SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๒๘ กปิลราชจริยา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
จระเข้เห็นความอัศจรรย์ดังนั้นคิดว่า พระยาวานรนี้ ทาอัศจรรย์ยิ่งนัก จึงกล่าวว่า พระยาวานรผู้
เจริญ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่างในโลกนี้ ย่อมครอบงาศัตรูได้. ธรรมทั้งหมดนั้นคงมีอยู่ในตัวของ
ท่าน. ท่านพระยาวานร ธรรม ๔ อย่างเหล่านี้ คือสัจจะ ธรรม ธิติ จาคะ มีอยู่แก่ผู้ใด เหมือนอย่างท่าน ผู้
นั้นย่อมล่วงพ้นศัตรูได้.
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก
๗. กปิลราชจริยา
ว่าด้วยจริยาของพญาวานร
[๖๗] ในกาลที่เราเป็นพญาวานร อยู่ ณ ซอกภูเขาใกล้ฝั่งแม่น้า ครั้งนั้น เราถูกจระเข้เบียดเบียน
ไปไหนไม่ได้
[๖๘] เรายืนอยู่ ณ โอกาสใด โดดจากฝั่งนี้ ไปฝั่งโน้น จระเข้เป็นสัตว์ดุร้าย แสดงความน่ากลัวอยู่
ณ โอกาสนั้น
[๖๙] จระเข้นั้นกล่าวกับเราว่า “มาเถิด” แม้เราก็กล่าวกับจระเข้นั้นว่า “แม้เราก็จะไป” ดังนี้
โดดลงเหยียบศีรษะจระเข้นั้นแล้ว ไปยืนอยู่ที่ฝั่งโน้น
[๗๐] เรามิได้ทาตามคาของจระเข้ที่กล่าวหลอกลวงนั้นก็หาไม่ บุคคลมีสัจจะเสมอเราไม่มี นี้
เป็นสัจจบารมีของเรา ฉะนี้ แล
กปิลราชจริยาที่ ๗ จบ
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญเนกขัมมบารมีเป็นต้น
๗. กปิลราชจริยา
อรรถกถากปิลราชจริยาที่ ๗
ในกาลเมื่อเราเกิดในกาเนิดวานร อาศัยความเจริญได้เป็นพระยาวานรมีกาลังดุจช้างสาร
สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง มีร่างกายใหญ่ประมาณเท่าลูกม้า. เราอยู่ที่ซอกเขาแห่งหนึ่งใกล้ฝั่งแม่น้าแห่งหนึ่ง.
2
ได้ยินว่า ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์มิได้ดูแลฝูง เที่ยวไปผู้เดียว. ก็ ณ ท่ามกลางแม่น้านั้นมีเกาะอยู่
เกาะหนึ่ง สมบูรณ์ด้วยผลไม้มีขนุนและมะม่วงเป็นต้นหลายๆ อย่าง.
พระโพธิสัตว์เพราะสมบูรณ์ด้วยกาลังเร็ว กระโดดจากฝั่งนี้ ของแม่น้าไปถึงแผ่นหินแผ่นหนึ่งซึ่งมี
อยู่ในท่ามกลางเกาะและแม่น้า. กระโดดจากแผ่นหินนั้นไปถึงเกาะนั้น. พระยาวานรเคี้ยวกินผลาผลหลายๆ
อย่าง ณ เกาะนั้น ตอนเย็นก็กลับโดยวิธีนั้นนั่นเองอยู่ในที่อยู่ของตน รุ่งขึ้นก็ทาอย่างนั้นอีก สาเร็จการอยู่
โดยทานองนี้ .
ในกาลนั้นมีจระเข้ตัวหนึ่งพร้อมด้วยนางจระเข้อาศัยอยู่ใกล้แม่น้านั้น. นางจระเข้เมียของจระเข้
นั้นเห็นพระโพธิสัตว์ไปๆ มาๆ อยู่เกิดแพ้ท้องอยากกินเนื้ อหัวใจของพระโพธิสัตว์ จึงบอกกะจระเข้ผู้เป็นผัว
ว่า นายจ๋า ฉันแพ้ท้องอยากกินเนื้ อหัวใจลิงนั้น. จระเข้กล่าวว่า ได้ซิเธอ. แล้วก็ไปด้วยหวังว่า จักจับพระยาลิง
นั้นซึ่งกลับจากเกาะในตอนเย็น จึงอยู่บนหลังแผ่นหิน.
พระโพธิสัตว์เที่ยวหาอาหารตลอดวัน ในตอนเย็นได้ยืนบนเกาะนั่นเอง มองดูแผ่นหินคิดว่า หิน
แผ่นนี้ บัดนี้ ปรากฏว่าสูงกว่าเดิม จะมีเหตุอะไรหนอ เพราะพระมหาสัตว์สังเกตปริมาณของน้าและปริมาณ
ของแผ่นหินไว้เป็นอย่างดี.
ด้วยเหตุนั้น พระโพธิสัตว์จึงดาริว่า วันนี้ น้าของแม่น้านี้ ก็ยังไม่ลด. แต่ทาไมแผ่นหินนี้ จึงปรากฏ
ใหญ่มาก คงจะเป็นเจ้าจระเข้นอนหมายจะจับเรา ณ ที่นั้นเป็นแน่.
พระยาวานรคิดว่า เราจักทดลองจระเข้นั้นก่อน จึงยืนอยู่อย่างนั้น ทาเป็นพูดกับแผ่นหิน พูดว่า
เฮ้ยเจ้าหิน ก็ไม่ได้รับคาตอบ พูดว่า เฮ้ยเจ้าหินอยู่ ๓ ครั้ง หินก็ไม่ให้คาตอบ.
พระโพธิสัตว์จึงพูดอีกว่า เฮ้ยเจ้าหิน ทาไมวันนี้ ไม่ให้คาตอบแก่เราเล่า.
จระเข้คิดว่า หินนี้ ในวันอื่นๆ คงให้คาตอบแก่พระยาวานรเป็นแน่. แต่วันนี้ หินไม่ให้คาตอบ
เพราะเราครอบไว้. เอาเถิด เราจะให้คาตอบแก่พระยาวานร จึงพูดว่า ว่าอย่างไรพระยาวานร.
ถามว่า เจ้าเป็นใคร. ตอบว่า เราเป็นจระเข้.
ถามว่า เจ้ามานอนที่นี้ เพื่ออะไร. ตอบว่า ต้องการหัวใจท่าน.
พระโพธิสัตว์คิดว่า เราไม่มีทางไปทางอื่น ทางไปของเราถูกปิดเสียแล้ว.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เราถูกจระเข้เบียดเบียนไปไม่ได้ เรายืนอยู่ ณ โอกาสใด โดดจากฝั่งนี้ ไปยังฝั่งโน้น. จระเข้มัน
เป็นสัตว์ดุร้าย แสดงความน่ากลัวอยู่ ณ โอกาสนั้น.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ดาริว่า เราไม่มีทางอื่นจะไป. วันนี้ เราจะลวงจระเข้ เราจะเปลื้องจระเข้
จากบาปใหญ่ด้วยอาการอย่างนี้ , และเราก็จะได้ชีวิตด้วย.
พระมหาสัตว์จึงกล่าวกะจระเข้ว่า จระเข้สหาย เราจักโดดไปบนตัวท่าน. จระเข้กล่าวว่า พระยา
วานร ท่านอย่ามัวชักช้าเชิญมาข้างนี้ ซิ.
พระมหาสัตว์ได้กล่าวว่า เรากาลังมา. แต่ท่านจงอ้าปากของท่านไว้ แล้วจับเราตอนที่เรามาหา
ท่าน. ก็เมื่อจระเข้อ้าปากตาทั้งสองข้างก็หลับ. จระเข้นั้นมิได้กาหนดเหตุการณ์นั้นจึงอ้าปาก. ตาของจระเข้ก็
หลับ. จระเข้อ้าปากนอนไม่ลืมตาเลย.
3
พระมหาสัตว์รู้ความเป็นจริงของจระเข้นั้น จึงกระโดดจากเกาะไปเหยียบหัวจระเข้ แล้วกระโดด
จากนั้นไปยืนบนฝั่งโน้นดุจสายฟ้าแลบ.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
จระเข้นั้นกล่าวกะเราว่าจงมา. แม้เราก็กล่าวกะจระเข้ว่าเราจะมา. เราโดดลงเหยียบหัวจระเข้นั้น
แล้วโดดไปยืนอยู่ที่ฝั่งโน้น.
อนึ่ง เกาะนั้นน่ารื่นรมย์ ประดับด้วยแนวต้นไม้ผลมีมะม่วง หว้า ขนุนเป็นต้น และเหมาะที่จะ
เป็นที่อยู่.
แม้พระมหาสัตว์รักษาคาสัจ เพราะได้ให้ปฏิญญาไว้ว่าเราจะมา ก็ได้กระทาอย่างนั้นว่า เราจัก
มาแน่นอน.
ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
เรามิได้ทาตามคาของจระเข้ที่กล่าวหลอกลวงนั้น หามิได้.
เพราะรักษาคาสัจนี้ ได้สละชีวิตของตนทาแล้ว ฉะนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ผู้เสมอด้วยคาสัจของเราไม่มี. นี้ เป็นสัจจบารมีของเรา.
จระเข้เห็นความอัศจรรย์ดังนั้นคิดว่า พระยาวานรนี้ ทาอัศจรรย์ยิ่งนัก จึงกล่าวว่า พระยาวานรผู้
เจริญ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่างในโลกนี้ ย่อมครอบงาศัตรูได้. ธรรมทั้งหมดนั้นคงมีอยู่ในตัวของ
ท่าน.
ท่านพระยาวานร ธรรม ๔ อย่างเหล่านี้ คือสัจจะ ธรรม ธิติ จาคะ มีอยู่แก่ผู้ใด เหมือนอย่าง
ท่าน ผู้นั้นย่อมล่วงพ้นศัตรูได้.
จระเข้สรรเสริญพระโพธิสัตว์อย่างนี้ แล้วได้ไปที่อยู่ของตน.
จระเข้ในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ .
เมียจระเข้ คือนางจิญจมาณวิกา.
ส่วนพระยาวานร คือพระโลกนาถ.
แม้ในจริยานี้ พึงเจาะจงกล่าวถึงบารมีที่เหลือของพระโพธิสัตว์นั้นโดยนัยดังกล่าวแล้วในหนหลัง
นั่นแล.
อนึ่งพึงประกาศคุณานุภาพมีอาทิอย่างนี้ คือ
การรู้ว่าจระเข้นอนบนแผ่นหินด้วยสังเกตประมาณของน้าและของหิน ด้วยกาหนดเอาว่า บัดนี้
ปรากฏหินสูงเกินไป.
การตัดสินเนื้ อความนั้นโดยอ้างว่าเคยพูดกับหิน.
การเปลื้องจระเข้ให้พ้นจากบาปใหญ่ เพราะรีบทาด้วยการเหยียบหัวจระเข้แล้วไปยืนอยู่ที่ฝั่งโน้น
ทันที.
การรักษาชีวิตของตน และการตามรักษาสัจจวาจา.
จบอรรถกถากปิลราชจริยาที่ ๗
-----------------------------------------------------
4

More Related Content

Similar to 28 กปิลราชจริยา มจร.pdf

24 อโยฆรจริยา มจร.pdf
24 อโยฆรจริยา มจร.pdf24 อโยฆรจริยา มจร.pdf
24 อโยฆรจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๕ โมฆราชปัญหา.pdf
๑๕ โมฆราชปัญหา.pdf๑๕ โมฆราชปัญหา.pdf
๑๕ โมฆราชปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdfmaruay songtanin
 
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
16 มหิสราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๗ ปารายนัตถุติคาถา.pdf
๑๗ ปารายนัตถุติคาถา.pdf๑๗ ปารายนัตถุติคาถา.pdf
๑๗ ปารายนัตถุติคาถา.pdfmaruay songtanin
 
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdfmaruay songtanin
 
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก.pdf
๐๑. เตมิยชาดก.pdf๐๑. เตมิยชาดก.pdf
๐๑. เตมิยชาดก.pdfmaruay songtanin
 
๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf
๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf
๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 

Similar to 28 กปิลราชจริยา มจร.pdf (20)

24 อโยฆรจริยา มจร.pdf
24 อโยฆรจริยา มจร.pdf24 อโยฆรจริยา มจร.pdf
24 อโยฆรจริยา มจร.pdf
 
๑๕ โมฆราชปัญหา.pdf
๑๕ โมฆราชปัญหา.pdf๑๕ โมฆราชปัญหา.pdf
๑๕ โมฆราชปัญหา.pdf
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๒.pdf
 
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
 
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
16 มหิสราชจริยา มจร.pdf
 
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
 
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
08 จันทกุมารจริยา มจร.pdf
 
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
๐๓ อัคคัญญสูตร มจร.pdf
 
๑๗ ปารายนัตถุติคาถา.pdf
๑๗ ปารายนัตถุติคาถา.pdf๑๗ ปารายนัตถุติคาถา.pdf
๑๗ ปารายนัตถุติคาถา.pdf
 
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf25 ภิงสจริยา มจร.pdf
25 ภิงสจริยา มจร.pdf
 
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
29 สัจจสวหยปัณฑิตจริยา มจร.pdf
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
 
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
 
๐๑. เตมิยชาดก.pdf
๐๑. เตมิยชาดก.pdf๐๑. เตมิยชาดก.pdf
๐๑. เตมิยชาดก.pdf
 
๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf
๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf
๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
 

More from maruay songtanin

010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...maruay songtanin
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfmaruay songtanin
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
010 สุขวิหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
009 มฆเทวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
008 คามณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
007 กัฏฐหาริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
005 ตัณฑุลนาฬิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
004 จูฬเสฏฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
003 เสริววาณิชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
001 อปัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
คำนำชุมนุมชาดก ในพระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ (มี ๕๒๕ เรื่อง) และเล่มที่ ๒๐ (มี ๒...
 
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdfหงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
หงส์ดำ Black Swan - The Impact of the Highly Improbable.pdf
 
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdfหลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
หลักการผู้นำ 7 ประการ 7 proven leadership principles .pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

28 กปิลราชจริยา มจร.pdf

  • 1. 1 การบาเพ็ญบารมีของพระผู้มีพระภาคเจ้า ตอนที่ ๒๘ กปิลราชจริยา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา จระเข้เห็นความอัศจรรย์ดังนั้นคิดว่า พระยาวานรนี้ ทาอัศจรรย์ยิ่งนัก จึงกล่าวว่า พระยาวานรผู้ เจริญ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่างในโลกนี้ ย่อมครอบงาศัตรูได้. ธรรมทั้งหมดนั้นคงมีอยู่ในตัวของ ท่าน. ท่านพระยาวานร ธรรม ๔ อย่างเหล่านี้ คือสัจจะ ธรรม ธิติ จาคะ มีอยู่แก่ผู้ใด เหมือนอย่างท่าน ผู้ นั้นย่อมล่วงพ้นศัตรูได้. พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ -พุทธวังสะ-จริยาปิฎก ๗. กปิลราชจริยา ว่าด้วยจริยาของพญาวานร [๖๗] ในกาลที่เราเป็นพญาวานร อยู่ ณ ซอกภูเขาใกล้ฝั่งแม่น้า ครั้งนั้น เราถูกจระเข้เบียดเบียน ไปไหนไม่ได้ [๖๘] เรายืนอยู่ ณ โอกาสใด โดดจากฝั่งนี้ ไปฝั่งโน้น จระเข้เป็นสัตว์ดุร้าย แสดงความน่ากลัวอยู่ ณ โอกาสนั้น [๖๙] จระเข้นั้นกล่าวกับเราว่า “มาเถิด” แม้เราก็กล่าวกับจระเข้นั้นว่า “แม้เราก็จะไป” ดังนี้ โดดลงเหยียบศีรษะจระเข้นั้นแล้ว ไปยืนอยู่ที่ฝั่งโน้น [๗๐] เรามิได้ทาตามคาของจระเข้ที่กล่าวหลอกลวงนั้นก็หาไม่ บุคคลมีสัจจะเสมอเราไม่มี นี้ เป็นสัจจบารมีของเรา ฉะนี้ แล กปิลราชจริยาที่ ๗ จบ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก การบาเพ็ญเนกขัมมบารมีเป็นต้น ๗. กปิลราชจริยา อรรถกถากปิลราชจริยาที่ ๗ ในกาลเมื่อเราเกิดในกาเนิดวานร อาศัยความเจริญได้เป็นพระยาวานรมีกาลังดุจช้างสาร สมบูรณ์ด้วยเรี่ยวแรง มีร่างกายใหญ่ประมาณเท่าลูกม้า. เราอยู่ที่ซอกเขาแห่งหนึ่งใกล้ฝั่งแม่น้าแห่งหนึ่ง.
  • 2. 2 ได้ยินว่า ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์มิได้ดูแลฝูง เที่ยวไปผู้เดียว. ก็ ณ ท่ามกลางแม่น้านั้นมีเกาะอยู่ เกาะหนึ่ง สมบูรณ์ด้วยผลไม้มีขนุนและมะม่วงเป็นต้นหลายๆ อย่าง. พระโพธิสัตว์เพราะสมบูรณ์ด้วยกาลังเร็ว กระโดดจากฝั่งนี้ ของแม่น้าไปถึงแผ่นหินแผ่นหนึ่งซึ่งมี อยู่ในท่ามกลางเกาะและแม่น้า. กระโดดจากแผ่นหินนั้นไปถึงเกาะนั้น. พระยาวานรเคี้ยวกินผลาผลหลายๆ อย่าง ณ เกาะนั้น ตอนเย็นก็กลับโดยวิธีนั้นนั่นเองอยู่ในที่อยู่ของตน รุ่งขึ้นก็ทาอย่างนั้นอีก สาเร็จการอยู่ โดยทานองนี้ . ในกาลนั้นมีจระเข้ตัวหนึ่งพร้อมด้วยนางจระเข้อาศัยอยู่ใกล้แม่น้านั้น. นางจระเข้เมียของจระเข้ นั้นเห็นพระโพธิสัตว์ไปๆ มาๆ อยู่เกิดแพ้ท้องอยากกินเนื้ อหัวใจของพระโพธิสัตว์ จึงบอกกะจระเข้ผู้เป็นผัว ว่า นายจ๋า ฉันแพ้ท้องอยากกินเนื้ อหัวใจลิงนั้น. จระเข้กล่าวว่า ได้ซิเธอ. แล้วก็ไปด้วยหวังว่า จักจับพระยาลิง นั้นซึ่งกลับจากเกาะในตอนเย็น จึงอยู่บนหลังแผ่นหิน. พระโพธิสัตว์เที่ยวหาอาหารตลอดวัน ในตอนเย็นได้ยืนบนเกาะนั่นเอง มองดูแผ่นหินคิดว่า หิน แผ่นนี้ บัดนี้ ปรากฏว่าสูงกว่าเดิม จะมีเหตุอะไรหนอ เพราะพระมหาสัตว์สังเกตปริมาณของน้าและปริมาณ ของแผ่นหินไว้เป็นอย่างดี. ด้วยเหตุนั้น พระโพธิสัตว์จึงดาริว่า วันนี้ น้าของแม่น้านี้ ก็ยังไม่ลด. แต่ทาไมแผ่นหินนี้ จึงปรากฏ ใหญ่มาก คงจะเป็นเจ้าจระเข้นอนหมายจะจับเรา ณ ที่นั้นเป็นแน่. พระยาวานรคิดว่า เราจักทดลองจระเข้นั้นก่อน จึงยืนอยู่อย่างนั้น ทาเป็นพูดกับแผ่นหิน พูดว่า เฮ้ยเจ้าหิน ก็ไม่ได้รับคาตอบ พูดว่า เฮ้ยเจ้าหินอยู่ ๓ ครั้ง หินก็ไม่ให้คาตอบ. พระโพธิสัตว์จึงพูดอีกว่า เฮ้ยเจ้าหิน ทาไมวันนี้ ไม่ให้คาตอบแก่เราเล่า. จระเข้คิดว่า หินนี้ ในวันอื่นๆ คงให้คาตอบแก่พระยาวานรเป็นแน่. แต่วันนี้ หินไม่ให้คาตอบ เพราะเราครอบไว้. เอาเถิด เราจะให้คาตอบแก่พระยาวานร จึงพูดว่า ว่าอย่างไรพระยาวานร. ถามว่า เจ้าเป็นใคร. ตอบว่า เราเป็นจระเข้. ถามว่า เจ้ามานอนที่นี้ เพื่ออะไร. ตอบว่า ต้องการหัวใจท่าน. พระโพธิสัตว์คิดว่า เราไม่มีทางไปทางอื่น ทางไปของเราถูกปิดเสียแล้ว. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เราถูกจระเข้เบียดเบียนไปไม่ได้ เรายืนอยู่ ณ โอกาสใด โดดจากฝั่งนี้ ไปยังฝั่งโน้น. จระเข้มัน เป็นสัตว์ดุร้าย แสดงความน่ากลัวอยู่ ณ โอกาสนั้น. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ดาริว่า เราไม่มีทางอื่นจะไป. วันนี้ เราจะลวงจระเข้ เราจะเปลื้องจระเข้ จากบาปใหญ่ด้วยอาการอย่างนี้ , และเราก็จะได้ชีวิตด้วย. พระมหาสัตว์จึงกล่าวกะจระเข้ว่า จระเข้สหาย เราจักโดดไปบนตัวท่าน. จระเข้กล่าวว่า พระยา วานร ท่านอย่ามัวชักช้าเชิญมาข้างนี้ ซิ. พระมหาสัตว์ได้กล่าวว่า เรากาลังมา. แต่ท่านจงอ้าปากของท่านไว้ แล้วจับเราตอนที่เรามาหา ท่าน. ก็เมื่อจระเข้อ้าปากตาทั้งสองข้างก็หลับ. จระเข้นั้นมิได้กาหนดเหตุการณ์นั้นจึงอ้าปาก. ตาของจระเข้ก็ หลับ. จระเข้อ้าปากนอนไม่ลืมตาเลย.
  • 3. 3 พระมหาสัตว์รู้ความเป็นจริงของจระเข้นั้น จึงกระโดดจากเกาะไปเหยียบหัวจระเข้ แล้วกระโดด จากนั้นไปยืนบนฝั่งโน้นดุจสายฟ้าแลบ. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า จระเข้นั้นกล่าวกะเราว่าจงมา. แม้เราก็กล่าวกะจระเข้ว่าเราจะมา. เราโดดลงเหยียบหัวจระเข้นั้น แล้วโดดไปยืนอยู่ที่ฝั่งโน้น. อนึ่ง เกาะนั้นน่ารื่นรมย์ ประดับด้วยแนวต้นไม้ผลมีมะม่วง หว้า ขนุนเป็นต้น และเหมาะที่จะ เป็นที่อยู่. แม้พระมหาสัตว์รักษาคาสัจ เพราะได้ให้ปฏิญญาไว้ว่าเราจะมา ก็ได้กระทาอย่างนั้นว่า เราจัก มาแน่นอน. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า เรามิได้ทาตามคาของจระเข้ที่กล่าวหลอกลวงนั้น หามิได้. เพราะรักษาคาสัจนี้ ได้สละชีวิตของตนทาแล้ว ฉะนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ผู้เสมอด้วยคาสัจของเราไม่มี. นี้ เป็นสัจจบารมีของเรา. จระเข้เห็นความอัศจรรย์ดังนั้นคิดว่า พระยาวานรนี้ ทาอัศจรรย์ยิ่งนัก จึงกล่าวว่า พระยาวานรผู้ เจริญ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ อย่างในโลกนี้ ย่อมครอบงาศัตรูได้. ธรรมทั้งหมดนั้นคงมีอยู่ในตัวของ ท่าน. ท่านพระยาวานร ธรรม ๔ อย่างเหล่านี้ คือสัจจะ ธรรม ธิติ จาคะ มีอยู่แก่ผู้ใด เหมือนอย่าง ท่าน ผู้นั้นย่อมล่วงพ้นศัตรูได้. จระเข้สรรเสริญพระโพธิสัตว์อย่างนี้ แล้วได้ไปที่อยู่ของตน. จระเข้ในครั้งนั้นได้เป็นเทวทัตในครั้งนี้ . เมียจระเข้ คือนางจิญจมาณวิกา. ส่วนพระยาวานร คือพระโลกนาถ. แม้ในจริยานี้ พึงเจาะจงกล่าวถึงบารมีที่เหลือของพระโพธิสัตว์นั้นโดยนัยดังกล่าวแล้วในหนหลัง นั่นแล. อนึ่งพึงประกาศคุณานุภาพมีอาทิอย่างนี้ คือ การรู้ว่าจระเข้นอนบนแผ่นหินด้วยสังเกตประมาณของน้าและของหิน ด้วยกาหนดเอาว่า บัดนี้ ปรากฏหินสูงเกินไป. การตัดสินเนื้ อความนั้นโดยอ้างว่าเคยพูดกับหิน. การเปลื้องจระเข้ให้พ้นจากบาปใหญ่ เพราะรีบทาด้วยการเหยียบหัวจระเข้แล้วไปยืนอยู่ที่ฝั่งโน้น ทันที. การรักษาชีวิตของตน และการตามรักษาสัจจวาจา. จบอรรถกถากปิลราชจริยาที่ ๗ -----------------------------------------------------
  • 4. 4