงได้ตรัสพระสูตรนี้ . พึงทราบความในคาถามนั้นดังนี้ พระพุทธนิมิตตรัสถามถึงอธิปัญญาด้วยคาว่า บุคคลมีความเห็นอย่างไร ถามถึงอธิศีลด้วยคาว่า บุคคลมีศีลอย่างไร ถามถึงอธิจิตด้วยคาว่า บุคคลเช่นไรเป็นผู้สงบ. พึงทราบความในการตอบดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรงแก้อธิปัญญาเป็นต้น โดยสรุปตรัสว่าบุคคลชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะ กิเลสสงบโดยเป็นผู้มีอธิปัญญาเป็นต้น เมื่อจะทรงแสดงถึงความสงบแห่งกิเลสนั้นๆ โดยอนุโลมตาม อัธยาศัยของเหล่าเทวดาต่างๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบเทศนาด้วยธรรมเป็นยอดคือพระอรหัต. เมื่อจบเทศนา เทวดาแสนโกฏิได้บรรลุพระอรหัต จานวนผู้บรรลุโสดาบันเป็นต้นเหลือจะนับ ด้วยประการฉะนี้ . -----------------------------------------------------