SlideShare a Scribd company logo
โรงเรียนบ้านขุนประเทศ สานักงานเขตหนองแขม
กรุงเทพมหานคร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดย
นางสาวอรฤทัย พวงกุหลาบ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐำนะครูชำนำญกำร
เรื่อง ดินในท้องถิ่น
ชุดที่ 1
โรงเรียนบ้านขุนประเทศ สานักงานเขตหนองแขม
กรุงเทพมหานคร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชุดที่ 1
โดย
นางสาวอรฤทัย พวงกุหลาบ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐำนะครูชำนำญกำร
เรื่อง ดินในท้องถิ่น
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง “ดินในท้องถิ่น” สาหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อการ
จัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีเนื้อหาสาระตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยลาดับเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องของดิน
ในเรื่องการสารวจดินและกระบวนการเกิดดิน ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้า สืบค้นข้อมูล ค้นพบ
ความรู้ด้วยตนเองโดยการฝึกปฏิบัติจริงทาให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง “ดินในท้องถิ่น” สาหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีทั้งหมด 6 ชุด คือ
ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ชุดที่ 2 องค์ประกอบของดิน
ชุดที่ 3 ชนิดและสมบัติของดิน
ชุดที่ 4 ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช
ชุดที่ 5 สาเหตุที่ทาให้ดินเสื่อมสภาพและการอนุรักษ์ดิน
ชุดที่ 6 ประโยชน์ของดิน
ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง “ดินในท้องถิ่น”
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน เล่มนี้ จะช่วยเสริมสร้างความรู้
ความเข้าใจ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียนได้เป็นอย่างดี
และเป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนเพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ขอขอบคุณคณะฝ่ายบริหารของโรงเรียน คณะผู้เชี่ยวชาญ คณะครูกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ทาให้การดาเนินการ
จัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่มนี้ สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
อรฤทัย พวงกุหลาบ
ก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ค
ผังมโนทัศน์ 1
คาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาหรับนักเรียน 2
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์ เวลาที่ใช้ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
กิจกรรมชวนคิด วิทย์น่ารู้ ตอน หนูรู้ไหม ไปทางไหนดี ? 7
กิจกรรมที่ 1.1 สารวจดินในท้องถิ่น 8
กิจกรรมชวนคิด วิทย์น่ารู้ ตอน หนูรู้หรือไม่ ? 11
กิจกรรมที่ 1.2 การเกิดดิน 12
ใบความรู้ เรื่อง กระบวนการเกิดดิน 15
สรุปความรู้เป็นแผนผังความคิด ( Mind Mapping) 19
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ ตอนที่ 1 20
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ ตอนที่ 2 21
แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ ตอนที่ 3 22
แบบทดสอบหลังเรียน 23
กิจกรรม ชวนคิด ชวนทา 26
ชวนอ่าน ชวนรู้ 28
กระดาษคาตอบ 31
แบบสรุปคะแนน 32
บรรณานุกรม 33
ข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
หน้า
ภาพ
แผนภาพกระบวนการเกิดดิน 16
ภาพหินและแร่ 17
ภาพซากพืชซากสัตว์ 17
ภาพสภาพภูมิประเทศ 29
ภาพพืชคลุมดิน 30
ค
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ผังมโนทัศน์
1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น สาหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีทั้งหมด 6 ชุด ชุดนี้เป็นชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้สอดคล้องกับตัวชี้วัด ว 6.1 ป.4/1
สารวจและอธิบายการเกิดดิน
3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมด 2 กิจกรรม ได้แก่
กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง สารวจดินในท้องถิ่น กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การเกิดดิน ใช้เวลาศึกษาและปฏิบัติ
กิจกรรม จานวน 2 ชั่วโมง
4. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที ลงใน
กระดาษคาตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ของตนเอง
5. นักเรียนทากิจกรรม ชวนคิด วิทย์น่ารู้ เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน
6. นักเรียนศึกษาคาชี้แจงและปฏิบัติตามขั้นตอนการทากิจกรรมอย่างละเอียด
จากนั้นสรุปผลกิจกรรม และตอบคาถามหลังทากิจกรรม
7. นักเรียนสืบค้นและศึกษาใบความรู้ เรื่อง กระบวนการเกิดดิน
8. นักเรียนทบทวนความรู้ สรุปเป็นแผนผังความคิด และทาแบบฝึกหัดทบทวน
ความรู้ ตอนที่ 1 – 3
9. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อเป็นการ
ประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง แล้วตรวจคาตอบจากครู
10. นาคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน มาเปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบ
ก่อนเรียน ผู้เรียนจะได้ทราบความก้าวหน้าของตนเองในการเรียนรู้จากชุดกิจกรรมนี้ ซึ่งนักเรียนต้อง
ทาแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้ 6 ข้อขึ้นไป จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์ และถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่
กาหนด ให้ทบทวนเนื้อหาและทาแบบทดสอบหลังเรียนใหม่อีกครั้ง
11. นักเรียนทากิจกรรมชวนคิด ชวนทา ซึ่งเป็นกิจกรรม ที่ทานอกเวลาเรียน
12. หากมีข้อสงสัยหรือพบปัญหาในการทากิจกรรม ให้นักเรียนสอบถามครูผู้สอน
หรือกลับไปทบทวนจากกิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองอีกครั้ง
2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
กิจกรรมที่ 1.1 สารวจดินในท้องถิ่น กิจกรรมที่ 1.2 การเกิดดิน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์
ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้
ว 6.1 ป.4/1 สารวจและอธิบายการเกิดดิน
ตัวชี้วัด
เมื่อเรียนจบเรื่องนี้แล้ว
1. นักเรียนสารวจและสังเกตสิ่งที่ปะปนมากับดินที่กาหนดให้ได้
2. นักเรียนอธิบายลักษณะของดินที่กาหนดให้ได้
3. นักเรียนทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการสร้างดินขึ้นมาเองได้ถูกต้อง
4. นักเรียนอธิบายกระบวนการเกิดดินได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
3
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
คาชี้แจง
4
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
1. แบบทดสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว และทาเครื่องหมาย
กากบาท ( X ) ลงในช่องว่างในกระดาษคาตอบ
1. ปรีชา สารวจดินใต้ต้นไม้ นักเรียนคิดว่า ลักษณะของดินที่เขาสังเกตได้เป็นอย่างไร
ก. มีเศษหินปะปนอยู่มาก
ข. มีเนื้อละเอียดร่วนซุย
ค. มีอนินทรียวัตถุมาก
ง. มีสีน้าตาลปนแดง
2. เมื่อนักเรียนทดลองเทน้าลงในบีกเกอร์ที่มีดินอยู่ นักเรียนจะสังเกตเห็นสิ่งใดลอยอยู่
เหนือน้า
ก. เศษใบไม้แห้ง
ข. เศษกระดาษ
ค. เศษก้อนหิน
ง. เศษกระจก
3. ข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นอินทรียวัตถุทั้งหมด
ก. เศษขยะ เศษใบไม้ กระดาษ
ข. เศษหิน ซากสัตว์ ใบไม้แห้ง
ค. เศษใบไม้แห้ง ซากสัตว์ กิ่งไม้แห้ง
ง. เศษกระดาษ หินและแร่ เศษใบไม้
5
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
4. ข้อใดเป็นปัจจัยที่ช่วยในการสลายตัวของหินและแร่ให้มีขนาดเล็กลง
ก. อินทรียวัตถุ
ข. กระแสลม
ค. จุลินทรีย์
ง. ฮิวมัส
5. ด.ญ. ชลดา นาสิ่งใดไปทิ้งไว้ใต้ต้นไม้เป็นระยะเวลานาน แล้วจะทาให้กลายเป็นดินได้
ก. เศษหิน
ข. เศษขยะ
ค. เศษกระจก
ง. เศษกระดาษ
6. ถ้า ด.ช.ธันวา ต้องการทดลองสร้างดินขึ้นเอง ด.ช.ธันวา จะต้องนาสิ่งใดต่อไปนี้
มาทาการทดลองเพื่อสร้างดิน
ก. ถุงพลาสติก
ข. หินและแร่
ค. กล่องโฟม
ง. ดินน้ามัน
7. ในกระบวนการเกิดดิน เปลือกถั่วต้มที่อยู่ในดิน สัมพันธ์กับข้อใดต่อไปนี้
ก. กระป๋องน้าอัดลมที่ทับถมอยู่ในดิน
ข. เศษหินและทรายที่อยู่ในตู้ปลา
ค. ซากแมลงที่เน่าเปื่อยในชั้นดิน
ง. ถุงพลาสติกที่ฝังอยู่ใต้ดิน
6
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
8. หลังบ้านของการ์ตูน มีใบไม้ร่วงเป็นจานวนมาก เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะ พบว่า
ใบไม้นั้นเน่าเปื่อยผุพังกลายเป็นดิน เพราะเหตุใด ใบไม้จึงกลายเป็นดิน
ก. เพราะใช้สารเคมีทาลายใบไม้
ข. เพราะมีเชื้อโรคมากัดกินใบไม้
ค. เพราะมีจุลินทรีย์ย่อยสลายใบไม้
ง. เพราะมีเชื้อไวรัสแพร่ระบาดในใบไม้
9. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. หินและแร่ที่สลายตัวเรียกว่าวัตถุต้นกาเนิดดิน
ข. ฮิวมัสเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอนินทรียวัตถุ
ค. จุลินทรีย์เป็นตัวสลายหินและแร่
ง. อินทรียวัตถุช่วยให้ดินแข็งตัว
10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. พืชและมนุษย์ทาให้หินแตกเป็นชิ้นเล็กๆ ได้
ข. ดินเกิดจากหินที่ผุผังผสมกับซากพืชซากสัตว์
ค. ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังเรียกว่าจุลินทรีย์
ง. ฮิวมัสเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ เก่งมากเลยค่ะ
เพื่อน ๆ สนใจทาแบบทดสอบออนไลน์
สแกน QR Code หรือ พิมพ์ URL
ได้ที่นี่ค่ะ
https://goo.gl/8GNqfL
7
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
เราจะไปทางไหนกันดีนะ ?
ตอน หนูรู้ไหม ไปทางไหนดี?
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกเส้นทางพาไส้เดือนดินเดินทางออกจากเขาวงกตนี้ ไปสู่ดินให้เร็วที่สุด
เก่งมากเลย ถึงเส้นชัยแล้ว
1. สารวจและสังเกตสิ่งที่ปะปนมากับดินที่กาหนดให้ได้
2. อธิบายลักษณะของดินที่กาหนดให้ได้
1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5- 6 คน
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารับดินตัวอย่าง 2 ชนิด จากคุณครู
3. นาดินตัวอย่างชนิดที่ 1 และ ดินชนิดที่ 2 เทลงบนแผ่นกระดาษ A4 แล้วใช้ไม้จิ้มฟันเขี่ย
เม็ดดินให้กระจายทั่วแผ่นกระดาษ
4. ใช้แว่นขยายสังเกตดิน โดย สังเกตสี เนื้อดิน สิ่งที่ปะปนอยู่ในดิน และบันทึกผลกิจกรรม
5. หยิบดินเล็กน้อยขึ้นมาวางบนมือ แล้วใช้นิ้วถูที่ดินว่ารู้สึกอย่างไร และบันทึกผล
6. ให้นักเรียนทาเช่นเดียวกับข้อ 3-5 กับดินชนิดที่ 2 และบันทึกผล
7. เติมน้าลงในบีกเกอร์จนเกือบเต็ม ใช้แท่งแก้วคนสารคนอย่างระมัดระวัง ประมาณ 1 นาที
8. ตั้งบีกเกอร์ทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที ให้ส่วนประกอบของดินนอนก้น สังเกตและบันทึกผล
จุดประสงค์การเรียนรู้
5.กระดาษ A4 2 แผ่น
วัสดุอุปกรณ์
วิธีการทากิจกรรม
1. ตัวอย่างดิน 2 ชนิด
(บริเวณใต้ต้นไม้
และบริเวณริมถนน)
4. บีกเกอร์ 2 ใบ
2. แว่นขยาย 1 อัน
3. ไม้จิ้มฟัน 1 อัน
6. น้า
200 ลูกบาศก์เซนติเมตร
นักเรียนคิดว่า ดินแต่ละแหล่ง
มีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ ?
8
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ตาราง แสดงสีของดิน เนื้อดิน สิ่งที่ปะปนอยู่ในดิน ความรู้สึกเมื่อใช้นิ้วถูและสิ่งที่พบเมื่อเทน้าใส่ในบีกเกอร์
บันทึกผลการทากิจกรรม
เนื้อดิน
สิ่งที่ปะปนอยู่ในดิน
สีของดิน ........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
ความรู้สึกเมื่อใช้นิ้วถู ........................................
........................................
........................................
........................................
สิ่งที่พบเมื่อเทน้า
ลงในบีกเกอร์
........................................
........................................
.......................................
........................................
.......................................
...................................
ลักษณะที่สังเกต
วันที่.........................เดือน....................................................พ.ศ. .............................
ชื่อกลุ่ม................................................................................................ชั้น ป.4/………………………
สมาชิกในกลุ่ม 1. …………………………………………………………………………เลขที่..................ประธาน
2. …………………………………………………………………………เลขที่..................รองประธาน
3. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก
4. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก
5. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก
6. …………………………………………………………………………เลขที่..................เลขานุการ
ดินชนิดที่ดินชนิดที่
9
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
สรุปผลกิจกรรม
คาถามท้ายกิจกรรม
2. ดินแต่ละแหล่งที่นักเรียนสำรวจ มีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ตอบคาถามท้ายกิจกรรม
กันเลยครับ
3. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใด ดินที่นักเรียนสารวจบริเวณต่างๆ จึงแตกต่างกัน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
10
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
1. สิ่งที่นักเรียนสังเกตพบในดินมีอะไรบ้าง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
สิ่งใดทำให้เกิดดินได้บ้ำงนะ
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  ลงใน ใต้ภาพที่นักเรียนคิดว่า
เป็นสิ่งที่สามารถทาให้เกิดเป็นดินได้
หินและแร่
ขวดน้า
กล่องโฟม
ถุงพลาสติก ซากสัตว์
ใบไม้
ตอน หนูรู้หรือไม่ ?
11
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ดินเกิดจากอะไร
มาทดลองทาดินกันเลยครับ
12
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
1. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการสร้างดินด้วยตนเองได้
2. อธิบายกระบวนการเกิดดินได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
วัสดุอุปกรณ์
วิธีการทากิจกรรม
1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5- 6 คน
2. ให้นักเรียนนาหินละเอียด และ ทราย ชนิดละ 100 กรัม มาผสมให้เข้ากันในบีกเกอร์
ขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร สังเกตลักษณะของสารที่ได้ในบีกเกอร์ และบันทึกผล
3. นาซากพืชซากสัตว์ ปริมาณ 100 กรัม ใส่ลงในบีกเกอร์ 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สังเกตและบันทึกผล
4. ให้นักเรียนนาหินละเอียดกับทรายที่ผสมใน ข้อ 1 มาจานวน 100 กรัม ผสมลงไปใน
บีกเกอร์ที่มีซากพืชซากสัตว์ จากข้อ 2 คลุกเคล้าให้เข้ากัน สังเกตและบันทึกผล
1. หินละเอียด 100 กรัม
2. ทราย 100 กรัม
3. ซากพืชซากสัตว์ 100 กรัม
4. บีกเกอร์ขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2 ใบ
5. แท่งแก้วคนสาร 1 อัน
ตาราง ลักษณะของสารต่างๆ ก่อนผสม และสารใหม่ที่ได้หลังนาสารมาผสมกัน
บันทึกผลการทากิจกรรม
ลักษณะของสารใหม่
หลังนามาผสมกัน
ลักษณะของสาร
หินละเอียดและทราย ซากพืชซากสัตว์
วันที่.........................เดือน....................................................พ.ศ. .............................
ชื่อกลุ่ม................................................................................................ชั้น ป.4/………………………
สมาชิกในกลุ่ม 1. …………………………………………………………………………เลขที่..................ประธาน
2. …………………………………………………………………………เลขที่..................รองประธาน
3. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก
4. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก
5. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก
6. …………………………………………………………………………เลขที่..................เลขานุการ
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
........................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
สรุปผลกิจกรรม
13
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
1. เมื่อผสมหินละเอียดและทราย กับ ซากพืชซากสัตว์เข้าด้วยกัน ลักษณะของสารใหม่ที่ได้
เป็นอย่างไร
..............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
คาถามท้ายกิจกรรม
3. สรุปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
2. ถ้าทิ้งสารที่ได้จากการผสมไว้นานๆ นักเรียนคิดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
4. นักเรียนคิดว่ากระบวนการเกิดดินมีขั้นตอนอย่างไร
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
14
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ
เก่งมากเลยค่ะ
ดิน เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ ลักษณะของดิน
ในแต่ละท้องถิ่น จะมีความแตกต่างกันตามสภาพการเกิดของดินนั้นๆ เนื่องจาก
ในท้องถิ่นต่างๆ มีสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และวัตถุที่เป็นต้นกาเนิดดิน
ไม่เหมือนกัน
รู้ไหมว่า...
ดินเกิดขึ้นได้อย่างไร?
ดินจึงเป็นทรัพยากรธรรมชาติมีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิต
ไม่ว่าจะเป็น คน สัตว์ และพืช ต้องอาศัยประโยชน์จากดิน
ในการดารงชีวิต หากไม่มีดิน สิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิด
จะไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษย์สามารถนามา
ใช้ประโยชน์ได้ ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญได้แก่ ดิน น้า ป่าไม้ และ แร่ธาตุ
การนาทรัพยากรมาใช้ไม่ถูกวิธี ทาให้ทรัพยากรบางอย่างหมดไปจากโลกของเราได้
ดังนั้น เราต้องตระหนักถึงความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ และร่วมกันอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติของเราไม่ให้เสื่อมโทรม
15
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
เกิดการสลายตัวโดยกระบวนการผุพัง
แผนภาพกระบวนการเกิดดิน
หินและแร่ ซากพืช ซากสัตว์
ฮิวมัส
(อินทรียวัตถุ)
วัตถุต้นกาเนิดดิน
(อนินทรียวัตถุ)
เกิดกระบวนการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์
ดิน
กระบวนการคลุกเคล้าทับถมเป็นเวลานาน
ดิน เป็นวัตถุที่เกิดจากธรรมชาติ เกิดจากการผุพังและสลายตัวของหิน
และแร่ธาตุต่างๆ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากน้า ลม และแสงแดด
จนได้วัตถุต้นกาเนิดดิน รวมกับซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังเนื่องจาก
จุลินทรีย์ย่อยสลาย ซึ่งเรียกว่า ฮิวมัส เมื่อวัตถุต้นกาเนิดดินและฮิวมัส
ผสมคลุกเคล้ากัน โดยมีจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในดิน
ช่วยดินย่อยสลาย ก็จะกลายเป็นดิน ดังแผนภูมิ
16
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
คือ ซากพืชซากสัตว์ ที่เน่าเปื่อยผุพัง สลายตัว
อยู่ในดิน โดยมีจุลินทรีย์เป็นผู้ย่อยสลาย มักมีสีดา
มีธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
คือ หินและแร่ที่สลายตัวเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย
ซึ่งถูกกัดกร่อนโดยแสงแดด กระแสลม
หรือถูกน้ากัดเซาะ
วัตถุต้นกาเนิดดิน
ฮิวมัส
17
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ภาพ หินและแร่
ภาพ ซากพืชซากสัตว์
จุลินทรีย์ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เช่น แบคทีเรีย
เชื้อรา เป็นต้น ช่วยในการย่อยสลายอินทรียสารต่าง ๆ
เราไปสารวจดินกันเถอะ
18
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
จากการสารวจและสังเกตลักษณะของดินจากแหล่งต่างๆ จะพบเศษหินเล็ก ๆ
ซากพืชซากสัตว์บางชนิด เนื่องจาก ดินเกิดจากการแตกหักสลายตัวของหินและแร่
บริเวณพื้นผิวโลกโดยกระบวนการผุพังและการกร่อน ทาให้เกิดส่วนประกอบขนาดต่างๆ
ได้แก่ เศษหิน กรวด ทราย และดิน ตัวการที่ทาให้หินและแร่แตกหักสลายตัว ได้แก่ ลม
น้า แรงโน้มถ่วงของโลก ความร้อน รวมทั้งพืชและมนุษย์เอง พืชที่ขึ้นบนหินทาให้หิน
แตกเป็นชิ้นเล็กๆ สัตว์ขนาดเล็ก ๆ สามารถเข้าไปอาศัยอยู่ได้ เมื่อพืชและสัตว์ตายลง
ก็เน่าเปื่อยผุพังรวมกับส่วนประกอบที่เกิดจากการผุพังของหินกลายเป็นดิน ในบริเวณที่
อากาศร้อนและชื้น เช่น ในประเทศไทย จะพบว่า ซากพืช ซากสัตว์จะเน่าเปื่อยผุพัง
เร็วกว่าในบริเวณที่มีอากาศเย็นและแห้ง ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังสลายตัวทับทม
อยู่ในดิน เรียกว่า ฮิวมัส ฮิวมัสมีธาตุที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ฮิวมัสมักมีสีดา หรือสีน้าตาล ทาให้ดินที่มีฮิวมัสอยู่มากมีสีเข้ม
แบคทีเรียซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าอาศัยอยู่ในดิน
ช่วยทาให้ซากพืช ซากสัตว์เน่าเปื่อยผุผัง นอกจากแบคทีเรียยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นที่อาศัยอยู่
ในดิน เช่น แมลง ไส้เดือน รา ช่วยทาให้ซากพืช ซากสัตว์สลายตัวทับถมบนดิน
การเปลี่ยนแปลงที่ทาให้หินและซากพืช ซากสัตว์กลายเป็นดิน เกิดขึ้นอย่างช้าๆ
การเกิดดินที่มีความหนา 1 เซนติเมตร อาจใช้เวลาเป็น 100 ปี ถึง 1,000 ปี
ไปสารวจกันว่า
เราจะพบอะไรในดิน
จากแหล่งต่าง ๆ บ้าง ?
สรุปความรู้เป็นแผนผังความคิด (Mind Mapping)
ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............
ให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน มาเขียนเป็นแผนผังความคิด (Mind Mapping)
คาชี้แจง
19
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............
ตอนที่ 1
ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงใน หน้าคาตอบที่ถูกต้องคาชี้แจง
1. นักเรียนคิดว่าหินละเอียดและทรายเปรียบเหมือนกับสิ่งใดในธรรมชาติ
วัตถุต้นกาเนิดดิน
อินทรียวัตถุ
2. ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังสลายตัวอยู่ในดิน เรียกว่าอะไร
จุลินทรีย์
ฮิวมัส
3. สิ่งใดต่อไปนี้ ทาให้เกิดดินได้ถ้านาไปฝังลงในดิน
เศษไม้
เศษโฟม
4. ข้อใดคืออินทรียวัตถุ
เศษหินและทราย
เศษใบไม้ ใบหญ้า
5. ดินเกิดจากอะไร
เศษหินและแร่ รวมกับเศษขยะมูลฝอย
เศษหินและแร่ รวมกับซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพัง
20
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............
ให้นักเรียนเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ตอนที่ 2
คาชี้แจง
……………………… ………………………
……………………… ………………………
………………………
แผนภาพกระบวนการเกิดดิน
สลายตัวโดยกระบวนการผุพัง ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์
กระบวนการคลุกเคล้าทับถมเป็นเวลานาน
21
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
1 2
3 4
5
ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............
ให้นักเรียนเขียนอธิบายกระบวนการเกิดดินให้ถูกต้อง
ตอนที่ 3
คาชี้แจง
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
22
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
คาชี้แจง
23
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
1. ปรีชา สารวจดินบริเวณถนน พบว่ามีสีน้าตาลและมีก้อนกรวด ก้อนหินขนาดเล็กๆ
จานวนมาก เมื่อใช้นิ้วถูมีความหยาบ แสดงว่า ในดินบริเวณนั้นเกิดจากสิ่งใดมาก
ก. ฮิวมัส
ข. จุลินทรีย์
ค. อินทรียสาร
ง. วัตถุต้นกาเนิดดิน
2. เมื่อ ด.ช.ปรีชา ทดลองเทน้าลงในบีกเกอร์ที่มีดินอยู่ เขาจะสังเกตเห็นสิ่งใดจมอยู่
ใต้ก้นบีกเกอร์
ก. เศษใบไม้แห้ง
ข. เศษกระดาษ
ค. เศษก้อนหิน
ง. เศษกระจก
3. ข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นอนินทรียวัตถุทั้งหมด
ก. ใบไม้แห้ง กิ่งไม้แห้ง เศษหญ้า
ข. เศษใบไม้ ก้อนหิน ซากสัตว์
ค. เศษหิน ซากพืช ซากกิ้งกือ
ง. ก้อนกรวด ก้อนหิน ทราย
1. แบบทดสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว และทาเครื่องหมาย
กากบาท ( X ) ลงในช่องว่างในกระดาษคาตอบ
24
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
4. ข้อใดเป็นปัจจัยที่ช่วยในการสลายตัวของซากพืชซากสัตว์
ก. อินทรียวัตถุ
ข. กระแสลม
ค. จุลินทรีย์
ง. ฮิวมัส
5. ด.ญ.อรนุช นาสิ่งใดต่อไปนี้วางทิ้งไว้ที่สวนหลังบ้าน เป็นระยะเวลานาน จะทาให้
กลายเป็นดินได้
ก. เศษพลาสติก
ข. เศษกระดาษ
ค. เศษใบไม้
ง. เศษแก้ว
6. ถ้า ด.ช.มังกรต้องการทดลองเรื่องการเกิดดิน ด.ช.มังกร ต้องนาสิ่งใดต่อไปนี้ มาใช้ใน
การทดลองสร้างดิน
ก. ขวดพลาสติก
ข. เศษใบไม้แห้ง
ค. เศษกระดาษ
ง. ขยะมูลฝอย
7. ในกระบวนการเกิดดิน ซากแมลงที่ที่เน่าเปื่อยในดิน เปรียบได้กับข้อใดต่อไปนี้
ก. เศษกล่องโฟมที่อยู่ในดิน
ข. ถุงพลาสติกที่ฝังอยู่ใต้ดิน
ค. เปลือกถั่วต้มที่ทับถมอยู่ในดิน
ง. กระป๋องน้าอัดลมที่ฝังในชั้นดิน
25
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
https://goo.gl/xucsPd
ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ เก่งมากเลยค่ะ
เพื่อน ๆ สนใจทาแบบทดสอบออนไลน์
สแกน QR Code หรือ พิมพ์ URL
ได้ที่นี่ค่ะ
8. จุลินทรีย์ ทาหน้าที่อะไร
ก. ช่วยสลายหินและแร่ให้มีขนาดเล็กลง
ข. ช่วยให้สารเคมีในดินมีปริมาณมากขึ้น
ค. ช่วยย่อยสลายเศษใบไม้ให้กลายเป็นดิน
ง. ช่วยให้ดินมีขนาดใหญ่ขึ้นและมีจานวนมากขึ้น
9. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. อนินทรียวัตถุช่วยให้ดินร่วนซุย
ข. หินและแร่ที่สลายตัวเรียกว่าฮิวมัส
ค. อนินทรียวัตถุคือซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย
ง. ดินเกิดจากหินและแร่รวมกับซากพืชซากสัตว์
10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ฮิวมัสเป็นสารชนิดหนึ่งที่ทาให้ดินเสื่อมสภาพ
ข. ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังเรียกว่าอนินทรียวัตถุ
ค. จุลินทรีย์เป็นตัวย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ให้เน่าเปื่อย
ง. แสงแดด กระแสลมและน้าทาให้หินแตกเป็นชิ้นเล็กๆ ได้
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม
ดังนี้นะจ๊ะ
ให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้รับ เรื่อง กระบวนการ
เกิดดิน ไปใช้แนะนาผู้อื่นในโรงเรียน หรือ
ในชุมชนได้ โดยการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้
และ บันทึกผลการทากิจกรรมในใบบันทึก
กิจกรรม พร้อมหลักฐานรูปภาพประกอบ และ
นา ผ ลงา นม า นา เส นอ ห น้า ชั้นเ รีย น
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
26
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
รูปภาพประกอบ
27
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ดิน ประกอบด้วยแร่ธาตุที่เป็นของแข็ง อินทรียวัตถุ น้า และอากาศ
ที่มีสัดส่วนแตกต่างกันออกไป การเกิดขึ้นของดินเป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระทา
ร่วมกันของปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพภูมิอากาศ พืช และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ต่อวัตถุต้นกาเนิด
ของดิน ในสภาพพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ตลอดช่วงระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้น “ดิน” ในที่แห่งหนึ่ง
จึงอาจเหมือนหรือต่างไปจากดินในที่อีกแห่งหนึ่งได้ ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของปัจจัยเหล่านี้
ซึ่งมีความมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละบริเวณส่งผลให้ดินมีลักษณะเด่นเฉพาะตัว
และเมื่อปัจจัยเปลี่ยนไป ดินจะมีลักษณะหรือสมบัติต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปด้วย
ดินจะเกิดขึ้นได้เร็วหรือช้า จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้
สภำพภูมิอำกำศที่มีอิทธิพลต่อกำรเกิดของดินหรือทำให้ดินมีลักษณะแตกต่ำงกัน
ได้แก่ อุณหภูมิ และ ปริมำณนำฝน ซึ่งทังสองอย่ำงนีมีอิทธิพลต่ออัตรำกำรสลำยตัวของหิน
แร่ ทังในด้ำน กำยภำพ และเคมี ทังยังมีอิทธิพลต่ออัตรำควำมเร็วของกำรเคลื่อนย้ำยและ
กำรสะสมใหม่ของหินและแร่ที่ถูกแปรสภำพโดยตัวกำรสำคัญๆ มำเป็นวัตถุต้นกำเนิดของดิน
ในเขตร้อน หิน แร่ จะสลำยตัวมำเป็นดินได้เร็วกว่ำในเขตอบอุ่นหรือเขตหนำว เนื่องจำกใน
เขตร้อนมีอุณหภูมิสูง และมีปริมำณฝนตกมำกว่ำเขตหนำว กำรผุพังสลำยตัวต่ำงๆ จึงดำเนิน
ไปอย่ำงรวดเร็ว เกิดกำรชะล้ำงธำตุอำหำรพืชออกไปได้มำก จึงมักทำให้ดินมีควำมอุดม
สมบูรณ์ต่ำ
(climate)
28
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
รู้ไหมว่า อะไรเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการกาเนิดดิน
เป็นปัจจัยควบคุมการเกิดดินที่สาคัญ และมองเห็นได้
ค่อนข้างชัดเจนที่สุด และมีอิทธิพลต่อองค์ประกอบของดิน
เช่น สี เนื้อดิน โครงสร้าง และสมบัติทางเคมีของดิน
โดยทั่วไปดินที่เกิดจากวัตถุต้นกาเนิดที่สลายตัวมาจากหิน
พวกที่มีปฏิกิริยาเป็นด่าง (basic rock) มักจะเป็นดิน
เนื้อละเอียด สีคล้า ความอุดมสมบูรณ์สูง ส่วนดินที่เกิดจากหิน
พวกที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด (acid rock) มักจะเป็นดินเนื้อหยาบ
สีจาง ความอุดมสมบูรณ์ และความสามารถในการ
แลกเปลี่ยนประจุบวกต่า เป็นต้น
(parent material)
ในที่นี้หมายถึงความสูงต่า หรือระดับที่ไม่เท่ากัน
ของสภาพพื้นที่ และความลาดชันของพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง
กับระดับน้าใต้ดิน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเกิด
ลักษณะชั้นต่างๆ ในหน้าตัดดิน ความลึกของดิน สี
ความชื้นสัมพัทธ์ในดิน และความรุนแรงของการชะล้าง
เป็นต้น ตัวอย่างเช่น ดินที่เกิด ในที่ที่มีความลาดชันสูง
มักจะเป็นดินตื้น มีชั้นดินน้อย มีการชะล้างหน้าดินมาก
ชั้นดินบนจะบาง หรืออาจจะไม่มีชั้นดินบนเลยก็ได้
ตรงกันข้ามกับดินที่เกิดในที่ราบลุ่ม ที่มักจะมีชั้นดินบน
ที่หนากว่าเนื่องจากเป็นแหล่งทับถมของตะกอน เนื้อดิน
ละเอียดกว่า เพราะมีการเคลื่อนย้ายอนุภาคขนาดดิน
เหนียวจากดินชั้นบนลงไปสะสมอยู่ในดินล่าง
29
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ภาพ : สภาพภูมิประเทศ
ที่มา : https://namirodsukon.
wordpress.com
ได้แก่ สิ่งมีชีวิตต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยพืชและ
สัตว์ แต่มักจะเน้นที่พืชพรรณต่างๆ ที่ขึ้นปกคลุมบน
ผิวดิน ซึ่งมีอิทธิพลต่อ ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน และ
องค์ประกอบทางเคมีของดิน ดินที่เกิดภายใต้สภาพพืช
พันธุ์ที่เป็นทุ่งหญ้า มักจะมีอินทรียวัตถุและธาตุที่เป็น
อาหารพืชมากกว่าดินบริเวณป่าสนหรือป่าไม้เนื้อแข็ง
เป็นต้น
(organism)
(time)
อิทธิพลของเวลาในแง่ของการเกิดดินนั้น
หมายถึง ช่วงหนึ่งของเวลาที่ต่อเนื่องกันไปโดยไม่มี
เหตุการณ์รุนแรงขัดจังหวะการพัฒนาตัวของดิน เวลา
ที่เป็นศูนย์สาหรับดินชนิดหนึ่งๆ ก็คือ จุดที่ได้มีเหตุการณ์
ที่รุนแรงอย่างหนึ่งทางดินเกิดขึ้น ถือว่าเป็นจุดสิ้นสุดของ
เวลาในการสร้างตัวของดิน และจะเป็นจุดเริ่มต้นของ
ช่วงเวลาในการสร้างตัวของดินช่วงต่อไป เหตุการณ์
รุนแรงดังกล่าวอาจหมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิประเทศ ระดับน้าใต้ดิน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ในทันทีทันใดหรือการเปลี่ยนแปลงของวัตถุต้นกาเนิดดิน
เช่น มีการทับถมอย่างรุนแรงของตะกอนใหม่ เป็นต้น
ภาพ : พืชคลุมดิน
ที่มา : http://mucunaseed.
blogspot.com/2015/
30
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
กระดาษคาตอบ ก่อนเรียน - หลังเรียน
ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.ป.4/........เลขที่............
แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
รวมคะแนน ก่อนเรียน รวมคะแนน หลังเรียน
10 10
31
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ
ตอบถูกทุกข้อ เก่งมากเลยค่ะ
แบบทดสอบก่อนเรียน
กิจกรรม
แผนผังความคิด
แบบฝึกหัด
ทบทวนความรู้
แบบทดสอบหลังเรียน
คะแนนระหว่างเรียน
กิจกรรมชวนคิดวิทย์น่ารู้
ตอนหนูรู้ไหมไปทางไหนดี
กิจกรรมที่1.1
กิจกรรมชวนคิดวิทย์น่ารู้
ตอนหนูรู้หรือไม่
กิจกรรมที่1.2
ตอนที่1
ตอนที่2
ตอนที่3
คะแนนเต็ม 10      5 5 5 10 25
คะแนนที่ได้
คิดเป็นร้อยละ
32
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
แบบสรุปคะแนน
ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
(ลงชื่อ).................................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวอรฤทัย พวงกุหลาบ)
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนบ้านขุนประเทศ
ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.ป.4/........เลขที่............
บัญชา แสนทวี และคณะ. (2555). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช.
ประดับ นาคแก้ว และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: แม็ค.
ปิยะนาถ บุญมีพิพิธ. (2553). Modern วิทยาศาสตร์ ป.4 (ปรับปรุงใหม่). กรุงเทพมหานคร: แม็ค.
ฝ่ายวิชาการดอกหญ้า. (2554). ติวเข้มวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ดอกหญ้าวิชาการ,
ภิญโญ พานิชพันธ์ และคณะ. (2558). ส่วนประกอบของดิน. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2558,
จาก http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ ecology/chapter4_soil4.htm
วรรณทิพา รอดแรงค้า และคณะ. (2554) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ (LESA). (2558). ดิน. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2558,
จาก http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/lesa212/8/soil/
properties_soil/properties_soil.html
สถาบันพัฒนาวิชาการ. (2558). คู่มือครูหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
_______. (2558). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
เอกรินทร์ สี่มหาศาล. (2556). สื่อการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน ชุดแม่บทมาตรฐาน หลักสูตร
แกนกลางฯวิทยาศาสตร์ ป.4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551.
กรุงเทพมหานคร: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด.
33
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
“ดิน” เกิดจากการผุพังของหินและแร่
รวมกับซากพืช ซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย ในดินมีน้า
อากาศ และสิ่งมีชีวิต ซึ่งดินในแต่ละท้องถิ่น
จะมีสมบัติแตกต่างกันไปขึ้นกับปริมาณ
ส่วนประกอบของดิน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น
โดย นางสาวอรฤทัย พวงกุหลาบ
โรงเรียนบ้านขุนประเทศ
สานักงานเขตหนองแขม
กรุงเทพมหานคร

More Related Content

What's hot

กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
Joy Jantima
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553สำเร็จ นางสีคุณ
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ssuserf8d051
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
Dnavaroj Dnaka
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ทัศนีย์ พันธ์โยธาชาติ
 

What's hot (20)

กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 

Similar to Din 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
Vankaew Ping
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวnam--nam-thanaporn
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
sripayom
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนAnchalee Tanphet
 
Cbi ครั้งที่ 2
Cbi ครั้งที่ 2 Cbi ครั้งที่ 2
Cbi ครั้งที่ 2
Praew Kavintra
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
Sompop Petkleang
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
Taweesak Poochai
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
Tay Chaloeykrai
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
โครงการลูกเสือ 50
โครงการลูกเสือ 50โครงการลูกเสือ 50
โครงการลูกเสือ 50Dmath Danai
 
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_integrateแผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_integrate
Prachoom Rangkasikorn
 

Similar to Din 1 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 
Cbi ครั้งที่ 2
Cbi ครั้งที่ 2 Cbi ครั้งที่ 2
Cbi ครั้งที่ 2
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
โครงการลูกเสือ 50
โครงการลูกเสือ 50โครงการลูกเสือ 50
โครงการลูกเสือ 50
 
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_integrateแผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_integrate
แผนผังจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_integrate
 

More from Ornrutai

10.1007%2 f978 3-642-39377-8-18
10.1007%2 f978 3-642-39377-8-1810.1007%2 f978 3-642-39377-8-18
10.1007%2 f978 3-642-39377-8-18
Ornrutai
 
10.1007%2 f978 0-387-34844-5-49
10.1007%2 f978 0-387-34844-5-4910.1007%2 f978 0-387-34844-5-49
10.1007%2 f978 0-387-34844-5-49
Ornrutai
 
10.1007%2 f978 0-387-34839-1-12
10.1007%2 f978 0-387-34839-1-1210.1007%2 f978 0-387-34839-1-12
10.1007%2 f978 0-387-34839-1-12
Ornrutai
 
10.1007%2 f0 387-25590-7-25
10.1007%2 f0 387-25590-7-2510.1007%2 f0 387-25590-7-25
10.1007%2 f0 387-25590-7-25
Ornrutai
 
Ej1148601
Ej1148601Ej1148601
Ej1148601
Ornrutai
 
Ej1133000
Ej1133000Ej1133000
Ej1133000
Ornrutai
 
Ej1114547
Ej1114547Ej1114547
Ej1114547
Ornrutai
 
Abstract
Abstract Abstract
Abstract
Ornrutai
 
6
66
5
55
4
44
Journal techno 3
Journal techno 3Journal techno 3
Journal techno 3
Ornrutai
 
Journal techno 1
Journal techno 1Journal techno 1
Journal techno 1
Ornrutai
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2
Ornrutai
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
Ornrutai
 
Ornrutai ph m ed4 no1
Ornrutai ph m ed4 no1Ornrutai ph m ed4 no1
Ornrutai ph m ed4 no1
Ornrutai
 

More from Ornrutai (16)

10.1007%2 f978 3-642-39377-8-18
10.1007%2 f978 3-642-39377-8-1810.1007%2 f978 3-642-39377-8-18
10.1007%2 f978 3-642-39377-8-18
 
10.1007%2 f978 0-387-34844-5-49
10.1007%2 f978 0-387-34844-5-4910.1007%2 f978 0-387-34844-5-49
10.1007%2 f978 0-387-34844-5-49
 
10.1007%2 f978 0-387-34839-1-12
10.1007%2 f978 0-387-34839-1-1210.1007%2 f978 0-387-34839-1-12
10.1007%2 f978 0-387-34839-1-12
 
10.1007%2 f0 387-25590-7-25
10.1007%2 f0 387-25590-7-2510.1007%2 f0 387-25590-7-25
10.1007%2 f0 387-25590-7-25
 
Ej1148601
Ej1148601Ej1148601
Ej1148601
 
Ej1133000
Ej1133000Ej1133000
Ej1133000
 
Ej1114547
Ej1114547Ej1114547
Ej1114547
 
Abstract
Abstract Abstract
Abstract
 
6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
Journal techno 3
Journal techno 3Journal techno 3
Journal techno 3
 
Journal techno 1
Journal techno 1Journal techno 1
Journal techno 1
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
Ornrutai ph m ed4 no1
Ornrutai ph m ed4 no1Ornrutai ph m ed4 no1
Ornrutai ph m ed4 no1
 

Din 1

  • 3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง “ดินในท้องถิ่น” สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อการ จัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีเนื้อหาสาระตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยลาดับเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องของดิน ในเรื่องการสารวจดินและกระบวนการเกิดดิน ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้า สืบค้นข้อมูล ค้นพบ ความรู้ด้วยตนเองโดยการฝึกปฏิบัติจริงทาให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง “ดินในท้องถิ่น” สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีทั้งหมด 6 ชุด คือ ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน ชุดที่ 2 องค์ประกอบของดิน ชุดที่ 3 ชนิดและสมบัติของดิน ชุดที่ 4 ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช ชุดที่ 5 สาเหตุที่ทาให้ดินเสื่อมสภาพและการอนุรักษ์ดิน ชุดที่ 6 ประโยชน์ของดิน ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง “ดินในท้องถิ่น” สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน เล่มนี้ จะช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียนได้เป็นอย่างดี และเป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนเพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ขอขอบคุณคณะฝ่ายบริหารของโรงเรียน คณะผู้เชี่ยวชาญ คณะครูกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้คาปรึกษา แนะนา ทาให้การดาเนินการ จัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่มนี้ สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี อรฤทัย พวงกุหลาบ ก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 4. เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ค ผังมโนทัศน์ 1 คาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาหรับนักเรียน 2 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์ เวลาที่ใช้ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน 4 กิจกรรมชวนคิด วิทย์น่ารู้ ตอน หนูรู้ไหม ไปทางไหนดี ? 7 กิจกรรมที่ 1.1 สารวจดินในท้องถิ่น 8 กิจกรรมชวนคิด วิทย์น่ารู้ ตอน หนูรู้หรือไม่ ? 11 กิจกรรมที่ 1.2 การเกิดดิน 12 ใบความรู้ เรื่อง กระบวนการเกิดดิน 15 สรุปความรู้เป็นแผนผังความคิด ( Mind Mapping) 19 แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ ตอนที่ 1 20 แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ ตอนที่ 2 21 แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ ตอนที่ 3 22 แบบทดสอบหลังเรียน 23 กิจกรรม ชวนคิด ชวนทา 26 ชวนอ่าน ชวนรู้ 28 กระดาษคาตอบ 31 แบบสรุปคะแนน 32 บรรณานุกรม 33 ข ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 5. หน้า ภาพ แผนภาพกระบวนการเกิดดิน 16 ภาพหินและแร่ 17 ภาพซากพืชซากสัตว์ 17 ภาพสภาพภูมิประเทศ 29 ภาพพืชคลุมดิน 30 ค ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 7. 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีทั้งหมด 6 ชุด ชุดนี้เป็นชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้สอดคล้องกับตัวชี้วัด ว 6.1 ป.4/1 สารวจและอธิบายการเกิดดิน 3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมด 2 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง สารวจดินในท้องถิ่น กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การเกิดดิน ใช้เวลาศึกษาและปฏิบัติ กิจกรรม จานวน 2 ชั่วโมง 4. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที ลงใน กระดาษคาตอบ เพื่อตรวจสอบความรู้ของตนเอง 5. นักเรียนทากิจกรรม ชวนคิด วิทย์น่ารู้ เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน 6. นักเรียนศึกษาคาชี้แจงและปฏิบัติตามขั้นตอนการทากิจกรรมอย่างละเอียด จากนั้นสรุปผลกิจกรรม และตอบคาถามหลังทากิจกรรม 7. นักเรียนสืบค้นและศึกษาใบความรู้ เรื่อง กระบวนการเกิดดิน 8. นักเรียนทบทวนความรู้ สรุปเป็นแผนผังความคิด และทาแบบฝึกหัดทบทวน ความรู้ ตอนที่ 1 – 3 9. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อเป็นการ ประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง แล้วตรวจคาตอบจากครู 10. นาคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน มาเปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน ผู้เรียนจะได้ทราบความก้าวหน้าของตนเองในการเรียนรู้จากชุดกิจกรรมนี้ ซึ่งนักเรียนต้อง ทาแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้ 6 ข้อขึ้นไป จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์ และถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่ กาหนด ให้ทบทวนเนื้อหาและทาแบบทดสอบหลังเรียนใหม่อีกครั้ง 11. นักเรียนทากิจกรรมชวนคิด ชวนทา ซึ่งเป็นกิจกรรม ที่ทานอกเวลาเรียน 12. หากมีข้อสงสัยหรือพบปัญหาในการทากิจกรรม ให้นักเรียนสอบถามครูผู้สอน หรือกลับไปทบทวนจากกิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองอีกครั้ง 2 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน กิจกรรมที่ 1.1 สารวจดินในท้องถิ่น กิจกรรมที่ 1.2 การเกิดดิน
  • 8. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 6.1 ป.4/1 สารวจและอธิบายการเกิดดิน ตัวชี้วัด เมื่อเรียนจบเรื่องนี้แล้ว 1. นักเรียนสารวจและสังเกตสิ่งที่ปะปนมากับดินที่กาหนดให้ได้ 2. นักเรียนอธิบายลักษณะของดินที่กาหนดให้ได้ 3. นักเรียนทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการสร้างดินขึ้นมาเองได้ถูกต้อง 4. นักเรียนอธิบายกระบวนการเกิดดินได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 3 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 9. แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน คาชี้แจง 4 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 1. แบบทดสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว และทาเครื่องหมาย กากบาท ( X ) ลงในช่องว่างในกระดาษคาตอบ 1. ปรีชา สารวจดินใต้ต้นไม้ นักเรียนคิดว่า ลักษณะของดินที่เขาสังเกตได้เป็นอย่างไร ก. มีเศษหินปะปนอยู่มาก ข. มีเนื้อละเอียดร่วนซุย ค. มีอนินทรียวัตถุมาก ง. มีสีน้าตาลปนแดง 2. เมื่อนักเรียนทดลองเทน้าลงในบีกเกอร์ที่มีดินอยู่ นักเรียนจะสังเกตเห็นสิ่งใดลอยอยู่ เหนือน้า ก. เศษใบไม้แห้ง ข. เศษกระดาษ ค. เศษก้อนหิน ง. เศษกระจก 3. ข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นอินทรียวัตถุทั้งหมด ก. เศษขยะ เศษใบไม้ กระดาษ ข. เศษหิน ซากสัตว์ ใบไม้แห้ง ค. เศษใบไม้แห้ง ซากสัตว์ กิ่งไม้แห้ง ง. เศษกระดาษ หินและแร่ เศษใบไม้
  • 10. 5 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 4. ข้อใดเป็นปัจจัยที่ช่วยในการสลายตัวของหินและแร่ให้มีขนาดเล็กลง ก. อินทรียวัตถุ ข. กระแสลม ค. จุลินทรีย์ ง. ฮิวมัส 5. ด.ญ. ชลดา นาสิ่งใดไปทิ้งไว้ใต้ต้นไม้เป็นระยะเวลานาน แล้วจะทาให้กลายเป็นดินได้ ก. เศษหิน ข. เศษขยะ ค. เศษกระจก ง. เศษกระดาษ 6. ถ้า ด.ช.ธันวา ต้องการทดลองสร้างดินขึ้นเอง ด.ช.ธันวา จะต้องนาสิ่งใดต่อไปนี้ มาทาการทดลองเพื่อสร้างดิน ก. ถุงพลาสติก ข. หินและแร่ ค. กล่องโฟม ง. ดินน้ามัน 7. ในกระบวนการเกิดดิน เปลือกถั่วต้มที่อยู่ในดิน สัมพันธ์กับข้อใดต่อไปนี้ ก. กระป๋องน้าอัดลมที่ทับถมอยู่ในดิน ข. เศษหินและทรายที่อยู่ในตู้ปลา ค. ซากแมลงที่เน่าเปื่อยในชั้นดิน ง. ถุงพลาสติกที่ฝังอยู่ใต้ดิน
  • 11. 6 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 8. หลังบ้านของการ์ตูน มีใบไม้ร่วงเป็นจานวนมาก เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะ พบว่า ใบไม้นั้นเน่าเปื่อยผุพังกลายเป็นดิน เพราะเหตุใด ใบไม้จึงกลายเป็นดิน ก. เพราะใช้สารเคมีทาลายใบไม้ ข. เพราะมีเชื้อโรคมากัดกินใบไม้ ค. เพราะมีจุลินทรีย์ย่อยสลายใบไม้ ง. เพราะมีเชื้อไวรัสแพร่ระบาดในใบไม้ 9. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. หินและแร่ที่สลายตัวเรียกว่าวัตถุต้นกาเนิดดิน ข. ฮิวมัสเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอนินทรียวัตถุ ค. จุลินทรีย์เป็นตัวสลายหินและแร่ ง. อินทรียวัตถุช่วยให้ดินแข็งตัว 10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. พืชและมนุษย์ทาให้หินแตกเป็นชิ้นเล็กๆ ได้ ข. ดินเกิดจากหินที่ผุผังผสมกับซากพืชซากสัตว์ ค. ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังเรียกว่าจุลินทรีย์ ง. ฮิวมัสเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ เก่งมากเลยค่ะ เพื่อน ๆ สนใจทาแบบทดสอบออนไลน์ สแกน QR Code หรือ พิมพ์ URL ได้ที่นี่ค่ะ https://goo.gl/8GNqfL
  • 12. 7 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน เราจะไปทางไหนกันดีนะ ? ตอน หนูรู้ไหม ไปทางไหนดี? คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกเส้นทางพาไส้เดือนดินเดินทางออกจากเขาวงกตนี้ ไปสู่ดินให้เร็วที่สุด เก่งมากเลย ถึงเส้นชัยแล้ว
  • 13. 1. สารวจและสังเกตสิ่งที่ปะปนมากับดินที่กาหนดให้ได้ 2. อธิบายลักษณะของดินที่กาหนดให้ได้ 1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5- 6 คน 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารับดินตัวอย่าง 2 ชนิด จากคุณครู 3. นาดินตัวอย่างชนิดที่ 1 และ ดินชนิดที่ 2 เทลงบนแผ่นกระดาษ A4 แล้วใช้ไม้จิ้มฟันเขี่ย เม็ดดินให้กระจายทั่วแผ่นกระดาษ 4. ใช้แว่นขยายสังเกตดิน โดย สังเกตสี เนื้อดิน สิ่งที่ปะปนอยู่ในดิน และบันทึกผลกิจกรรม 5. หยิบดินเล็กน้อยขึ้นมาวางบนมือ แล้วใช้นิ้วถูที่ดินว่ารู้สึกอย่างไร และบันทึกผล 6. ให้นักเรียนทาเช่นเดียวกับข้อ 3-5 กับดินชนิดที่ 2 และบันทึกผล 7. เติมน้าลงในบีกเกอร์จนเกือบเต็ม ใช้แท่งแก้วคนสารคนอย่างระมัดระวัง ประมาณ 1 นาที 8. ตั้งบีกเกอร์ทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที ให้ส่วนประกอบของดินนอนก้น สังเกตและบันทึกผล จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.กระดาษ A4 2 แผ่น วัสดุอุปกรณ์ วิธีการทากิจกรรม 1. ตัวอย่างดิน 2 ชนิด (บริเวณใต้ต้นไม้ และบริเวณริมถนน) 4. บีกเกอร์ 2 ใบ 2. แว่นขยาย 1 อัน 3. ไม้จิ้มฟัน 1 อัน 6. น้า 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร นักเรียนคิดว่า ดินแต่ละแหล่ง มีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ ? 8 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 14. ตาราง แสดงสีของดิน เนื้อดิน สิ่งที่ปะปนอยู่ในดิน ความรู้สึกเมื่อใช้นิ้วถูและสิ่งที่พบเมื่อเทน้าใส่ในบีกเกอร์ บันทึกผลการทากิจกรรม เนื้อดิน สิ่งที่ปะปนอยู่ในดิน สีของดิน ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ความรู้สึกเมื่อใช้นิ้วถู ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ สิ่งที่พบเมื่อเทน้า ลงในบีกเกอร์ ........................................ ........................................ ....................................... ........................................ ....................................... ................................... ลักษณะที่สังเกต วันที่.........................เดือน....................................................พ.ศ. ............................. ชื่อกลุ่ม................................................................................................ชั้น ป.4/……………………… สมาชิกในกลุ่ม 1. …………………………………………………………………………เลขที่..................ประธาน 2. …………………………………………………………………………เลขที่..................รองประธาน 3. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก 4. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก 5. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก 6. …………………………………………………………………………เลขที่..................เลขานุการ ดินชนิดที่ดินชนิดที่ 9 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 15. ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ สรุปผลกิจกรรม คาถามท้ายกิจกรรม 2. ดินแต่ละแหล่งที่นักเรียนสำรวจ มีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ตอบคาถามท้ายกิจกรรม กันเลยครับ 3. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใด ดินที่นักเรียนสารวจบริเวณต่างๆ จึงแตกต่างกัน ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ 10 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 1. สิ่งที่นักเรียนสังเกตพบในดินมีอะไรบ้าง ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................
  • 16. สิ่งใดทำให้เกิดดินได้บ้ำงนะ คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  ลงใน ใต้ภาพที่นักเรียนคิดว่า เป็นสิ่งที่สามารถทาให้เกิดเป็นดินได้ หินและแร่ ขวดน้า กล่องโฟม ถุงพลาสติก ซากสัตว์ ใบไม้ ตอน หนูรู้หรือไม่ ? 11 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 17. ดินเกิดจากอะไร มาทดลองทาดินกันเลยครับ 12 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 1. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการสร้างดินด้วยตนเองได้ 2. อธิบายกระบวนการเกิดดินได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วัสดุอุปกรณ์ วิธีการทากิจกรรม 1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5- 6 คน 2. ให้นักเรียนนาหินละเอียด และ ทราย ชนิดละ 100 กรัม มาผสมให้เข้ากันในบีกเกอร์ ขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร สังเกตลักษณะของสารที่ได้ในบีกเกอร์ และบันทึกผล 3. นาซากพืชซากสัตว์ ปริมาณ 100 กรัม ใส่ลงในบีกเกอร์ 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร สังเกตและบันทึกผล 4. ให้นักเรียนนาหินละเอียดกับทรายที่ผสมใน ข้อ 1 มาจานวน 100 กรัม ผสมลงไปใน บีกเกอร์ที่มีซากพืชซากสัตว์ จากข้อ 2 คลุกเคล้าให้เข้ากัน สังเกตและบันทึกผล 1. หินละเอียด 100 กรัม 2. ทราย 100 กรัม 3. ซากพืชซากสัตว์ 100 กรัม 4. บีกเกอร์ขนาด 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2 ใบ 5. แท่งแก้วคนสาร 1 อัน
  • 18. ตาราง ลักษณะของสารต่างๆ ก่อนผสม และสารใหม่ที่ได้หลังนาสารมาผสมกัน บันทึกผลการทากิจกรรม ลักษณะของสารใหม่ หลังนามาผสมกัน ลักษณะของสาร หินละเอียดและทราย ซากพืชซากสัตว์ วันที่.........................เดือน....................................................พ.ศ. ............................. ชื่อกลุ่ม................................................................................................ชั้น ป.4/……………………… สมาชิกในกลุ่ม 1. …………………………………………………………………………เลขที่..................ประธาน 2. …………………………………………………………………………เลขที่..................รองประธาน 3. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก 4. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก 5. …………………………………………………………………………เลขที่..................สมาชิก 6. …………………………………………………………………………เลขที่..................เลขานุการ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ........................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ สรุปผลกิจกรรม 13 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 19. 1. เมื่อผสมหินละเอียดและทราย กับ ซากพืชซากสัตว์เข้าด้วยกัน ลักษณะของสารใหม่ที่ได้ เป็นอย่างไร .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... คาถามท้ายกิจกรรม 3. สรุปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. 2. ถ้าทิ้งสารที่ได้จากการผสมไว้นานๆ นักเรียนคิดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ 4. นักเรียนคิดว่ากระบวนการเกิดดินมีขั้นตอนอย่างไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ 14 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ เก่งมากเลยค่ะ
  • 20. ดิน เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ ลักษณะของดิน ในแต่ละท้องถิ่น จะมีความแตกต่างกันตามสภาพการเกิดของดินนั้นๆ เนื่องจาก ในท้องถิ่นต่างๆ มีสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และวัตถุที่เป็นต้นกาเนิดดิน ไม่เหมือนกัน รู้ไหมว่า... ดินเกิดขึ้นได้อย่างไร? ดินจึงเป็นทรัพยากรธรรมชาติมีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็น คน สัตว์ และพืช ต้องอาศัยประโยชน์จากดิน ในการดารงชีวิต หากไม่มีดิน สิ่งมีชีวิตหลายๆ ชนิด จะไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษย์สามารถนามา ใช้ประโยชน์ได้ ทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญได้แก่ ดิน น้า ป่าไม้ และ แร่ธาตุ การนาทรัพยากรมาใช้ไม่ถูกวิธี ทาให้ทรัพยากรบางอย่างหมดไปจากโลกของเราได้ ดังนั้น เราต้องตระหนักถึงความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ และร่วมกันอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติของเราไม่ให้เสื่อมโทรม 15 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 21. เกิดการสลายตัวโดยกระบวนการผุพัง แผนภาพกระบวนการเกิดดิน หินและแร่ ซากพืช ซากสัตว์ ฮิวมัส (อินทรียวัตถุ) วัตถุต้นกาเนิดดิน (อนินทรียวัตถุ) เกิดกระบวนการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ดิน กระบวนการคลุกเคล้าทับถมเป็นเวลานาน ดิน เป็นวัตถุที่เกิดจากธรรมชาติ เกิดจากการผุพังและสลายตัวของหิน และแร่ธาตุต่างๆ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากน้า ลม และแสงแดด จนได้วัตถุต้นกาเนิดดิน รวมกับซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังเนื่องจาก จุลินทรีย์ย่อยสลาย ซึ่งเรียกว่า ฮิวมัส เมื่อวัตถุต้นกาเนิดดินและฮิวมัส ผสมคลุกเคล้ากัน โดยมีจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในดิน ช่วยดินย่อยสลาย ก็จะกลายเป็นดิน ดังแผนภูมิ 16 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 22. คือ ซากพืชซากสัตว์ ที่เน่าเปื่อยผุพัง สลายตัว อยู่ในดิน โดยมีจุลินทรีย์เป็นผู้ย่อยสลาย มักมีสีดา มีธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม คือ หินและแร่ที่สลายตัวเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย ซึ่งถูกกัดกร่อนโดยแสงแดด กระแสลม หรือถูกน้ากัดเซาะ วัตถุต้นกาเนิดดิน ฮิวมัส 17 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน ภาพ หินและแร่ ภาพ ซากพืชซากสัตว์ จุลินทรีย์ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา เป็นต้น ช่วยในการย่อยสลายอินทรียสารต่าง ๆ
  • 23. เราไปสารวจดินกันเถอะ 18 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน จากการสารวจและสังเกตลักษณะของดินจากแหล่งต่างๆ จะพบเศษหินเล็ก ๆ ซากพืชซากสัตว์บางชนิด เนื่องจาก ดินเกิดจากการแตกหักสลายตัวของหินและแร่ บริเวณพื้นผิวโลกโดยกระบวนการผุพังและการกร่อน ทาให้เกิดส่วนประกอบขนาดต่างๆ ได้แก่ เศษหิน กรวด ทราย และดิน ตัวการที่ทาให้หินและแร่แตกหักสลายตัว ได้แก่ ลม น้า แรงโน้มถ่วงของโลก ความร้อน รวมทั้งพืชและมนุษย์เอง พืชที่ขึ้นบนหินทาให้หิน แตกเป็นชิ้นเล็กๆ สัตว์ขนาดเล็ก ๆ สามารถเข้าไปอาศัยอยู่ได้ เมื่อพืชและสัตว์ตายลง ก็เน่าเปื่อยผุพังรวมกับส่วนประกอบที่เกิดจากการผุพังของหินกลายเป็นดิน ในบริเวณที่ อากาศร้อนและชื้น เช่น ในประเทศไทย จะพบว่า ซากพืช ซากสัตว์จะเน่าเปื่อยผุพัง เร็วกว่าในบริเวณที่มีอากาศเย็นและแห้ง ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังสลายตัวทับทม อยู่ในดิน เรียกว่า ฮิวมัส ฮิวมัสมีธาตุที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ฮิวมัสมักมีสีดา หรือสีน้าตาล ทาให้ดินที่มีฮิวมัสอยู่มากมีสีเข้ม แบคทีเรียซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าอาศัยอยู่ในดิน ช่วยทาให้ซากพืช ซากสัตว์เน่าเปื่อยผุผัง นอกจากแบคทีเรียยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นที่อาศัยอยู่ ในดิน เช่น แมลง ไส้เดือน รา ช่วยทาให้ซากพืช ซากสัตว์สลายตัวทับถมบนดิน การเปลี่ยนแปลงที่ทาให้หินและซากพืช ซากสัตว์กลายเป็นดิน เกิดขึ้นอย่างช้าๆ การเกิดดินที่มีความหนา 1 เซนติเมตร อาจใช้เวลาเป็น 100 ปี ถึง 1,000 ปี ไปสารวจกันว่า เราจะพบอะไรในดิน จากแหล่งต่าง ๆ บ้าง ?
  • 24. สรุปความรู้เป็นแผนผังความคิด (Mind Mapping) ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............ ให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน มาเขียนเป็นแผนผังความคิด (Mind Mapping) คาชี้แจง 19 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 25. ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............ ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย ลงใน หน้าคาตอบที่ถูกต้องคาชี้แจง 1. นักเรียนคิดว่าหินละเอียดและทรายเปรียบเหมือนกับสิ่งใดในธรรมชาติ วัตถุต้นกาเนิดดิน อินทรียวัตถุ 2. ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังสลายตัวอยู่ในดิน เรียกว่าอะไร จุลินทรีย์ ฮิวมัส 3. สิ่งใดต่อไปนี้ ทาให้เกิดดินได้ถ้านาไปฝังลงในดิน เศษไม้ เศษโฟม 4. ข้อใดคืออินทรียวัตถุ เศษหินและทราย เศษใบไม้ ใบหญ้า 5. ดินเกิดจากอะไร เศษหินและแร่ รวมกับเศษขยะมูลฝอย เศษหินและแร่ รวมกับซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพัง 20 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 26. ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............ ให้นักเรียนเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ตอนที่ 2 คาชี้แจง ……………………… ……………………… ……………………… ……………………… ……………………… แผนภาพกระบวนการเกิดดิน สลายตัวโดยกระบวนการผุพัง ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ กระบวนการคลุกเคล้าทับถมเป็นเวลานาน 21 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 1 2 3 4 5
  • 27. ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............ ให้นักเรียนเขียนอธิบายกระบวนการเกิดดินให้ถูกต้อง ตอนที่ 3 คาชี้แจง ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 22 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 28. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน คาชี้แจง 23 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 1. ปรีชา สารวจดินบริเวณถนน พบว่ามีสีน้าตาลและมีก้อนกรวด ก้อนหินขนาดเล็กๆ จานวนมาก เมื่อใช้นิ้วถูมีความหยาบ แสดงว่า ในดินบริเวณนั้นเกิดจากสิ่งใดมาก ก. ฮิวมัส ข. จุลินทรีย์ ค. อินทรียสาร ง. วัตถุต้นกาเนิดดิน 2. เมื่อ ด.ช.ปรีชา ทดลองเทน้าลงในบีกเกอร์ที่มีดินอยู่ เขาจะสังเกตเห็นสิ่งใดจมอยู่ ใต้ก้นบีกเกอร์ ก. เศษใบไม้แห้ง ข. เศษกระดาษ ค. เศษก้อนหิน ง. เศษกระจก 3. ข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นอนินทรียวัตถุทั้งหมด ก. ใบไม้แห้ง กิ่งไม้แห้ง เศษหญ้า ข. เศษใบไม้ ก้อนหิน ซากสัตว์ ค. เศษหิน ซากพืช ซากกิ้งกือ ง. ก้อนกรวด ก้อนหิน ทราย 1. แบบทดสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว และทาเครื่องหมาย กากบาท ( X ) ลงในช่องว่างในกระดาษคาตอบ
  • 29. 24 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน 4. ข้อใดเป็นปัจจัยที่ช่วยในการสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ ก. อินทรียวัตถุ ข. กระแสลม ค. จุลินทรีย์ ง. ฮิวมัส 5. ด.ญ.อรนุช นาสิ่งใดต่อไปนี้วางทิ้งไว้ที่สวนหลังบ้าน เป็นระยะเวลานาน จะทาให้ กลายเป็นดินได้ ก. เศษพลาสติก ข. เศษกระดาษ ค. เศษใบไม้ ง. เศษแก้ว 6. ถ้า ด.ช.มังกรต้องการทดลองเรื่องการเกิดดิน ด.ช.มังกร ต้องนาสิ่งใดต่อไปนี้ มาใช้ใน การทดลองสร้างดิน ก. ขวดพลาสติก ข. เศษใบไม้แห้ง ค. เศษกระดาษ ง. ขยะมูลฝอย 7. ในกระบวนการเกิดดิน ซากแมลงที่ที่เน่าเปื่อยในดิน เปรียบได้กับข้อใดต่อไปนี้ ก. เศษกล่องโฟมที่อยู่ในดิน ข. ถุงพลาสติกที่ฝังอยู่ใต้ดิน ค. เปลือกถั่วต้มที่ทับถมอยู่ในดิน ง. กระป๋องน้าอัดลมที่ฝังในชั้นดิน
  • 30. 25 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน https://goo.gl/xucsPd ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ เก่งมากเลยค่ะ เพื่อน ๆ สนใจทาแบบทดสอบออนไลน์ สแกน QR Code หรือ พิมพ์ URL ได้ที่นี่ค่ะ 8. จุลินทรีย์ ทาหน้าที่อะไร ก. ช่วยสลายหินและแร่ให้มีขนาดเล็กลง ข. ช่วยให้สารเคมีในดินมีปริมาณมากขึ้น ค. ช่วยย่อยสลายเศษใบไม้ให้กลายเป็นดิน ง. ช่วยให้ดินมีขนาดใหญ่ขึ้นและมีจานวนมากขึ้น 9. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. อนินทรียวัตถุช่วยให้ดินร่วนซุย ข. หินและแร่ที่สลายตัวเรียกว่าฮิวมัส ค. อนินทรียวัตถุคือซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย ง. ดินเกิดจากหินและแร่รวมกับซากพืชซากสัตว์ 10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ฮิวมัสเป็นสารชนิดหนึ่งที่ทาให้ดินเสื่อมสภาพ ข. ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพังเรียกว่าอนินทรียวัตถุ ค. จุลินทรีย์เป็นตัวย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ให้เน่าเปื่อย ง. แสงแดด กระแสลมและน้าทาให้หินแตกเป็นชิ้นเล็กๆ ได้
  • 31. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้นะจ๊ะ ให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้รับ เรื่อง กระบวนการ เกิดดิน ไปใช้แนะนาผู้อื่นในโรงเรียน หรือ ในชุมชนได้ โดยการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้ และ บันทึกผลการทากิจกรรมในใบบันทึก กิจกรรม พร้อมหลักฐานรูปภาพประกอบ และ นา ผ ลงา นม า นา เส นอ ห น้า ชั้นเ รีย น เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 26 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 32. ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.................เลขที่............ ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ รูปภาพประกอบ 27 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 33. ดิน ประกอบด้วยแร่ธาตุที่เป็นของแข็ง อินทรียวัตถุ น้า และอากาศ ที่มีสัดส่วนแตกต่างกันออกไป การเกิดขึ้นของดินเป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระทา ร่วมกันของปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพภูมิอากาศ พืช และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ต่อวัตถุต้นกาเนิด ของดิน ในสภาพพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ตลอดช่วงระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้น “ดิน” ในที่แห่งหนึ่ง จึงอาจเหมือนหรือต่างไปจากดินในที่อีกแห่งหนึ่งได้ ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของปัจจัยเหล่านี้ ซึ่งมีความมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละบริเวณส่งผลให้ดินมีลักษณะเด่นเฉพาะตัว และเมื่อปัจจัยเปลี่ยนไป ดินจะมีลักษณะหรือสมบัติต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปด้วย ดินจะเกิดขึ้นได้เร็วหรือช้า จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังนี้ สภำพภูมิอำกำศที่มีอิทธิพลต่อกำรเกิดของดินหรือทำให้ดินมีลักษณะแตกต่ำงกัน ได้แก่ อุณหภูมิ และ ปริมำณนำฝน ซึ่งทังสองอย่ำงนีมีอิทธิพลต่ออัตรำกำรสลำยตัวของหิน แร่ ทังในด้ำน กำยภำพ และเคมี ทังยังมีอิทธิพลต่ออัตรำควำมเร็วของกำรเคลื่อนย้ำยและ กำรสะสมใหม่ของหินและแร่ที่ถูกแปรสภำพโดยตัวกำรสำคัญๆ มำเป็นวัตถุต้นกำเนิดของดิน ในเขตร้อน หิน แร่ จะสลำยตัวมำเป็นดินได้เร็วกว่ำในเขตอบอุ่นหรือเขตหนำว เนื่องจำกใน เขตร้อนมีอุณหภูมิสูง และมีปริมำณฝนตกมำกว่ำเขตหนำว กำรผุพังสลำยตัวต่ำงๆ จึงดำเนิน ไปอย่ำงรวดเร็ว เกิดกำรชะล้ำงธำตุอำหำรพืชออกไปได้มำก จึงมักทำให้ดินมีควำมอุดม สมบูรณ์ต่ำ (climate) 28 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน รู้ไหมว่า อะไรเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการกาเนิดดิน
  • 34. เป็นปัจจัยควบคุมการเกิดดินที่สาคัญ และมองเห็นได้ ค่อนข้างชัดเจนที่สุด และมีอิทธิพลต่อองค์ประกอบของดิน เช่น สี เนื้อดิน โครงสร้าง และสมบัติทางเคมีของดิน โดยทั่วไปดินที่เกิดจากวัตถุต้นกาเนิดที่สลายตัวมาจากหิน พวกที่มีปฏิกิริยาเป็นด่าง (basic rock) มักจะเป็นดิน เนื้อละเอียด สีคล้า ความอุดมสมบูรณ์สูง ส่วนดินที่เกิดจากหิน พวกที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด (acid rock) มักจะเป็นดินเนื้อหยาบ สีจาง ความอุดมสมบูรณ์ และความสามารถในการ แลกเปลี่ยนประจุบวกต่า เป็นต้น (parent material) ในที่นี้หมายถึงความสูงต่า หรือระดับที่ไม่เท่ากัน ของสภาพพื้นที่ และความลาดชันของพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง กับระดับน้าใต้ดิน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเกิด ลักษณะชั้นต่างๆ ในหน้าตัดดิน ความลึกของดิน สี ความชื้นสัมพัทธ์ในดิน และความรุนแรงของการชะล้าง เป็นต้น ตัวอย่างเช่น ดินที่เกิด ในที่ที่มีความลาดชันสูง มักจะเป็นดินตื้น มีชั้นดินน้อย มีการชะล้างหน้าดินมาก ชั้นดินบนจะบาง หรืออาจจะไม่มีชั้นดินบนเลยก็ได้ ตรงกันข้ามกับดินที่เกิดในที่ราบลุ่ม ที่มักจะมีชั้นดินบน ที่หนากว่าเนื่องจากเป็นแหล่งทับถมของตะกอน เนื้อดิน ละเอียดกว่า เพราะมีการเคลื่อนย้ายอนุภาคขนาดดิน เหนียวจากดินชั้นบนลงไปสะสมอยู่ในดินล่าง 29 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน ภาพ : สภาพภูมิประเทศ ที่มา : https://namirodsukon. wordpress.com
  • 35. ได้แก่ สิ่งมีชีวิตต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยพืชและ สัตว์ แต่มักจะเน้นที่พืชพรรณต่างๆ ที่ขึ้นปกคลุมบน ผิวดิน ซึ่งมีอิทธิพลต่อ ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน และ องค์ประกอบทางเคมีของดิน ดินที่เกิดภายใต้สภาพพืช พันธุ์ที่เป็นทุ่งหญ้า มักจะมีอินทรียวัตถุและธาตุที่เป็น อาหารพืชมากกว่าดินบริเวณป่าสนหรือป่าไม้เนื้อแข็ง เป็นต้น (organism) (time) อิทธิพลของเวลาในแง่ของการเกิดดินนั้น หมายถึง ช่วงหนึ่งของเวลาที่ต่อเนื่องกันไปโดยไม่มี เหตุการณ์รุนแรงขัดจังหวะการพัฒนาตัวของดิน เวลา ที่เป็นศูนย์สาหรับดินชนิดหนึ่งๆ ก็คือ จุดที่ได้มีเหตุการณ์ ที่รุนแรงอย่างหนึ่งทางดินเกิดขึ้น ถือว่าเป็นจุดสิ้นสุดของ เวลาในการสร้างตัวของดิน และจะเป็นจุดเริ่มต้นของ ช่วงเวลาในการสร้างตัวของดินช่วงต่อไป เหตุการณ์ รุนแรงดังกล่าวอาจหมายถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิประเทศ ระดับน้าใต้ดิน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ในทันทีทันใดหรือการเปลี่ยนแปลงของวัตถุต้นกาเนิดดิน เช่น มีการทับถมอย่างรุนแรงของตะกอนใหม่ เป็นต้น ภาพ : พืชคลุมดิน ที่มา : http://mucunaseed. blogspot.com/2015/ 30 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 36. ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน กระดาษคาตอบ ก่อนเรียน - หลังเรียน ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.ป.4/........เลขที่............ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวมคะแนน ก่อนเรียน รวมคะแนน หลังเรียน 10 10 31 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน ไม่ยากเลยใช่ไหมคะ ตอบถูกทุกข้อ เก่งมากเลยค่ะ
  • 37. แบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรม แผนผังความคิด แบบฝึกหัด ทบทวนความรู้ แบบทดสอบหลังเรียน คะแนนระหว่างเรียน กิจกรรมชวนคิดวิทย์น่ารู้ ตอนหนูรู้ไหมไปทางไหนดี กิจกรรมที่1.1 กิจกรรมชวนคิดวิทย์น่ารู้ ตอนหนูรู้หรือไม่ กิจกรรมที่1.2 ตอนที่1 ตอนที่2 ตอนที่3 คะแนนเต็ม 10      5 5 5 10 25 คะแนนที่ได้ คิดเป็นร้อยละ 32 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน แบบสรุปคะแนน ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน (ลงชื่อ).................................................... ผู้ประเมิน (นางสาวอรฤทัย พวงกุหลาบ) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนบ้านขุนประเทศ ชื่อ – นามสกุล .......................................................................ชั้น.ป.4/........เลขที่............
  • 38. บัญชา แสนทวี และคณะ. (2555). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช. ประดับ นาคแก้ว และ ดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: แม็ค. ปิยะนาถ บุญมีพิพิธ. (2553). Modern วิทยาศาสตร์ ป.4 (ปรับปรุงใหม่). กรุงเทพมหานคร: แม็ค. ฝ่ายวิชาการดอกหญ้า. (2554). ติวเข้มวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ดอกหญ้าวิชาการ, ภิญโญ พานิชพันธ์ และคณะ. (2558). ส่วนประกอบของดิน. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2558, จาก http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ ecology/chapter4_soil4.htm วรรณทิพา รอดแรงค้า และคณะ. (2554) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ (LESA). (2558). ดิน. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2558, จาก http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/lesa212/8/soil/ properties_soil/properties_soil.html สถาบันพัฒนาวิชาการ. (2558). คู่มือครูหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. _______. (2558). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. เอกรินทร์ สี่มหาศาล. (2556). สื่อการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน ชุดแม่บทมาตรฐาน หลักสูตร แกนกลางฯวิทยาศาสตร์ ป.4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด. 33 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น ชุดที่ 1 กระบวนการเกิดดิน
  • 39. “ดิน” เกิดจากการผุพังของหินและแร่ รวมกับซากพืช ซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย ในดินมีน้า อากาศ และสิ่งมีชีวิต ซึ่งดินในแต่ละท้องถิ่น จะมีสมบัติแตกต่างกันไปขึ้นกับปริมาณ ส่วนประกอบของดิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินในท้องถิ่น โดย นางสาวอรฤทัย พวงกุหลาบ โรงเรียนบ้านขุนประเทศ สานักงานเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร