SlideShare a Scribd company logo
การคิดกับการดำเนินชีวิต วศินี   สุทธิวิภากร
วิถีแห่งเซน กล่าวว่า;
ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา กล่าวว่า “การคิด เหมือนการเรียงหินที่กระจัดกระจาย ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย โดยนำหินแต่ละก้อน มาประกอบกันในแต่ละที่อย่างเหมาะสม   การเรียงหิน เปรียบได้กับการจัดระเบียบข้อมูล ที่เราได้ใช้การคิดไตร่ตรองอย่างละเอียดรอบคอบ ลึกซึ้ง และมีระบบระเบียบ คนที่คิดเป็นจะสามารถจัดข้อมูลให้เรียงกันอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อให้ได้ความคิดที่ดีที่สุด เช่นเดียวกับหิน ที่ได้รับการจัดวางเรียงอย่างเหมาะสม ย่อมกลายเป็นอาคารที่งดงามได้ในที่สุด ในขณะเดียวกัน คนที่คิดไม่เป็นก็เหมือนกันคนที่โยนก้อนหินมากองๆ รวมกัน หรือจัดอย่างสะเปะสะปะ ไม่รู้ว่า ก้อนใดควรอยู่ที่ใด ความคิดที่ออกมา จึงไม่ได้เป็นความคิดที่มีความชัดเจน และเป็นระบบระเบียบ” (“การพัฒนาทักษะการคิด”, 2545)
Wisdom of Livingการดำรงชีวิตของสัตว์และมนุษย์ มนุษย์ ,[object Object]
 ต้องรีบลุกขึ้นยืน-เดิน ไม่อย่างนั้น ตาย!
ชีวิตดำรงอยู่ด้วยการเป็นผู้ล่า หรือ ผู้ถูกล่า!
ลืมตาดูโลก
 ต้องการการดูแล ทะนุถนอมเป็นปีๆ
 ชีวิตดำรงอยู่ด้วยการเป็นผู้รับ (น้อยครั้งที่รู้จักเป็นผู้ให้)สัตว์
ความต่างระหว่างมนุษย์กับสัตว์ ,[object Object]
 มนุษย์มี การคิด การเรียนรู้ เป็นตัวนำทางชีวิต (ประกอบด้วยทั้ง instinct [สัญชาตญาณ] บางส่วน+ learned instinct [สัญชาตญาณการเรียนรู้] บางส่วน)
Maslow’s Hierarchical Theory of Motivation 1908-1970
ภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต 	เกิดจากการเข้าใจ รับรู้ความเป็นไปของสิ่งรอบตัว ซึ่งเกิดจากการได้ใช้เวลาจดจ่อ     จับจ้องกับชีวิต ทั้งของตัวเราเอง และผู้ที่     รายล้อมรอบเรา และจัดระเบียบสิ่งที่รู้ ทักทอเรื่องราวเป็นพรมผืนใหญ่เชื่อมโยงตัวเราและผู้อื่นเข้าไว้ด้วยกัน
พลัง แห่ง การ มีชีวิต
มนุษย์ รู้จักเรียนรู้ รู้จักคิด เพื่อการเรียนรู้มากขึ้น รู้จักมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า
เราจะเรียนอะไรกัน? Wisdom of Living การคิด (คิดยังไง แล้วจะคิดทำไม?) การดำเนินชีวิต 	(จะมีชีวิตอยู่อย่างไร อยู่เพื่ออะไร?)
แนะนำวิชา ,[object Object]
 วิธีคิด1. เรียนรู้กระบวนการคิดของมนุษย์แต่ละยุค 2. รูปแบบการคิด (เพื่อการมีชีวิตอยู่อย่างคนเต็มคน) การคิดอย่างอิสระ, การคิดเชิงบวก,  	การคิดเชิงสร้างสรรค์, การคิดเชิงมโนทัศน์, 	การคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์
วัตถุประสงค์ 1. ตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและเป็นเหตุเป็นผล  2. สามารถนำวิธีการคิดซึ่งตั้งอยู่บนฐานของเหตุและผล     	มาก่อให้เกิดการตั้งคำถามกับชีวิตได้อย่างลุ่มลึก และ     	ดำเนินชีวิตอย่างรอบคอบ 3. สามารถนำวิธีคิดมาใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินชีวิตและ      	เป็นเครื่องมือในการทำความเข้าใจโลกและสังคม	รอบตัว
วิธีการสอน ,[object Object]
การยกตัวอย่างประกอบการอธิบาย    อย่างเป็นรูปธรรม ,[object Object]
การตั้งคำถามกับชีวิต
การรับชม Video Clip     (สนุกๆ แต่ได้ข้อคิด)
การวัดผล/ประเมินผล วิชานี้เน้นให้คิด 	วิชานี้เป็นนามธรรม    สิ่งสำคัญคือ  แปลความเป็นนามธรรมของมัน  …ให้เป็นรูปธรรมให้ได้   มีชีวิตอยู่กับการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล เพื่อจะได้ตามทันความคิดตัวเอง ความคิดผู้อื่น และเพื่อจะอยู่อย่างรู้คุณค่าตัวเอง รู้คุณค่าผู้อื่น โลก และสรรพสิ่ง
การวัดผล/ประเมินผล ,[object Object],	การคิดกับการดำเนินชีวิต 14 คะแนน 	การใช้ชีวิตบนฐานคุณธรรม จริยธรรม 14 คะแนน 	- Check ชื่อ (Attendance) 	- Debate 	- แบ่งกลุ่มศึกษา Case study  	- Paper
การวัดผล/ประเมินผล การเข้าชั้นเรียน …เพื่อตามเพื่อนให้ทัน กิจกรรมในชั้นเรียน …เพื่อตามตัวเองให้ทัน
ขงจื้อ (Confucius, 551-479 B.C.) ปราชญ์จีนสมัยราชวงศ์โจว อายุ 73 ปี I hear and I forget. I see and I remember. I do and I understand.
ขั้นตอนการเรียนรู้ จำ  เข้าใจ  ประยุกต์ใช้งาน  วิเคราะห์  สังเคราะห์ ประเมินผล Basic Advance
Education is not the filling of a pail, but the lighting of a fire. การศึกษาไม่ใช่การเติมน้ำแต่เป็นการจุดไฟWilliam Butler Yeats (1865 – 1939)
Science is organized knowledge,Wisdom is organized life. ศาสตร์เกิดจากการจัดระเบียบความรู้ ภูมิปัญญาเกิดจากการจัดระเบียบชีวิต Immanuel Kant (1724-1804)
อาจารย์วศินี   สุทธิวิภากรEmail:  tip_swasinee@hotmail.com
ตั้งคำถามกับชีวิต เรามาเรียนทำไม?  เรียนวิชานี้เพื่ออะไร?  มาเรียนที่นี่ทำไม?
ตอบคำถามกับชีวิต ,[object Object]
 ตามเพื่อนมา
 เรียนเอาปริญญา
 เรียนเอาความรู้
 อื่นๆ,[object Object]
ความรู้/ทักษะที่มีอยู่ การจัดการความรู้ รู้ ... ว่า ... ไม่รู้ รู้...ว่า...รู้ ความรู้/ทักษะที่ยังไม่มี
การพัฒนา“ตัวรู้” รู้...ว่า...รู้ รู้...ว่า...ไม่รู้ ไม่รู้...ว่า...ไม่รู้
โซคราตีส(Socrates, 469-399 B.C.)ปราชญ์กรีกโบราณแห่งกรุงเอเธนส์ I know nothing  except the fact of  my ignorance.  ฉันไม่รู้อะไรเลย ยกเว้น ความไม่รู้ของฉันเอง
การตั้งคำถามกับชีวิต โซคราตีส (Socrates, 469-399 B.C.) 	“Know thyself” 	“The unexamined life  	is not worth living.”
Sir Winston Churchill British politician (1874 - 1965)นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 We make a living by what we get,  we make a life by what we give.
Albert Einstein (1879-1955) Life is like riding a bicycle. To keep your balance  you have to keep moving.
แต่…สำหรับบางคน! ชีวิตนี้…เหมือนขี้ลอยน้ำ…
เราคือใคร? เกิดมาเพื่อ…? …อยู่รอด? หรือ เอาตัวรอด?
สัตว์…หาผู้นำ (จ่าฝูง) มาปกป้องบริวาร
มนุษย์…หาบริวาร…มาปกป้องผู้นำ!
เพื่อดำรงเผ่าพันธุ์?
เพื่อกิน?
เพื่อโกง???
เพื่อทำให้ตัวเอง ครอบครัว ญาติมิตร...รวย What about the others?
เพื่อเมาธ์
เพื่อรักและถูกรัก...
เพื่อเชียร์บอล
เพื่อดัง...
เพื่อ...ทดแทนคุณ
เพื่อชดใช้กรรม
เพื่อ...ช่วยเหลือสังคม
เพื่อ...ได้รู้ว่า...ชีวิตเป็นทุกข์
เพื่อหาประสบการณ์
เพื่อชีวิตที่มีความสุข
 ถูกทุกข้อ?!!
สรุปว่า...เกิดมาเพื่ออะไร???
แล้ว…อะไรทำให้เราตอบต่างกัน? คำตอบ กระบวนการคิด, ทัศนคติ  (คิดยังไง ก็จะมีท่าทีต่อตัวเอง  ต่อโลกแบบนั้น)
อุทาหรณ์เรื่องถ้ำ (Allegory of the Cave) ของเพลโต (427-347 B.C.)
การคิด… 1. เป็นกิจกรรม 	กิจกรรมการปีนป่ายออกจากถ้ำใต้ดินของนักโทษ เปรียบเสมือน กิจกรรมของจิตที่คิดเพื่อยกระดับจิตใจให้ขึ้นสู่มิติของความรู้แท้
2. เป็นการตรวจสอบความคิด ความเชื่อ • ชุดความคิด ความเชื่อที่เรายึดถือมาตลอดอาจจะไม่เป็นจริง (case: โลก, นิยายไทย-สิทธิสตรี) • อาจจะใช้ไม่ได้ในยุคสมัยนี้ (case: Myth, รถม้า-รถยนต์) • อาจจะไม่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม (case: การมองฐานวัฒนธรรมไทย โดยใช้แว่นฝรั่ง/ การแต่งตัว) … เหมือนนักโทษในถ้ำที่คิดและเชื่อมาตลอดว่า “เงา” ที่ผนังถ้ำ คือ “ของจริง”
3. เป็นการทวนกระแสความคุ้นและเคยชิน • ทวนกับกระแสความเชื่อพื้นฐาน หรือข้อเชื่อถือที่บุคคลในสังคมยึดถือกันมานานว่า “ถูกต้อง” “จริง” โดยไม่ต้องพิสูจน์ … เหมือนนักโทษที่คุ้นกับการอยู่ในถ้ำ แม้แต่…โซ่ตรวนก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของร่างกายไป พอขึ้นไปเห็น ของจริงนอกถ้ำ แล้วนำเรื่องราวกลับมาเล่าให้คนอื่น ในถ้ำฟัง ก็ถูกหัวเราะเยาะ Case: เดินสู่อิสรภาพ โดยอาจารย์ ดร. ประมวล   เพ็งจันทร์
4. เป็นอิสระเสรี …เสมือนการได้รับการปลดเปลื้องพันธนาการ แล้วปีนออกสู่โลกภายนอกถ้ำ …เป็นการปลดปล่อยจิตให้เป็นอิสระ และยกระดับจิตใจขึ้นไปสู่มิติของความรู้แท้ …ความรู้ในความจริงไม่ได้ทำให้เรามั่งคั่ง  แต่ทำให้จิตเราเป็นอิสระ
การตั้งคำถามถึงความเป็นมนุษย์ • อะไรคือสาระสำคัญของความเป็นมนุษย์? • มนุษย์ “Human Being” คืออะไร? • ชีวิตมาจากไหน? • เริ่มต้นที่ใด? เมื่อไหร่? ,[object Object],[object Object]
ทฤษฎีสร้างโลก(Creation of the Earth) • พระเจ้าเป็นพระผู้สร้าง • โลกและชีวิตเป็นสิ่งสร้างของพระองค์ • ทุกสิ่งถูกโปรแกรมมาแล้ว
ทฤษฎีเกี่ยวกับมนุษย์ 1. สารัตถนิยม (Essentialism) 	• มนุษย์มีอัตตะ/ตัวตน เป็นสารัตถะ มีเนื้อแท้ แก่นแท้ ที่ทำให้มนุษย์เป็นมนุษย์ ตัวอย่าง: สารัตถ/จิตนิยมแบบเพลโต (Plato) มนุษย์ประกอบด้วย กาย + จิต (ทวิลักษณะ)  เหตุผล = มนุษย์แห่งเหตุผล 	 อารมณ์ ความรู้สึก = มนุษย์แห่งอำนาจ  	(ฆ่าได้…แต่หยามไม่ได้) 	 ความอยาก = มนุษย์แห่งทรัพย์สิน
มนุษย์แห่งปัญญา มีจิตที่เป็นเหตุผลเป็นแรงขับสำคัญ มนุษย์ที่ถูกอารมณ์ ความรู้สึกครอบงำ ทะเยอทะยาน  ทำงานหวังผล “เงินมี…งานเดิน เงินเกิน…งานวิ่ง เงินนิ่ง…งานชะงัก” มนุษย์แห่งเงินตรา
มนุษย์ในทัศนะของเพลโต มนุษย์มีธรรมชาติที่ตายตัว ถูก “กำหนดความเป็น” มาแล้วล่วงหน้า  โดยมีจิตเป็นตัวกำหนดความคิด ค่านิยม  การกระทำ สติปัญญา ความสามารถ  และความถนัด เราไม่มีเจตจำนงอิสระ เราเป็นเพียงหมากตัวหนึ่ง ที่ถูกกำหนดไว้แล้วว่า  จะเดินไปในทิศทางใด
สารัตถนิยมแบบยิว-คริสต์ • มนุษย์เป็นสิ่งสร้างของพระองค์:                      	มีธรรมชาติตายตัว • เป็นฉายาของพระเจ้า • ทำตามเจตจำนงของพระเจ้า • และ…ต้องกลับคืนสู่อาณาจักรของพระองค์
การมีอยู่ของมนุษย์แนวสารัตถนิยม ,[object Object],ที่เปลี่ยนแปลง และสลายไปได้ กายเป็นเพียงตัวรับ การกระทำ แสดงว่ามี “สิ่ง” ที่เป็นตัวบังคับกาย นั่นคือ จิต วิญญาณ ,[object Object]
 มนุษย์มีเหตุผล รู้จักแยกแยะระหว่างความจริงกับความลวง และยังมีความสำนึกผิดชอบชั่วดี
การมีอยู่ของมนุษย์แนวสารัตถนิยม ,[object Object],[object Object]
แนวคิดแบบสารัตถ ก่อให้เกิดความเชื่อ และพิธีกรรม	เกี่ยวกับการตาย เช่น
สารัตถนิยมมีความเชื่อ 2 ประเด็นหลักๆ คือ เชื่อว่ามนุษย์มีสารัตถะ หรือตัวตนที่เป็นอสสาร เรียกว่า จิต หรือ นาม เชื่อว่ามนุษย์มีธรรมชาติที่ถูกกำหนดมาล่วงหน้าแล้ว (มนุษย์ไม่มีเจตจำนงเสรี Free Will ถูกจิตกำหนดความเป็นไว้แล้ว)
2. อสารัตถนิยม(Non-Essentialism) ,[object Object]
 ได้แก่แนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์ หรือแบบวัตถุนิยม ที่เห็นว่ามนุษย์มีเพียงธรรมชาติที่เป็นสสาร คือ กาย,[object Object]
 พุทธปรัชญา: ไม่มีตัวตนถาวร
อัตถิภาวนิยม: ไม่มีธรรมชาติตายตัว มีเสรีเต็มที่
วัตถุนิยม (Materialism) วัตถุนิยมแบบฮอบส์(Thomas Hobbes, 1588-1679)  ฮอบส์เป็นปราชญ์ชาวอังกฤษยุค Modern ที่เชื่อว่า สิ่งที่เป็นจริงคือ สสาร มีรูปร่าง และมีการเคลื่อนที่ 	 โลกและชีวิตเป็นขบวนการเคลื่อนไหวแบบกลไก เป็นเครื่องจักรที่ไม่มีชีวิตจิตใจ “มนุษย์ในแบบของฮอบส์ไม่ต่างอะไรไปจากหุ่นยนต์”
วัตถุนิยมของฮอบส์: มนุษย์คือหุ่นยนต์ • ไม่มีจิตที่เป็นอสสาร จิตคือสมอง • อยู่ภายใต้กฎจักรกล      ไม่มี Free Will • ถูกกำหนดโดยวัตถุ-กาย • กายนี้ ชีวิตนี้ ตายก็…จบ
สำหรับนักวัตถุนิยม ,[object Object]
ดังนั้นการตอบสนอง ปรนเปรอกาย 	รักกาย ถนอมกาย เป็นสิ่งที่ควรกระทำ ,[object Object],[object Object]
อัตถิภาวนิยม: มนุษย์ไม่มีธรรมชาติตายตัว • มนุษย์มีอิสระที่จะสร้างความหมาย ในชีวิตด้วยการกระทำของตนเอง • มนุษย์คือผู้สร้างตนเอง • มนุษย์มีอิสระเต็มที่ • เพราะ…ชีวิต…เลือกได้…ไม่มีกรอบ
อัตถิภาวนิยม: มนุษย์ไม่มีธรรมชาติตายตัว 	การมีอยู่ (existence) ของมนุษย์ คือ ชีวิตและร่างกาย สาระของความเป็นมนุษย์ (essence) คือ ชีวิตด้านใน และ จิต วิญญาณ อารมณ์ ความรู้สึก ความเป็นนักกีฬา เป็นอาจารย์ เป็นนักศึกษา  เป็นนายกรัฐมนตรี ความเป็นหญิง ความเป็นชาย ล้วนเกิดจากการที่มนุษย์เลือกสร้างให้ตนเองภายหลัง
รังเกียจชีวิต…แบบ...เครื่องจักร ,[object Object],ตื่นเช้า อาบน้ำ ล้างหน้า แปรงฟัน   อาหารเช้า เรียนหนังสือ อาหารเที่ยง เรียนหนังสือ อาหารค่ำ น้ำชา (เหล้า) อาบน้ำ ทีวี นอน
ชีวิต คือ เครื่องจักร ,[object Object],ตื่นเช้า อาบน้ำ ล้างหน้า แปรงฟัน   อาหารเช้า เรียนหนังสือ อาหารเที่ยง เรียนหนังสือ อาหารค่ำ น้ำชา (เหล้า) อาบน้ำ ทีวี นอน
ชีวิต คือ เครื่องจักร ,[object Object],เช้าตื่นขึ้นมา… คิดเรื่องตัวเอง….แล้ว…อยากจะอ้วก! “ชีวิตบัดซบ” (กามูส์)
กามูส์(Albert Camus, 1913-1960) “ชีวิตมีคุณค่าและความหมาย ตามที่แต่ละบุคคลให้แก่ตัวเอง  คุณค่าของมนุษย์ไม่ได้อยู่ในโลกหน้า  แต่เป็นโลกนี้  เราต้องรับสภาพของตัวเอง  และสร้างคุณค่าให้แก่ตัวเองตามสภาพของตน”
พุทธปรัชญา: อนัตตา • ชีวิตเป็นไปตามเหตุปัจจัย (อิทัปปัจยตา) • ชีวิตเป็นไปตามกฎแห่งกรรม • ไม่มีตัวตนถาวร แต่เกิดจากการปรุงแต่งของธาตุต่างๆ • อยู่ในอำนาจไตรลักษณ์
สรุป สารัตถ/จิตนิยม - มี self 	- มีจิต - ถูกกำหนดโดยจิต - มีธรรมชาติตายตัว (Predeterminism) 	- ไม่มี Free Will อสารัตถ - ไม่มี self (อนัตตา) - ไม่มีจิต - ไม่ถูกกำหนดโดยจิต - ไม่มีธรรมชาติตายตัว (Indeterminism) 	- มี Free Will
ความสำคัญของการรู้ธรรมชาติมนุษย์ ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ จะมีส่วนกำหนดกระบวนทัศน์ ซึ่งหมายถึง ความคิด วิธีคิด ค่านิยม  วิธีปฏิบัติต่อมนุษย์ด้วยกัน และต่อสรรพสิ่งต่างๆ หากคิดแบบนักสารัตถนิยม: มนุษย์มีกายและจิต จิตมีอำนาจเหนือกาย ดังนั้นจิตนี้เป็นนิรันดร์ เรามีชีวิตด้วยความดี เพื่อเตรียมเดินทางสู่โลกหน้า หากคิดแบบนักวัตถุนิยม: ชีวิตนี้มีเพียงกาย สิ่งจริงแท้คือ สสาร หรือ วัตถุ ดังนั้นโลกแห่งวัตถุที่เราดำรงอยู่ เราสามารถครอบครองทุกอย่างได้ ความตายเป็นการสิ้นสุดของชีวิต นรกไม่มี สวรรค์ไม่มี ชีวิตนี้สิ้นสุดแค่โลกนี้
ความสำคัญของการรู้ธรรมชาติมนุษย์ หากเชื่อว่าเราถูกกำหนดความเป็นมนุษย์โดยโชคชะตา (Fate): เมื่อเกิดอะไรขึ้นก็ไม่ต้องรับผิดชอบอะไรทั้งสิ้น (ดวงซวย, โชคไม่ดี) หากเชื่อว่าเราต่างหากเป็นผู้ลิขิตชีวิตตัวเอง: เราพร้อมที่จะรับผิดชอบในสิ่งที่เราได้เลือก  ได้ตัดสินใจไว้แล้ว
วิธีคิด
ขั้นแรกของการเกิดความคิด:เรียนรู้จากคนอื่นก่อน!เพราะเราไม่มีเวลาพอที่จะลองทำอะไรด้วยตัวเองทุกอย่าง
กระบวนทัศน์/วิธีคิดของมนุษย์แต่ละยุค ,[object Object],- อยู่ภายใต้อิทธิพลของธรรมชาติ - ความกลัว ความตื่นตะลึง ความเกรงขาม ความอัศจรรย์ใจ - เชื่อว่าโลกไร้ระเบียบ ปรากฏการณ์ต่างๆ เกิดจากการดลบันดาลของพลังเหนือธรรมชาติ - ทำพิธีกรรม ไสยศาสตร์ บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์
วิธีคิดยุคดึกดำบรรพ์ ,[object Object]
 ปรากฏการณ์ต่างๆเกิดจากการดลใจของพลังเหนือธรรมชาติ เช่น ผี พ่อมด แม่มด แม่ธรณี แม่โพสพ ,[object Object],พื้นน้ำ
มนุษย์สมัยดึกดำบรรพ์ มนุษย์ยังไม่กล้าที่จะคิดอะไร  …ปล่อยไปตามการควบคุมของธรรมชาติ เชื่อในพลังลี้ลับของสิ่งเหนือธรรมชาติ Nature > Human
 วิธีคิดยุคโบราณ ,[object Object]
 เกิดความคิดว่าจักรวาลมีระเบียบ ระบบ และมีกฎที่เป็นธรรมชาติ (เอกภพ) ,[object Object],สิ่งธรรมชาติ และสิ่งที่สามารถสังเกตเห็นได้ ,[object Object],Nature = Human
มนุษย์ยุคนี้ มนุษย์ยุคนี้รู้ “กฎธรรมชาติ” และรู้วิธีสร้างบ้านแปลงเมือง  เกิดวัฒนธรรมชุมชน เกิดการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน ตะวันตก: กรีซ ตะวันออก: จีน อินเดีย กรีซ- การมีธรรมชาติที่โหมล้อมด้วยพื้นน้ำ ท้องฟ้า แผ่นดิน สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ตรึงตรองสภาพแวดล้อม เพื่อพัฒนาปัญญา
Ancient Athens Ancient Athens
What is the first Element?What is the world made of?  (Thales, 624-546 B.C.) โลกเกิดจากน้ำ, ธาตุชื้น พยายามหาคำตอบที่เป็นไปได้ด้วยวิธีคิดแบบคาดเดาความจริง (speculate) โดยอาศัยข้อมูลที่ประจักษ์จากธรรมชาติ
Socrates กับวิภาษวิถี “วิภาษวิธี”(Dialectics) คือ กระบวนการหาความรู้และความจริงด้วยวิธีการถามคำถามเพื่อไล่เรียงไปสู่ความจริง เพราะ บางครั้งคนเราถกเถียงกันไม่รู้จบ เนื่องจากเข้าใจความหมายของคำที่พูดคนละอย่าง
Socrates สมัยนั้น…คิดนอกกรอบ…ตายอย่างเดียว Plato
วิธีคิดยุคโบราณแถบเอเชีย จีน- หยิน –หยาง เป็นสองสิ่งที่มี ลักษณะตรงกันข้ามกัน แต่สามารถรวมกัน เป็นหนึ่งเป็นบ่อเกิดของ โลก มนุษย์ และสรรพสิ่ง ขงจื้อ
วิธีคิดยุคกลาง ,[object Object]
เน้นคำอธิบายเกี่ยวกับศาสนา
 สภาวะแห่งจิตวิญญาณที่เป็นอมตะเป็นสิ่งที่พระเจ้าประทานให้แก่มนุษย์ในขณะปฏิสนธิ
 มนุษย์มิอาจเข้าถึงความจริงสูงสุดได้โดยตรง จนกว่าจะรับพระองค์เข้ามาในชีวิต
ยุคนั้น…เป็นยุคมืดทางปัญญา
 วิธีคิดยุคใหม่ ,[object Object]
 เกิดการคิดประดิษฐ์สิ่งต่างๆ                           	เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ชีวิตมนุษย์
 เชื่อว่ามนุษย์เป็นปัจเจกบุคคล                            	ที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตนแตกต่างกัน
 มนุษย์ยิ่งใหญ่อย่างไร้ขอบเขตและทรงคุณค่า
“Men can do all things if they will.”,[object Object]
กันกลิ้ง!?
สีแดง…แรงฤทธิ์ ฤทธิ์แรง??
Are we playing God?
เมื่อเราเริ่มสร้าง
เราก็ทำลาย!
ผลน่ะเหรอ!?
วิธีคิดยุคปัจจุบัน ,[object Object],“หยุดโลกที….ฉันจะลง!” ,[object Object]
เราไม่สามารถมองโลกแบบแยกย่อย (deduction) แต่ต้องมองแบบองค์รวม
 เน้นความแตกต่างหลากหลาย (K-pop, J-pop)Nature = Human
DADAISM
Surreality
Picasso’s Painting
กุหลาบ = รักนะ…เด็กโง่
ถึงเวลา…ลองคิดเอง!
ขั้นแรก: คิดอย่างอิสระ …หลุดออกจาก    กรอบความคิดเดิมๆ
เรียนแบบเด็กฝรั่ง VSเด็กไทย  มาตรงเวลา  นั่งข้างหน้า  ไม่เข้าใจ…ถาม  คิดเอง  สายหน่อยคงไม่เป็นไร!  แย่งกันนั่งข้างหลัง  	(เด็กหลังห้อง)  เข้าใจ…เงียบ   ไม่เข้าใจ…เงียบ   คิดให้หน่อย (ก, ข, ค หรือง) เด็กฝรั่ง เด็กไทย
ทำไม!? ดารา, นักร้อง ต้องสวย หล่อ เอวบาง ร่างน้อย ผิวขาว จมูกโด่ง เป็นลูกครึ่ง?
ทำไม?ผู้หญิงถูกทำให้คิดว่าความอ้วนคือความอัปลักษณ์
รถตำรวจไทย!??
Ordinary Tea Bag
คิดเชิงบวก “ผู้หญิงคิดบวก ยิ่งสวยขึ้น!”   ,[object Object]
 รีบลุกขึ้นใหม่ให้เร็ว (เดินหน้าสู่เป้าหมายต่อไป)
Case: Two Bad Bricks: AjahnBrahmhttp://www.ajahnbrahm.org/
Thomas A. Edison1847-1931 “If I find 10,000 ways something won’t work, I haven’t failed.  I am not discouraged, because  every wrong attempt discarded  is another step forward.”
Case: Class B Kids
พลังที่มองไม่เห็น
Rather light a candle than complaining about darkness. จุดเทียน ดีกว่าบ่นว่ามืด พุทธปรัชญา อ้างโดย AjahnBrahm
"The Impossible Dream" To dream the impossible dreamTo fight the unbeatable foeTo bear with unbearable sorrowTo run where the brave dare not go To right the unrightable wrongTo love pure and chaste from afarTo try when your arms are too wearyTo reach the unreachable star
"The Impossible Dream" This is my questTo follow that starNo matter how hopelessNo matter how far
"The Impossible Dream" To fight for the rightWithout question or pauseTo be willing to march into HellFor a heavenly cause And I know if I'll only be true To this glorious questThat my heart will lie peaceful and calmWhen I'm laid to my rest
"The Impossible Dream" And the world will be better for thisThat one man, scorned and covered with scarsStill strove with his last ounce of courageTo reach the unreachable star music by Mitch Leigh and lyrics by Joe Darion
คิดสร้างสรรค์คิดเพื่อประโยชน์ ไม่ใช่คิดเพื่อทำลาย
สร้างหุ่นยนต์มาเตะบอล…ตรูจะได้ไม่เหนื่อย!
ไม่ต้องเป่าให้เมื่อยปาก
วิหารStephansdom Vienna  Austria
เครื่องเล่น ไอ้แมงมุม

More Related Content

What's hot

กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดกลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
freelance
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
Padvee Academy
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
niralai
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
Padvee Academy
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบsarawu5
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
Theeraphisith Candasaro
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
Padvee Academy
 

What's hot (15)

กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิดกลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
กลุ่มทับทิมกรอบ --เรื่องมนุษย์กับความคิด
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
ไอน์สไตน์ถามพระพุทธเจ้าตอบ
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 

Similar to Dec 10 Vol.2

590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]teacherhistory
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
Muttakeen Che-leah
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
freelance
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบKobwit Piriyawat
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
Klangpanya
 

Similar to Dec 10 Vol.2 (20)

590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
02life
02life02life
02life
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 

Dec 10 Vol.2