SlideShare a Scribd company logo
1 of 283
 
 
 
 
 
 
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
 
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
 
 
บทเรียนโปรแกรม PowerPoint
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับครู PC 9203
บทที่ 1   ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
    ความหมายของข้อมูล สารสนเทศ     ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล  ( Data)  ให้เป็นสารสนเทศ  ( Information)  และนำไปสู่ความรู้  ( Knowledge)  ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน ข้อมูล   คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว สารสนเทศ  คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้
ความสำคัญของข้อมูลและสารสนเทศ     ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึงมีการนำเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการดำเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือองค์การจึงดำเนินการอย่างจริงจังให้ได้มาซึ่งข้อมูล และปกป้องดูแลข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การโจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงเป็นปัญหา
ประเภทของข้อมูล                       ถ้าจำแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออกเป็น  2  ประเภทใหญ่ ๆ คือ             1.  ข้อมูลปฐมภูมิ  ( Primary Data)    หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ และการจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก             2.  ข้อมูลทุติยภูมิ   (Secondary Data)  หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำนวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการนำสินค้าเข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น                                                                                              
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร   เทคโนโลยีสารสนเทศ  (Information Technology : IT)  หมายถึง การนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีด้านการสื่อสารโทรคมนาคมมาช่วยในการรวบรวม ประมวลผล สรุป จัดเก็บ และเผยแพร่ สารสนเทศที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร ภาพ และเสียง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประการแรก   การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย  Communications media,  การสื่อสารโทรคมนาคม  (Telecoms),  และเทคโนโลยีสารสนเทศ  (IT)
ประการที่สอง   เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ ,  อินเทอร์เน็ต ,  อีเมล์ ทำให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก ประการที่สาม  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง
ประการที่สี่  เครือข่ายสื่อสาร  ( Communication networks)  ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำนวนการใช้เครือข่าย จำนวนผู้เชื่อมต่อ และจำนวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น ประการที่ห้า  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้   ICT  มีราคาถูกลงมาก
ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 . เทคโนโลยีด้านการรับข้อมูล  ( SensingTechnology )   เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้เราสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่อยู่รอบตัวเราแล้วเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องสแกนภาพ   ( image scanners )   เครื่องอ่านรหัสแถบ ( bar code scanners  ) และ อุปกรณ์รับสัญญาณ ( Sensor s) เป็นต้น   
2. เทคโนโลยีการสื่อสาร (CommunicationTec. hnology)  เช่น โทรสาร โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายท้องถิ่น  (LAN)    3 .  เทคโนโลยีวิเคราะห์  (Analyzing Technology)  ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ ทั้งส่วนที่เป็น  Hardware  และ  Software  4 .  เทคโนโลยีการแสดงผล   (Display Technology)
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปัจจุบันนี้เราสามารถติดต่อสื่อสารกับคนทั่วโลกได้สะดวกมาก แต่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ การสื่อสารได้มีวิวัฒนาการมาหลายยุคหลายสมัย ผู้เขียนจะกล่าวถึงวิวัฒนาการของการสื่อสารตั้งแต่ยุคแรกของมนุษย์ดังนี้ เชื่อกันว่าการสื่อสารระยะไกลของ มนุษย์ในยุคแรกๆ น่าจะเป็นการการตีเกราะ เคาะไม้ การส่งเสียงต่อเป็นทอดๆ และการส่งสัญญาณควัน
รหัสมอร์ส แซมมวลมอร์ส นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน เป็นคนแรกที่คิดวิธีการสื่อสารสมัยใหม่ ( ในตอนนั้น ) โดยการส่งสัญญาณไปตามสาย  มอร์สได้กำหนดรหัสขึ้นมาใช้ในการสื่อสาร  ด้วยการส่งกระแสไฟฟ้าให้ไหลไปตามสายไฟฟ้า  และกำหนดให้มีจังหวะของการไหลยาวบ้างสั้นบ้างเป็นจังหวะ    แล้วนัดหมายกับฝ่ายรับปลายทางว่ารหัสแต่ละตัวหมายถึงตัวอักษรตัวใดรหัสที่ใช้ในการส่งโทรเลขเรียกว่า รหัสมอร์ส
โทรศัพท์          ต่อมาเมื่อนักวิทยาศาสตร์สามารถแปลงเสียงพูดให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าได้  อเล็กซานเดอร์  เกรแฮม  เบลล์  (Alexander  Graham Bel)   จึงได้ประดิษฐ์โทรศัพท์ขึ้นมา  และโทรศัพท์จะมีการเปลี่ยนสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสายโทรศัพท์    แล้วโทรศัพท์ปลายทางจะทำหน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้านั้นกลับมาเป็นสัญญาณเสียงเหมือนเดิม   และเรียกการสื่อสารในลักษณะนี้ว่าโทรศัพท์แบบใช้สายหรือโทรศัพท์บ้าน 
การประชุมทางไกล       การสื่อสารในปัจจุบันช่วยให้การดำเนินชีวิตคนเรามีความสะดวก สบายมากขึ้น ( ไม่ได้หมายความว่าคนในปัจจุบันมีความสุขมากขึ้น )  ปัจจุบันผู้บริหารหน่วยงานต่างๆที่มีเครือข่ายอยู่ทั่วประเทศสามารถประชุมกันได้ โดยไม่ต้องมาเข้าห้องประชุมเดียวกัน
ความสำคัญและความจำเป็นในการใช้ สารสนเทศเพื่อการบริหาร
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
แบบทดสอบท้ายบท
1. ข้อมูลหมายถึงอะไร ก . ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านการประเมิน ข . ข้อมูลที่ผ่านการประเมินแล้ว ค . ข้อความที่ถูกบันทึกไว้
2. ข้อใดไม่ใช่รูปแบบ การสื่อสารระยะไกลของมนุษย์ในยุคแรก ก . ตีเกราะ เคาะไม้ ข . การส่งเสียงเป็นทอดๆ ค . การใช้โทรเลข
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศมีผลให้การใช้งาน ในด้านต่างๆเป็นอย่างไร ก . ราคาถูกลง ข . ราคาแพงขึ้น ค . ไม่มีผลใดๆ
4. ข้อใดไม่ใช่สิ่งสำคัญในการพัฒนากิจกรรมของมนุษย์ ก .   การสื่อสารโทรคมนาคม ข .   เทคโนโลยีสารสนเทศ ค .   ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์มีราคาถูกล ง
5. ใครคือผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์คนแรก ก . อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ ข . แซม มวล มอส ค . อลิตโตเติ้ล
ไปข้อที่ 2 ไปข้อที่ 3 ไปข้อที่ 4 ไปข้อที่ 5 ไปบทที่ 2
ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
บทที่ 2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้ดังนี้ เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น  6  รูปแบบ ดังนี้ต่อไปนี้ คือ
1.  เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล  เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ ,  กล้องดิจิตอล ,  กล้องถ่ายวีดีทัศน์ ,  เครื่องเอกซเรย์ ฯลฯ ภาพถ่ายทางอากาศ เครื่องเอ็กซเรย์ กล้องดิจิตอล
2.  เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล  จะเป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก ,  จานแม่เหล็ก ,  จานแสงหรือจานเลเซอร์ ,  บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ จานแม่เหล็ก บัตรเอทีเอ็ม
3.  เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล  ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์
4.  เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล  เช่น เครื่องพิมพ์ ,  จอภาพ ,  พล็อตเตอร์ ฯลฯ เครื่องพิมพ์ จอภาพ พล็อตเตอร์
5.  เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร  เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร ,  เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม
6.  เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล  ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ ,  วิทยุกระจายเสียง ,  โทรเลข ,  เทเลกซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกล  โทรเลข โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พฤติกรรม  หมายถึง  กิริยาของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นทั้งสิ่งเร้าภายใน  และสิ่งเร้าภายนอก เทคโนโลยีสารสนเทศ  คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  หมายถึง การแสดงออกทางความคิดและความรู้สึกในการรูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภทที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บสร้างและเผยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถแบ่งกลุ่มได้ 3  กลุ่มดังนี้ 1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ   (business)   จะเน้นการใช้งานทางด้านธุรกิจโดยเฉพาะโดยมุ่งหวังการทำงานที่มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงคนเช่น ใช้สำหรับการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่างๆซึ่งในปัจจุบันมีผู้ผลิตซอฟแวร์กลุ่มนี้เป็นจำนวนมาก
2. กลุ่มการใช้งานในด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย  (graphic and multimedia)   เป็นกลุ่มซอฟแวร์ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยสำหรับการจัดการทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดียให้เป็นไปโดยง่ายมีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบงานต่างๆ เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ตัดแต่งเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหวรวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซด์
3. กลุ่มสำหรับใช้งานบนเว็บไซด์และการติดต่อสื่อสา (web and communications)  การเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมสำหรับตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซด์ การจัดการดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่ มีอุปกรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์  ( Video Projector) มีเครื่องคอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของสื่อที่นำมาใช้ในด้านการเรียนการสอน ก็มีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนำมาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน อิเล็กทรอนิกส์บุค วิดีโอเทลเลคอนฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์ การสืบค้นข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
การนำมาประยุกต์ใช้มีดังนี้ -  คอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เป็นการนำเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอน ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่าบทเรียน  CAI ( Computer - Assisted Instruction )  การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสื่อประสม  ( Multimedia)  ซึ่งหมายถึงนำเสนอได้ทั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ กับบทเรียนได้ตลอด จนมีผลป้อนกลับเพื่อให้ผู้เรียนรู้ บทเรียนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรียนนั้นๆ
  -  การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก  เป็นการจัดการเรียน ที่มีสภาพการเรียนต่างไปจากรูปแบบเดิม การเรียนการสอนแบบนี้ อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการนำเอาสื่อการเรียนการสอน ที่เป็นเทคโนโลยี มาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดการเรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล และเชื่อมโยงเครือข่าย ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกสถานที่และทุกเวลา การจัดการเรียนการสอนลักษณะนี้ มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ  ( Web-based Instruction)  การฝึกอบรมผ่านเว็บ  ( Web-based Trainning)  การเรียนการสอนผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ  ( www-based Instruction)  การสอนผ่านสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์  ( e-learning)  เป็นต้น
  -  อิเล็กทรอนิกส์บุค  คือการเก็บข้อมูลจำนวนมากด้วยซีดีรอม หนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลตัวอักษรได้มากถึง  600  ล้านตัวอักษร ดังนั้นซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสือ หรือเอกสารได้มากกว่าหนังสือหนึ่งเล่ม และที่สำคัญคือการใช้กับคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถเรียกค้นหาข้อมูลภายในซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ดัชนี สืบค้นหรือสารบัญเรื่อง ซีดีรอมจึงเป็นสื่อที่มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างยิ่ง เพราะในอนาคตหนังสือต่าง ๆ จะจัดเก็บอยู่ในรูปซีดีรอม และเรียกอ่านด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่าอิเล็กทรอนิกส์บุค ซีดีรอมมีข้อดีคือสามารถจัดเก็บ ข้อมูลในรูปของมัลติมีเดีย และเมื่อนำซีดีรอมหลายแผ่นใส่ไว้ในเครื่องอ่านชุดเดียวกัน ทำให้ซีดีรอมสามารถขยายการเก็บข้อมูลจำนวนมากยิ่งขึ้นได้   
  -  วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์  หมายถึงการประชุมทางจอภาพ โดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย เป็นการประชุมร่วมกันระหว่างบุคคล หรือคณะบุคคลที่อยู่ต่างสถานที่ และห่างไกลกันโดยใช้สื่อทางด้านมัลติมีเดีย ที่ให้ทั้งภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสียง และข้อมูลตัวอักษร ในการประชุมเวลาเดียวกัน และเป็นการสื่อสาร  2  ทาง จึงทำให้ ดูเหมือนว่าได้เข้าร่วมประชุมร่วมกันตามปกติ ทำให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ผ่านทางจอภาพ โทรทัศน์และเสียง นักเรียนในห้องเรียน ที่อยู่ห่างไกลสามารถเห็นภาพและเสียง ของผู้สอนสามารถเห็นอากับกิริยาของ ผู้สอน เห็นการเคลื่อนไหวและสีหน้าของผู้สอนในขณะเรียน
-  ระบบวิดีโอออนดีมานด์   เป็นระบบใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมนำมาใช้ ในหลายประเทศเช่น ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทำให้ผู้ชมตามบ้านเรือนต่าง ๆ สามารถเลือกรายการโทรทัศน์ ที่ตนเองต้องการชมได้โดยเลือกตามรายการ และเลือกชมได้ตลอดเวลา วิดีโอออนดีมานด์ เป็นระบบที่มีศูนย์กลาง การเก็บข้อมูลวีดีทัศน์ไว้จำนวนมาก โดยจัดเก็บในรูปแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่  ( Video Server)  เมื่อผู้ใช้ต้องการเลือกชมรายการใด ก็เลือกได้จากฐานข้อมูลที่ต้องการ ระบบวิดีโอ ออนดีมานด์จึงเป็นระบบที่จะนำมาใช้ ในเรื่องการเรียนการสอนทางไกลได้ โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ในสิ่งที่ตนเองต้องการเรียนหรือสนใจได้
-  การสืบค้นข้อมูล  ปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงระบบการสืบค้นข้อมูลกันมาก แม้แต่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก็มีการประยุกต์ใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ในการสืบค้นข้อมูล จนมีโปรโตคอลชนิดพิเศษที่ใช้กัน คือ  World Wide Web  หรือเรียกว่า  www.  โดยผู้ใช้สามารถเรียกใช้โปรโตคอล  http  เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ ซึ่งเป็นฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ไฮเปอร์เท็กซ์มีลักษณะเป็นแบบมัลติมีเดีย สามารถสร้างเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ที่เก็บได้ทั้งภาพ เสียง และตัวอักษร มีระบบการเรียกค้นที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้โครงสร้างดัชนีแบบลำดับชั้นภูมิ โดยทั่วไป จะเป็นฐานข้อมูลที่มีดัชนีสืบค้นแบบเดินหน้า ถอยหลัง และบันทึกร่องรอยของการสืบค้นไว้ โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างไฮเปอร์เท็กซ์มีเป็นจำนวนมาก ส่วนโปรแกรมที่มีชื่อเสียงได้แก่  HTML Compossor FrontPage Marcromedia DreaWeaver  เป็นต้น ปัจจุบันเราใช้วิธีการสืบค้นข้อมูล เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบในการทำเอกสารรายงานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
-  อินเทอร์เน็ต  คือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายย่อย และเครือข่ายใหญ่สลับซับซ้อนมากมาย เชื่อมต่อกันมากกว่า  300  ล้านเครื่องในปัจจุบัน โดยใช้ในการติดต่อสื่อสาร ข้อความรูปภาพ เสียงและอื่น ๆ โดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีผู้ใช้งานกระจายกันอยู่ทั่วโลก ปัจจุบันได้มีการนำระบบอินเทอร์เน็ต เข้ามาใช้ในวงการศึกษากันทั่วโลก ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนเป็นอย่างมาก   
1. เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้กี่รูปแบบ  ก . 5  รูปแบบ ข . 6  รูปแบบ ค . 7 รูปแบบ
2. ข้อใดไม่ใช่เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร ก . เครื่องถ่ายเอกสาร ข . เครื่องถ่ายไมโคฟิมล์ ค . จานแม่เหล็ก
3. กลุ่มการใช้งานทางใด เน้นการใช้งานที่มุ่งหวังการทำงานที่มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงคน ก . Business ข . Web and communications ค . Graphic and multimedia
4. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนำเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอน เรียกว่าบทเรียนอะไร ก .CAI ข .e-learning ค .Video Server
5. อิเล็กทรอนิกส์บุค คืออะไร ก . ฐานข้อมูลเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ข . การสืบค้นข้อมูลไปใช้ประกอบการทำเอกสาร ค . การเก็บข้อมูลจำนวนมากด้วยซีดีรอม
เฉลย ไปบทที่ 3 ไปข้อที่ 2 ไปข้อที่ 3 ไปข้อที่ 4 ไปที่ข้อ5
ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
อ้างอิง -http://dusithost.dusit.ac.th/~librarian/it107/C1.html      -http://www.thapra.lib.su.ac.th
บทที่ 3 ระบบการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล  ( Data Communications) การสื่อสารข้อมูล หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน
วิธีการส่งข้อมูล  วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาอยู่ในรูปที่มนุษย์สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจเกิดอุปสรรค์ขึ้นก็คือสิ่งรบกวน ( Noise) จากภายนอกทำให้ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะทำให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวนเหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทำให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ   องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจำแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้   1.  ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร ( source) อาจจะเป็นสัญญาณต่างๆเช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรือท่าทางต่างๆก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสารจัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน
   2.  ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร  ( sink )   จะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้นๆถ้าผู้รับสาร หรือจุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ  กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง
3.  ช่องสัญญาณ (channel)   ช่องสัญญาณหมายถึง สื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่านอาจจะเป็นอากาศ สายนำสัญญาณต่างๆหรือแม้กระทั่งของเหลว เช่น น้ำ น้ำมัน เป็นต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง
4.  การเข้ารหัส ( encoding)      เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมายจึงมีความจำเป็นต้องแปลง ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
5.  การถอดรหัส ( decoding )  การถอดรหัส หมายถึง การที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
6.  สัญญาณรบกวน ( nois e)      เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมุติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาดตำแหน่ง ที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร ในทางปฏิบัติ มักจะใช้ วงจรกรอง  ( filter)  กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ เช่นการเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็นต้น
แบบทดสอบท้ายบท
1. ข้อใดเป็นความหมายของ  decoding ก . การเข้ารหัส ข . การถอดรหัส ค . สัญญาณรบกวน
2. ข้อใดเป็นความหมายของช่องสัญญาณ ก . สื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทาง ข . การแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ค . การสื่อสารที่มีคุณภาพดี
3 .   กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง  และผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสารเป็นความหมายของข้อใด  ก . การสื่อสารข้อมูล ข . ช่องสัญญาณ ค . การเข้ารหัส
4. สื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่านอาจจะเป็นอากาศ สายนำสัญญาณต่างๆหรือแม้กระทั่งของเหลว เป็นความหมายของข้อใด ก . ช่องสัญญาณ ข . การเข้ารหัส ค . การถอดรหัส
5. องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจำแนกออกเป็นกี่ส่วน ,[object Object],[object Object],[object Object]
เฉลย ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไปข้อ 4 ไปข้อ 5 ไปบทที่ 4
ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
บทที่ 4 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
องค์ประกอบพื้นฐาน ของการสื่อสาร
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือระบบ  Network  คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้ "  เครือข่ายนั้นมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเครื่อง เพื่อใช้งานในบ้านหรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก ส่วน  Home Network  หรือเครือข่ายภายในบ้าน ซึ่งเป็นระบบ  LAN ( Local Area Network)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กๆ  1.  การใช้ทรัพยากรร่วมกัน หมายถึง การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องพิมพ์ร่วมกัน กล่าวคือ มีเครื่องพิมพ์เพียงเครื่องเดียว ทุกคนในเครือข่ายสามารถใช้เครื่องพิมพ์นี้ได้  2.  การแชร์ไฟล์ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกติดตั้งเป็นระบบ เน็ตเวิร์กแล้ว การใช้ไฟล์ข้อมูลร่วมกันหรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ทำได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
3.  การติดต่อสื่อสาร โดยคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเป็นระบบ   Network   สามารถติดต่อพูดคุยกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น หรือการใช้อีเมล์ภายในเครือข่าย  Home Network  หรือ  Home Office  จะเกิดประโยชน์นี้อีกมากมาย 4.  การใช้อินเทอร์เน็ตร่วมกัน คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อในระบบ   Network  สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ทุกเครื่องโดยมีโมเด็มตัวเดียว ไม่ว่าจะเป็นแบบอนาล็อกหรือแบบดิจิตอลอย่าง  ADSL  ยอดฮิตในปัจจุบัน
ระบบเครือข่ายสามารถแบ่งออกเป็น  3  ประเ ภท  1. LAN (Local Area Network ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่นเป็น   Network  ในระยะทางไม่เกิน  10  กิโลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ คือจะเป็นระบบเครือข่ายที่อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือต่างอาคาร ในระยะใกล้ๆ
2. MAN (Metropolitan Area Network) ระบบเครือข่ายเมืองเป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อกันในเมือง เช่น เครื่องเวิร์กสเตชั่นอยู่ที่สุขุมวิท มีการติดต่อสื่อสารกับเครื่องเวิร์กสเตชั่นที่บางรัก
3. WAN (Wide Area Network) ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น  World Wide  ของระบบ เน็ตเวิร์ก โดยจะเป็นการสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก จะต้องใช้ มีเดีย ( Media)  ในการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย  ( คู่สายโทรศัพท์  dial-up /  คู่สายเช่า  Leased line / ISDN) (lntegrated Service Digital Network  สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพในเวลาเดียวกัน )
ประเภทของระบบเครือข่าย
Peer To Peer  เป็นระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนระบบเครือข่ายมีฐานเท่าเทียมกัน คือทุกเครื่องสามารถจะใช้ไฟล์ในเครื่องอื่นได้ และสามารถให้เครื่องอื่นมาใช้ไฟล์ของตนเองได้เช่นกัน มีการทำงาน แบบดิสทริบิวท์ ( Distributed System)  โดยจะกระจายทรัพยากรต่างๆ ไปสู่เวิร์กสเตชั่นอื่นๆ แต่จะมีปัญหาเรื่องการรักษาความปลอดภัย เนื่องจากข้อมูลที่เป็นความลับจะถูกส่งออกไปสู่คอมพิวเตอร์อื่นเช่นกันโปรแกรมคือ  Windows for Workgroup  และ  Personal Netw are
วงจรแบบ   Peer To Peer
Client / Server เป็นระบบการทำงานแบบ  Distributed Processing  หรือการประมวลผลแบบกระจาย โดยจะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอ็นต์ แบ่งการคำนวณของโปรแกรมแอพพลิเคชั่น มาทำงานบนเครื่องไคลเอ็นต์ด้วย และเมื่อใดที่เครื่องไคลเอ็นต์ต้องการผลลัพธ์ของข้อมูลบางส่วน จะมีการเรียกใช้ไปยัง เครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้นำเฉพาะข้อมูลบางส่วนเท่านั้นส่งกลับ มาให้เครื่องไคลเอ็นต์เพื่อทำการคำนวณข้อมูลนั้นต่อไป
วงจรแบบ   Client / Serve r
รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบ เครือข่าย  LAN Topology
ระบบ   Bus  การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก  1  เส้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอ็นต์ทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อสายเคเบิ้ลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกมองเป็น  Node  เมื่อเครื่องไคลเอ็นต์เครื่องที่หนึ่ง   (Node A)  ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง  ( Node C)  จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ  Node C  ลงไปบนบัสสายเคเบิ้ลนี้ เมื่อเครื่องที่  Node C  ได้รับข้อมูลแล้วจะนำข้อมูล ไปทำงานต่อทันที
ระบบ  BUS
แบบ  Star  การเชื่อมต่อแบบสตาร์นี้จะใช้อุปกรณ์  Hub  เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ โดยที่ทุกเครื่องจะต้องผ่าน  Hub  สายเคเบิ้ลที่ใช้ส่วนมากจะเป็น  UTP  และ  Fiber Optic  ในการส่งข้อมูล  Hub  จะเป็นเสมือนตัวทวนสัญญาณ  ( Repeater)  ปัจจุบันมีการใช้  Switch  เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อซึ่งมีประสิทธิภาพการทำงานสูงกว่า
แบบ   star
แบบ  Ring  การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ  Ring  มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล  IBM  กันมาก เป็นเครื่องข่าย  Token Ring  ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ  IBM  กับเครื่องลูกข่ายบนระ บบ
แบบ   ring
แบบ  Hybrid   เป็นการเชื่อมต่อที่ผสมผสานเครือข่ายย่อยๆ หลายส่วนมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นำเอาเครือข่ายระบบ  Bus,  ระบบ  Ring  และ ระบบ  Star  มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เหมาะสำหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ   Hybrid Network  นี้จะมีโครงสร้างแบบ  Hierarchical  หรือ  Tre  ที่มีลำดับชั้นในการทำงาน
แบบ  Hybrid
ชนิดของเครือข่ายมี  3  แบบคื อ 1. เครือข่ายภายใน หรือ  แลน   ( Local Area Network:   LAN )  เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน  2. เครือข่ายวงกว้าง หรือ  แวน   ( Wide Area Network:   WAN )  เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร  3. เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ  แมน   ( Metropolitan area network   :   M AN )
ยังมีอีกสองเครือข่ายที่ยังมีเพิ่มเติมอีกคือ - เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ  แคน   ( Controller area network)   :   CAN )  เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์  ( Micro Controller unit:   MCU )  - เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ  แพน   ( Personal area network)   :   PAN )  เป็นเครือข่ายไร้สาย
อุปกรณ์เครือข่าย เซิร์ฟเวอร์  ( Server)  หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ มีฮาร์ดดิกส์ความจำสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย  .
ไคลเอนต์  ( Client)  หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่าย  สวิตซ์  ( Switch)  คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทำหน้าที่ในเรเยอร์ที่  2  และทำหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทำให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน
ฮับ  ( HUB)  หรือ เรียก รีพีทเตอร์  ( Repeater)   คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทำให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง
เราเตอร์  ( Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ใน เลเยอร์ที่  3  เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่  ( Address)  ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว  ( Header)   ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกำหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ้ล  ( Routing Table)   หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่ให้โพรโทคอลต่างกันได้
บริดจ์  (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน  (LAN Segments)   เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ  LAN  ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ  Data Link Layer
เกตเวย์  ( Gateway)  เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี  ( PC)   เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช  ( MAC)  เป็นต้น
องค์ประกอบ ของ ระบบเครือข่าย  
1.  คอมพิวเตอร์แม่ข่าย         คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร  ( Resources)  ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น
2.  ช่องทางการสื่อสาร          ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ  ( Receiver)  และผู้ส่งข้อมูล  ( Transmitter)  ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สำหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม  ( UTP)  สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม   (STP)  สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น  
3.  สถานีงาน          สถานีงาน  ( Workstation or Terminal)  หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย   (Workstation)  ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง
4.  อุปกรณ์ในเครือข่าย           การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย  ( Network Interface Card :NIC)  หมายถึง แผงวงจรสำหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้  
5.  ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย              ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทำหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนำโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทำงานในระบบเครือข่ายอีกด้วย ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ  Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Uni
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์ โมเด็ม   (MODEM)   MODEM  มาจากคำเต็มว่า  Modulator – DEModulator  ทำหน้าที่แปลงสัญญาณข้อมูลดิจิตอล ที่ได้รับจากเครื่องส่งหรือคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบอนาลอกก่อนทำการส่งไปยังปลายทางต่อไป โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ และเมื่อส่งถึงปลายทางก็จะมีโมเด็มทำ   
มัลติเพล็กซ์เซอร์   (Multiplexer)   วิธีการเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่างผู้รับและผู้ส่งปลายทางที่ง่ายที่สุดคือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด  ( Point to Point)  แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงและใช้งานไม่เต็มที่ จึงมีวิธีการเชื่อมต่อที่ยุ่งยากขึ้น คือการเชื่อมต่อแบบหลายจุดซึ่งใช้สายสื่อสารเพียงเส้น   802.3
คอนเซนเตเตอร์   (Concentrator)   คอนเซนเตเตอร์เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถเพิ่มสายหรือช่องทางการส่งข้อมูลได้มากขึ้น การส่งข้อมูลจะเป็นแบบอซิงโครนัส
คอนโทรลเลอร์ ( Controller) คอนโทรลเลอร์เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ที่ส่งข้อมูลแบบอซิงโครนัส ที่สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงได้ดี การทำงานจะต้องมีโปรโตคอลพิเศษสำหรับกำหนดวิธีการรับส่งข้อมูล มีบอร์ดวงจรไฟฟ้าและซอฟต์แวร์สำหรับคอมพิวเตอร์
ฮับ   (HUB)   ฮับเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่เช่นเดียวกับมัลติเพล็กซ์เซอร์ ซึ่งนิยมใช้กับระบบเครือข่ายท้องถิ่น  ( LAN)  มีราคาต่ำ ติดต่อสื่อสารข้อมูลตามมาตรฐาน  IEEE 802.3
ฟรอนต์  –  เอ็นโปรเซสเซอร์  FEP (Front-End Processor)   FEP  เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างโฮสต์คอมพิวเตอร์ หรือมินิคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่ายสำหรับสื่อสารข้อมูล เช่น โมเด็ม มัลติเล็กซ์เซอร์ เป็นต้น  FEP  เป็นอุปกรณ์ทีมีหน่วยความจำ  ( RAM)  และซอฟต์แวร์สำหรับควบคุมการทำงานเป็นของตัวเองโดยมีหน้าที่หลักคือ ทำหน้าที่แก้ไขข่าวสาร เก็บข่าวสาร เปลี่ยนรหัสรวบรวมหรือกระจายอักขระ ควบคุมอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล จัดคิวเข้าออกของข้อมูล ตรวจสอบ
อิมูเลเตอร์   (Emulator)   อิมูเลเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนกลุ่มข่าวสารจากโปรโตคอลแบบหนึ่งไปเป็นกลุ่มข่าวสาร ซึ่งใช้โปรโตคอลอีกแบบหนึ่ง แต่จะเป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์หรือเป็นโปรแกรมซอฟต์แวร์ก็ได้ บางครั้งอาจจะเป็นทั้ง  2  อย่าง โดยทำให้คอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้ามานั้นดูเหมือนเป็นเครื่องเทอร์มินัลหนึ่งเครื่อง โฮสต์หรือมินิคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนิยมนำเครื่อง  PC  มาใช้เป็นเทอร์มินัลของเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพราะประหยัดกว่าและเมื่อไรที่ไม่ใช้ติดต่อกับมินิหรือเมนแฟรมก็สามารถใช้เป็น   PC  ทั่วไปได้
เกตเวย์   (Gateway)   เกตเวย์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีหน้าที่หลักคือ ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์  2  เครือข่ายหรือมากกว่าซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน สามารถสื่อสารกันได้เสมือนกับเป็นเครือข่ายเดียวกัน โดยทั่วไปแล้วระบบเครือข่ายแต่ละเครือข่ายอาจจะแตกต่างกันในหลายกรณี เช่น ลักษณะการเชื่อมต่อ  ( Connectivity)  ที่ไม่เหมือนกัน โปรโตคอลที่ใช้สำหรับรับส่งข้อมูลต่างกัน เป็นต้น
บริดจ์   (Bridge)   เป็นอุปกรณ์  IWU (Inter Working Unit)  ที่ใช้สำหรับเชื่อมเครือข่ายท้องถิ่น  ( Local Area Network  หรือ  LAN) 2  เครือข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะใช้โปรโตคอลที่เหมือนกันหรือต่างกันก็ได้
เราเตอร์   (Router)   เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะเป็นเครือข่ายเดียวกันหรือข้ามเครือข่ายกัน โดยการเชื่อมกันระหว่างหลายเครือข่ายแบบนี้เรียกว่า เครือข่ายอินเตอร์เน็ต   (Internet)  โดยเครือข่ายแต่ละเครือข่ายจะเรียกว่า เครือข่ายย่อย  ( Subnetwork)  ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้เชื่ออมต่อระหว่างเครือข่าย เรียกว่า  IWU (Inter Working Unit)  ได้แก่ เราเตอร์และบริดจ์
รีพีตเตอร์   (Repeater)   เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่งสัญญาณซ้ำ เพื่อส่งสัญญาณต่อไปนี้ในระยะไกลป้องกันการขาดหายของสัญญาณ ซึ่งรูปแบบของเครือข่ายแต่ละแบบรวมทั้งสายสัญญาณที่ใช้เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางแต่ละชนิดจะมีข้อจำกัดของระยะทางในการส่ง ดังนั้นเมื่อต้องการส่งสัญญาณให้ไกลกว่าปกติต้องเชื่อมต่อกับรีพีตเตอร์ดังกล่าว เพื่อทำให้สามารถส่งสัญญาณ ได้ไกลยิ่งขึ้น
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
Unicast   ในโหมดการสื่อสารแบบ  Unicast   เป็นโหมดการรับส่งข้อมูลจากโหมดหนึ่งไปยังโหมดหนึ่งในลักษณะ  1  ต่อ  1  หรือเรียกว่า  One-to-One  ในการส่งลักษณะนี้ ตัวค้นหาเส้นทาง  ( Router)  ใช้โพรโทคอล ในการค้นหาเส้นทางระหว่างโหมด เนื่องจากการสื่อสารแบบ  Unicast  เป็นการส่งข้อมูลระหว่างโหมดแบบง่าย ๆ จึงไม่สามารถรองรับการส่งข้อมูลระหว่างโหมดได้เมื่อมีจำนวนโหมดในการรับส่งเพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดปัญหาการส่งข้อมูลในเครือข่ายมากเกินไป  ( Network   Load) ใช้ในเฉพาะ  LAN  ซึ่งจัดการได้ดีกว่า  W AN
Multicast   ในโหมดการสื่อสารข้อมูลแบบ  Multicast   เป็นการส่งข้อมูลจากโหมดต้นทางหนึ่งไปยังกลุ่มของโหมดปลายทางเฉพาะกลุ่มที่มีการกำหนดแบบ  1  ต่อกลุ่มเฉพาะ หรือ  One-to-N  ซึ่ง  N  ในที่นี้อยู่ตั้งแต่  0  ถึง ทั้งหมด การส่งข้อมูลจะส่งไปยังเฉพาะกลุ่มที่ต้องการรับข้อมูลเท่านั้น
คำถามท้ายบท
1.Home Network เรียกอีกอย่างว่าอะไร   ก . เครือข่ายภายในบ้าน ข . เครือข่ายขนาดใหญ่ ค . เครือข่ายในระบบ
2.Home Network  หรือเครือข่ายภายในบ้าน เป็นระบบประเภทอะไร ก . WAN (Wide Area Network) ข . LAN (Local Area Network ค . MAN (Metropolitan Area Network)
3. ระบบเครือข่ายสามารถแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ก . 3  ประเภท ข . 4   ประเภท ค . 5   ประเภท
4. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนกลุ่มข่าวสารจากโปรโตคอลแบบ  หนึ่งไปเป็นกลุ่มข่าวสารเป็นอุปกรณ์ชื่ออะไร ก .  อิมูเลเตอร์   (Emulator) ข .   เกตเวย์  ( Gateway) ค .  เราเตอร์  ( Router)
5. การเชื่อมต่อแบบ   BUS   จะมีสายหลักกี่เส้น ก .1   เส้น ข .10   เส้น ค .11   เส้น
เฉลย ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไปข้อ 4 ไปข้อ 5 ไปบทที่ 5
ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
 
ความหมาย การสั่งการให้คอมพิวเตอร์กระทำตามขั้นตอนและแผนงานต่าง ๆ ตามเงื่อนไขและข้อตกลงที่ได้ดำเนินการหรือจัดเตรียมไว้แล้ว ซอฟต์แวร์จึงเป็นผลที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามกรอบของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
ความสำคัญของระบบซอฟต์แวร์ การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำงานให้กับเราได้มากมาย เพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทำบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋ว คอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญมาก และเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่ทำให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตาม ที่ต้องการ
ประเภทของซอฟต์แวร์ ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ คือ  1. ซอฟต์แวร์ระบบ  ( system software)  2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์  ( application software
 
1. ซอฟต์แวร์ระบบ   ( System Software)  คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยความจำ และหน่วยประมวลผล ในการทำงานของคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีการดำเนินงานกับอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็น ซอฟต์แวร์ระบบเพื่อใช้ในการจัดการระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย
[object Object],[object Object],[object Object]
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็น - ระบบปฏิบัติการ - ตัวแปลภาษา ซอฟต์แวร์ทั่งสองประเภทนี้ทำให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้งานได้ง่ายขึ้น
1. ระบบปฏิบัติการ  หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส  ( Operating System  :  OS ) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่นดอส  ( Disk Operating System  :  DOS )  วินโดวส์  ( Windows )  โอเอสทู  ( OS / 2 )  ยูนิกซ์  ( UNIX )
1. ดอส  เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์  2. วินโดวส์  เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตำแหน่งเพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
3. โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทำงานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์
[object Object],[object Object]
[object Object]
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูลMeaw Sukee
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศsongpop
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1Meaw Sukee
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2sasima
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศWeek 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 

What's hot (20)

ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่  2.1ใบงานที่  2.1
ใบงานที่ 2.1
 
Basic it
Basic itBasic it
Basic it
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
การใช้งานอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน.Ppt2
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศWeek 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 

Similar to งานPowerpoint ลูกศร2

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารthaweesaph baikwang
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยsomdetpittayakom school
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ชื่อ นาย ธนพล พาที ปวช 2
ชื่อ นาย ธนพล  พาที  ปวช 2ชื่อ นาย ธนพล  พาที  ปวช 2
ชื่อ นาย ธนพล พาที ปวช 2dewallstar
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 

Similar to งานPowerpoint ลูกศร2 (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
นาย ศุภกร ม่วงจุ้ย
 
(บทที่ 2)
(บทที่ 2)(บทที่ 2)
(บทที่ 2)
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
ชื่อ นาย ธนพล พาที ปวช 2
ชื่อ นาย ธนพล  พาที  ปวช 2ชื่อ นาย ธนพล  พาที  ปวช 2
ชื่อ นาย ธนพล พาที ปวช 2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

More from amphaiboon

งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1amphaiboon
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 

More from amphaiboon (20)

งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5งานนำเสนอบทที่5
งานนำเสนอบทที่5
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
 
งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3งานนำเสนอบทที่3
งานนำเสนอบทที่3
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 

งานPowerpoint ลูกศร2

  • 1.  
  • 2.  
  • 3.  
  • 4.  
  • 5.  
  • 6.  
  • 8.  
  • 10.  
  • 11.  
  • 14. บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
  • 15.     ความหมายของข้อมูล สารสนเทศ   ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล ( Data) ให้เป็นสารสนเทศ ( Information) และนำไปสู่ความรู้ ( Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้
  • 16. ความสำคัญของข้อมูลและสารสนเทศ   ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึงมีการนำเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการดำเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือองค์การจึงดำเนินการอย่างจริงจังให้ได้มาซึ่งข้อมูล และปกป้องดูแลข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การโจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงเป็นปัญหา
  • 17. ประเภทของข้อมูล                      ถ้าจำแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ             1. ข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data)   หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ และการจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก             2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำนวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการนำสินค้าเข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น                                                                                              
  • 18. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีด้านการสื่อสารโทรคมนาคมมาช่วยในการรวบรวม ประมวลผล สรุป จัดเก็บ และเผยแพร่ สารสนเทศที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวเลข ตัวอักษร ภาพ และเสียง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 19. ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)
  • 20. ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ , อินเทอร์เน็ต , อีเมล์ ทำให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง
  • 21. ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร ( Communication networks) ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำนวนการใช้เครือข่าย จำนวนผู้เชื่อมต่อ และจำนวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก
  • 22. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 . เทคโนโลยีด้านการรับข้อมูล ( SensingTechnology ) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้เราสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่อยู่รอบตัวเราแล้วเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องสแกนภาพ ( image scanners ) เครื่องอ่านรหัสแถบ ( bar code scanners ) และ อุปกรณ์รับสัญญาณ ( Sensor s) เป็นต้น  
  • 23. 2. เทคโนโลยีการสื่อสาร (CommunicationTec. hnology) เช่น โทรสาร โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่ายท้องถิ่น (LAN)   3 . เทคโนโลยีวิเคราะห์ (Analyzing Technology) ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ ต่าง ๆ ทั้งส่วนที่เป็น Hardware และ Software 4 .  เทคโนโลยีการแสดงผล (Display Technology)
  • 24. วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในปัจจุบันนี้เราสามารถติดต่อสื่อสารกับคนทั่วโลกได้สะดวกมาก แต่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ การสื่อสารได้มีวิวัฒนาการมาหลายยุคหลายสมัย ผู้เขียนจะกล่าวถึงวิวัฒนาการของการสื่อสารตั้งแต่ยุคแรกของมนุษย์ดังนี้ เชื่อกันว่าการสื่อสารระยะไกลของ มนุษย์ในยุคแรกๆ น่าจะเป็นการการตีเกราะ เคาะไม้ การส่งเสียงต่อเป็นทอดๆ และการส่งสัญญาณควัน
  • 25. รหัสมอร์ส แซมมวลมอร์ส นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน เป็นคนแรกที่คิดวิธีการสื่อสารสมัยใหม่ ( ในตอนนั้น ) โดยการส่งสัญญาณไปตามสาย  มอร์สได้กำหนดรหัสขึ้นมาใช้ในการสื่อสาร  ด้วยการส่งกระแสไฟฟ้าให้ไหลไปตามสายไฟฟ้า  และกำหนดให้มีจังหวะของการไหลยาวบ้างสั้นบ้างเป็นจังหวะ    แล้วนัดหมายกับฝ่ายรับปลายทางว่ารหัสแต่ละตัวหมายถึงตัวอักษรตัวใดรหัสที่ใช้ในการส่งโทรเลขเรียกว่า รหัสมอร์ส
  • 26. โทรศัพท์         ต่อมาเมื่อนักวิทยาศาสตร์สามารถแปลงเสียงพูดให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าได้  อเล็กซานเดอร์  เกรแฮม  เบลล์ (Alexander  Graham Bel)  จึงได้ประดิษฐ์โทรศัพท์ขึ้นมา  และโทรศัพท์จะมีการเปลี่ยนสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสายโทรศัพท์    แล้วโทรศัพท์ปลายทางจะทำหน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้านั้นกลับมาเป็นสัญญาณเสียงเหมือนเดิม   และเรียกการสื่อสารในลักษณะนี้ว่าโทรศัพท์แบบใช้สายหรือโทรศัพท์บ้าน 
  • 27. การประชุมทางไกล       การสื่อสารในปัจจุบันช่วยให้การดำเนินชีวิตคนเรามีความสะดวก สบายมากขึ้น ( ไม่ได้หมายความว่าคนในปัจจุบันมีความสุขมากขึ้น ) ปัจจุบันผู้บริหารหน่วยงานต่างๆที่มีเครือข่ายอยู่ทั่วประเทศสามารถประชุมกันได้ โดยไม่ต้องมาเข้าห้องประชุมเดียวกัน
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 34. 1. ข้อมูลหมายถึงอะไร ก . ข้อมูลดิบที่ยังไม่ได้ผ่านการประเมิน ข . ข้อมูลที่ผ่านการประเมินแล้ว ค . ข้อความที่ถูกบันทึกไว้
  • 35. 2. ข้อใดไม่ใช่รูปแบบ การสื่อสารระยะไกลของมนุษย์ในยุคแรก ก . ตีเกราะ เคาะไม้ ข . การส่งเสียงเป็นทอดๆ ค . การใช้โทรเลข
  • 37. 4. ข้อใดไม่ใช่สิ่งสำคัญในการพัฒนากิจกรรมของมนุษย์ ก . การสื่อสารโทรคมนาคม ข . เทคโนโลยีสารสนเทศ ค . ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์มีราคาถูกล ง
  • 38. 5. ใครคือผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์คนแรก ก . อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ ข . แซม มวล มอส ค . อลิตโตเติ้ล
  • 39. ไปข้อที่ 2 ไปข้อที่ 3 ไปข้อที่ 4 ไปข้อที่ 5 ไปบทที่ 2
  • 40. ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
  • 41. ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
  • 43. รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้ดังนี้ เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังนี้ต่อไปนี้ คือ
  • 44. 1. เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ , กล้องดิจิตอล , กล้องถ่ายวีดีทัศน์ , เครื่องเอกซเรย์ ฯลฯ ภาพถ่ายทางอากาศ เครื่องเอ็กซเรย์ กล้องดิจิตอล
  • 45. 2. เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล จะเป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก , จานแม่เหล็ก , จานแสงหรือจานเลเซอร์ , บัตรเอทีเอ็ม ฯลฯ จานแม่เหล็ก บัตรเอทีเอ็ม
  • 46. 3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์
  • 47. 4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์ , จอภาพ , พล็อตเตอร์ ฯลฯ เครื่องพิมพ์ จอภาพ พล็อตเตอร์
  • 48. 5. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร , เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม
  • 49. 6. เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ , วิทยุกระจายเสียง , โทรเลข , เทเลกซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใกล้และไกล โทรเลข โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง
  • 50. พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พฤติกรรม หมายถึง  กิริยาของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมาเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นทั้งสิ่งเร้าภายใน  และสิ่งเร้าภายนอก เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้
  • 51. พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การแสดงออกทางความคิดและความรู้สึกในการรูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภทที่นำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บสร้างและเผยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษร และตัวเลข
  • 52. พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถแบ่งกลุ่มได้ 3 กลุ่มดังนี้ 1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (business) จะเน้นการใช้งานทางด้านธุรกิจโดยเฉพาะโดยมุ่งหวังการทำงานที่มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นกว่าการใช้แรงคนเช่น ใช้สำหรับการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองาน รวมถึงการบันทึกนัดหมายต่างๆซึ่งในปัจจุบันมีผู้ผลิตซอฟแวร์กลุ่มนี้เป็นจำนวนมาก
  • 53. 2. กลุ่มการใช้งานในด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (graphic and multimedia) เป็นกลุ่มซอฟแวร์ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยสำหรับการจัดการทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดียให้เป็นไปโดยง่ายมีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบงานต่างๆ เช่น ตกแต่งภาพ วาดรูป ตัดแต่งเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหวรวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซด์
  • 54. 3. กลุ่มสำหรับใช้งานบนเว็บไซด์และการติดต่อสื่อสา (web and communications) การเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมสำหรับตรวจเช็คอีเมล์ การท่องเว็บไซด์ การจัดการดูแลเว็บรวมถึงการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย
  • 55. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่ มีอุปกรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์ ( Video Projector) มีเครื่องคอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของสื่อที่นำมาใช้ในด้านการเรียนการสอน ก็มีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนำมาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน อิเล็กทรอนิกส์บุค วิดีโอเทลเลคอนฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์ การสืบค้นข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
  • 56. การนำมาประยุกต์ใช้มีดังนี้ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนำเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอน ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่าบทเรียน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสื่อประสม ( Multimedia) ซึ่งหมายถึงนำเสนอได้ทั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ กับบทเรียนได้ตลอด จนมีผลป้อนกลับเพื่อให้ผู้เรียนรู้ บทเรียนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรียนนั้นๆ
  • 57.   - การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก เป็นการจัดการเรียน ที่มีสภาพการเรียนต่างไปจากรูปแบบเดิม การเรียนการสอนแบบนี้ อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการนำเอาสื่อการเรียนการสอน ที่เป็นเทคโนโลยี มาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดการเรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล และเชื่อมโยงเครือข่าย ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกสถานที่และทุกเวลา การจัดการเรียนการสอนลักษณะนี้ มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ ( Web-based Instruction) การฝึกอบรมผ่านเว็บ ( Web-based Trainning) การเรียนการสอนผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ ( www-based Instruction) การสอนผ่านสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ ( e-learning) เป็นต้น
  • 58.   - อิเล็กทรอนิกส์บุค คือการเก็บข้อมูลจำนวนมากด้วยซีดีรอม หนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลตัวอักษรได้มากถึง 600 ล้านตัวอักษร ดังนั้นซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสือ หรือเอกสารได้มากกว่าหนังสือหนึ่งเล่ม และที่สำคัญคือการใช้กับคอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถเรียกค้นหาข้อมูลภายในซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ดัชนี สืบค้นหรือสารบัญเรื่อง ซีดีรอมจึงเป็นสื่อที่มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างยิ่ง เพราะในอนาคตหนังสือต่าง ๆ จะจัดเก็บอยู่ในรูปซีดีรอม และเรียกอ่านด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่าอิเล็กทรอนิกส์บุค ซีดีรอมมีข้อดีคือสามารถจัดเก็บ ข้อมูลในรูปของมัลติมีเดีย และเมื่อนำซีดีรอมหลายแผ่นใส่ไว้ในเครื่องอ่านชุดเดียวกัน ทำให้ซีดีรอมสามารถขยายการเก็บข้อมูลจำนวนมากยิ่งขึ้นได้  
  • 59.   - วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ หมายถึงการประชุมทางจอภาพ โดยใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย เป็นการประชุมร่วมกันระหว่างบุคคล หรือคณะบุคคลที่อยู่ต่างสถานที่ และห่างไกลกันโดยใช้สื่อทางด้านมัลติมีเดีย ที่ให้ทั้งภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสียง และข้อมูลตัวอักษร ในการประชุมเวลาเดียวกัน และเป็นการสื่อสาร 2 ทาง จึงทำให้ ดูเหมือนว่าได้เข้าร่วมประชุมร่วมกันตามปกติ ทำให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ผ่านทางจอภาพ โทรทัศน์และเสียง นักเรียนในห้องเรียน ที่อยู่ห่างไกลสามารถเห็นภาพและเสียง ของผู้สอนสามารถเห็นอากับกิริยาของ ผู้สอน เห็นการเคลื่อนไหวและสีหน้าของผู้สอนในขณะเรียน
  • 60. - ระบบวิดีโอออนดีมานด์ เป็นระบบใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมนำมาใช้ ในหลายประเทศเช่น ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทำให้ผู้ชมตามบ้านเรือนต่าง ๆ สามารถเลือกรายการโทรทัศน์ ที่ตนเองต้องการชมได้โดยเลือกตามรายการ และเลือกชมได้ตลอดเวลา วิดีโอออนดีมานด์ เป็นระบบที่มีศูนย์กลาง การเก็บข้อมูลวีดีทัศน์ไว้จำนวนมาก โดยจัดเก็บในรูปแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ ( Video Server) เมื่อผู้ใช้ต้องการเลือกชมรายการใด ก็เลือกได้จากฐานข้อมูลที่ต้องการ ระบบวิดีโอ ออนดีมานด์จึงเป็นระบบที่จะนำมาใช้ ในเรื่องการเรียนการสอนทางไกลได้ โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ในสิ่งที่ตนเองต้องการเรียนหรือสนใจได้
  • 61. - การสืบค้นข้อมูล ปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงระบบการสืบค้นข้อมูลกันมาก แม้แต่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก็มีการประยุกต์ใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ในการสืบค้นข้อมูล จนมีโปรโตคอลชนิดพิเศษที่ใช้กัน คือ World Wide Web หรือเรียกว่า www. โดยผู้ใช้สามารถเรียกใช้โปรโตคอล http เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ ซึ่งเป็นฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ไฮเปอร์เท็กซ์มีลักษณะเป็นแบบมัลติมีเดีย สามารถสร้างเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ที่เก็บได้ทั้งภาพ เสียง และตัวอักษร มีระบบการเรียกค้นที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้โครงสร้างดัชนีแบบลำดับชั้นภูมิ โดยทั่วไป จะเป็นฐานข้อมูลที่มีดัชนีสืบค้นแบบเดินหน้า ถอยหลัง และบันทึกร่องรอยของการสืบค้นไว้ โปรแกรมที่ใช้ในการสร้างไฮเปอร์เท็กซ์มีเป็นจำนวนมาก ส่วนโปรแกรมที่มีชื่อเสียงได้แก่ HTML Compossor FrontPage Marcromedia DreaWeaver เป็นต้น ปัจจุบันเราใช้วิธีการสืบค้นข้อมูล เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบในการทำเอกสารรายงานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
  • 62. - อินเทอร์เน็ต คือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายย่อย และเครือข่ายใหญ่สลับซับซ้อนมากมาย เชื่อมต่อกันมากกว่า 300 ล้านเครื่องในปัจจุบัน โดยใช้ในการติดต่อสื่อสาร ข้อความรูปภาพ เสียงและอื่น ๆ โดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีผู้ใช้งานกระจายกันอยู่ทั่วโลก ปัจจุบันได้มีการนำระบบอินเทอร์เน็ต เข้ามาใช้ในวงการศึกษากันทั่วโลก ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนเป็นอย่างมาก  
  • 64. 2. ข้อใดไม่ใช่เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร ก . เครื่องถ่ายเอกสาร ข . เครื่องถ่ายไมโคฟิมล์ ค . จานแม่เหล็ก
  • 66. 4. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนำเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอน เรียกว่าบทเรียนอะไร ก .CAI ข .e-learning ค .Video Server
  • 67. 5. อิเล็กทรอนิกส์บุค คืออะไร ก . ฐานข้อมูลเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ข . การสืบค้นข้อมูลไปใช้ประกอบการทำเอกสาร ค . การเก็บข้อมูลจำนวนมากด้วยซีดีรอม
  • 68. เฉลย ไปบทที่ 3 ไปข้อที่ 2 ไปข้อที่ 3 ไปข้อที่ 4 ไปที่ข้อ5
  • 69. ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
  • 70. ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
  • 73. การสื่อสารข้อมูล ( Data Communications) การสื่อสารข้อมูล หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน
  • 74. วิธีการส่งข้อมูล วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาอยู่ในรูปที่มนุษย์สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจเกิดอุปสรรค์ขึ้นก็คือสิ่งรบกวน ( Noise) จากภายนอกทำให้ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะทำให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวนเหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทำให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด
  • 75. องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจำแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร ( source) อาจจะเป็นสัญญาณต่างๆเช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรือท่าทางต่างๆก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสารจัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน
  • 76.   2. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร ( sink ) จะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้นๆถ้าผู้รับสาร หรือจุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ  กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง
  • 77. 3. ช่องสัญญาณ (channel) ช่องสัญญาณหมายถึง สื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่านอาจจะเป็นอากาศ สายนำสัญญาณต่างๆหรือแม้กระทั่งของเหลว เช่น น้ำ น้ำมัน เป็นต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง
  • 78. 4. การเข้ารหัส ( encoding)      เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมายจึงมีความจำเป็นต้องแปลง ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
  • 79. 5. การถอดรหัส ( decoding ) การถอดรหัส หมายถึง การที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
  • 80. 6. สัญญาณรบกวน ( nois e)   เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมุติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาดตำแหน่ง ที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร ในทางปฏิบัติ มักจะใช้ วงจรกรอง ( filter) กรองสัญญาณแต่ต้นทาง เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ เช่นการเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็นต้น
  • 82. 1. ข้อใดเป็นความหมายของ decoding ก . การเข้ารหัส ข . การถอดรหัส ค . สัญญาณรบกวน
  • 83. 2. ข้อใดเป็นความหมายของช่องสัญญาณ ก . สื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทาง ข . การแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ค . การสื่อสารที่มีคุณภาพดี
  • 84. 3 . กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสารเป็นความหมายของข้อใด ก . การสื่อสารข้อมูล ข . ช่องสัญญาณ ค . การเข้ารหัส
  • 86.
  • 87. เฉลย ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไปข้อ 4 ไปข้อ 5 ไปบทที่ 4
  • 88. ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
  • 89. ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
  • 92. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือระบบ Network คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้ " เครือข่ายนั้นมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเครื่อง เพื่อใช้งานในบ้านหรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก ส่วน Home Network หรือเครือข่ายภายในบ้าน ซึ่งเป็นระบบ LAN ( Local Area Network)
  • 93. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กๆ 1. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน หมายถึง การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องพิมพ์ร่วมกัน กล่าวคือ มีเครื่องพิมพ์เพียงเครื่องเดียว ทุกคนในเครือข่ายสามารถใช้เครื่องพิมพ์นี้ได้ 2. การแชร์ไฟล์ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกติดตั้งเป็นระบบ เน็ตเวิร์กแล้ว การใช้ไฟล์ข้อมูลร่วมกันหรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ทำได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
  • 94. 3. การติดต่อสื่อสาร โดยคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเป็นระบบ Network สามารถติดต่อพูดคุยกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น หรือการใช้อีเมล์ภายในเครือข่าย Home Network หรือ Home Office จะเกิดประโยชน์นี้อีกมากมาย 4. การใช้อินเทอร์เน็ตร่วมกัน คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อในระบบ Network สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ทุกเครื่องโดยมีโมเด็มตัวเดียว ไม่ว่าจะเป็นแบบอนาล็อกหรือแบบดิจิตอลอย่าง ADSL ยอดฮิตในปัจจุบัน
  • 95. ระบบเครือข่ายสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเ ภท 1. LAN (Local Area Network ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่นเป็น Network ในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ คือจะเป็นระบบเครือข่ายที่อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือต่างอาคาร ในระยะใกล้ๆ
  • 96. 2. MAN (Metropolitan Area Network) ระบบเครือข่ายเมืองเป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อกันในเมือง เช่น เครื่องเวิร์กสเตชั่นอยู่ที่สุขุมวิท มีการติดต่อสื่อสารกับเครื่องเวิร์กสเตชั่นที่บางรัก
  • 97. 3. WAN (Wide Area Network) ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น World Wide ของระบบ เน็ตเวิร์ก โดยจะเป็นการสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก จะต้องใช้ มีเดีย ( Media) ในการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย ( คู่สายโทรศัพท์ dial-up / คู่สายเช่า Leased line / ISDN) (lntegrated Service Digital Network สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพในเวลาเดียวกัน )
  • 99. Peer To Peer เป็นระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนระบบเครือข่ายมีฐานเท่าเทียมกัน คือทุกเครื่องสามารถจะใช้ไฟล์ในเครื่องอื่นได้ และสามารถให้เครื่องอื่นมาใช้ไฟล์ของตนเองได้เช่นกัน มีการทำงาน แบบดิสทริบิวท์ ( Distributed System) โดยจะกระจายทรัพยากรต่างๆ ไปสู่เวิร์กสเตชั่นอื่นๆ แต่จะมีปัญหาเรื่องการรักษาความปลอดภัย เนื่องจากข้อมูลที่เป็นความลับจะถูกส่งออกไปสู่คอมพิวเตอร์อื่นเช่นกันโปรแกรมคือ Windows for Workgroup และ Personal Netw are
  • 100. วงจรแบบ Peer To Peer
  • 101. Client / Server เป็นระบบการทำงานแบบ Distributed Processing หรือการประมวลผลแบบกระจาย โดยจะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอ็นต์ แบ่งการคำนวณของโปรแกรมแอพพลิเคชั่น มาทำงานบนเครื่องไคลเอ็นต์ด้วย และเมื่อใดที่เครื่องไคลเอ็นต์ต้องการผลลัพธ์ของข้อมูลบางส่วน จะมีการเรียกใช้ไปยัง เครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้นำเฉพาะข้อมูลบางส่วนเท่านั้นส่งกลับ มาให้เครื่องไคลเอ็นต์เพื่อทำการคำนวณข้อมูลนั้นต่อไป
  • 102. วงจรแบบ Client / Serve r
  • 104. ระบบ Bus การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก 1 เส้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอ็นต์ทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อสายเคเบิ้ลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกมองเป็น Node เมื่อเครื่องไคลเอ็นต์เครื่องที่หนึ่ง (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง ( Node C) จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิ้ลนี้ เมื่อเครื่องที่ Node C ได้รับข้อมูลแล้วจะนำข้อมูล ไปทำงานต่อทันที
  • 106. แบบ Star การเชื่อมต่อแบบสตาร์นี้จะใช้อุปกรณ์ Hub เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ โดยที่ทุกเครื่องจะต้องผ่าน Hub สายเคเบิ้ลที่ใช้ส่วนมากจะเป็น UTP และ Fiber Optic ในการส่งข้อมูล Hub จะเป็นเสมือนตัวทวนสัญญาณ ( Repeater) ปัจจุบันมีการใช้ Switch เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อซึ่งมีประสิทธิภาพการทำงานสูงกว่า
  • 107. แบบ star
  • 108. แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล IBM กันมาก เป็นเครื่องข่าย Token Ring ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ IBM กับเครื่องลูกข่ายบนระ บบ
  • 109. แบบ ring
  • 110. แบบ Hybrid เป็นการเชื่อมต่อที่ผสมผสานเครือข่ายย่อยๆ หลายส่วนมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นำเอาเครือข่ายระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เหมาะสำหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ Hybrid Network นี้จะมีโครงสร้างแบบ Hierarchical หรือ Tre ที่มีลำดับชั้นในการทำงาน
  • 112. ชนิดของเครือข่ายมี 3 แบบคื อ 1. เครือข่ายภายใน หรือ แลน ( Local Area Network: LAN ) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน 2. เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน ( Wide Area Network: WAN ) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร 3. เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน ( Metropolitan area network   : M AN )
  • 113. ยังมีอีกสองเครือข่ายที่ยังมีเพิ่มเติมอีกคือ - เครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน ( Controller area network)   : CAN ) เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ ( Micro Controller unit: MCU ) - เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน ( Personal area network)   : PAN ) เป็นเครือข่ายไร้สาย
  • 114. อุปกรณ์เครือข่าย เซิร์ฟเวอร์ ( Server) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ มีฮาร์ดดิกส์ความจำสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย .
  • 115. ไคลเอนต์ ( Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซิร์ฟเวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่าย สวิตซ์ ( Switch) คืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทำหน้าที่ในเรเยอร์ที่ 2 และทำหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทำให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน
  • 116. ฮับ ( HUB) หรือ เรียก รีพีทเตอร์ ( Repeater) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทำให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง
  • 117. เราเตอร์ ( Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ใน เลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ ( Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว ( Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกำหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ้ล ( Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือข่ายที่ให้โพรโทคอลต่างกันได้
  • 118. บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ Data Link Layer
  • 119. เกตเวย์ ( Gateway) เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี ( PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช ( MAC) เป็นต้น
  • 121. 1. คอมพิวเตอร์แม่ข่าย         คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร ( Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น
  • 122. 2. ช่องทางการสื่อสาร          ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ ( Receiver) และผู้ส่งข้อมูล ( Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สำหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม ( UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น  
  • 123. 3. สถานีงาน          สถานีงาน ( Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง
  • 124. 4. อุปกรณ์ในเครือข่าย         การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย ( Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้  
  • 125. 5. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย             ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทำหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนำโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทำงานในระบบเครือข่ายอีกด้วย ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Uni
  • 126. อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์ โมเด็ม (MODEM) MODEM มาจากคำเต็มว่า Modulator – DEModulator ทำหน้าที่แปลงสัญญาณข้อมูลดิจิตอล ที่ได้รับจากเครื่องส่งหรือคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบอนาลอกก่อนทำการส่งไปยังปลายทางต่อไป โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ และเมื่อส่งถึงปลายทางก็จะมีโมเด็มทำ  
  • 127. มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) วิธีการเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่างผู้รับและผู้ส่งปลายทางที่ง่ายที่สุดคือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด ( Point to Point) แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงและใช้งานไม่เต็มที่ จึงมีวิธีการเชื่อมต่อที่ยุ่งยากขึ้น คือการเชื่อมต่อแบบหลายจุดซึ่งใช้สายสื่อสารเพียงเส้น 802.3
  • 128. คอนเซนเตเตอร์ (Concentrator) คอนเซนเตเตอร์เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถเพิ่มสายหรือช่องทางการส่งข้อมูลได้มากขึ้น การส่งข้อมูลจะเป็นแบบอซิงโครนัส
  • 129. คอนโทรลเลอร์ ( Controller) คอนโทรลเลอร์เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ที่ส่งข้อมูลแบบอซิงโครนัส ที่สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงได้ดี การทำงานจะต้องมีโปรโตคอลพิเศษสำหรับกำหนดวิธีการรับส่งข้อมูล มีบอร์ดวงจรไฟฟ้าและซอฟต์แวร์สำหรับคอมพิวเตอร์
  • 130. ฮับ (HUB) ฮับเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่เช่นเดียวกับมัลติเพล็กซ์เซอร์ ซึ่งนิยมใช้กับระบบเครือข่ายท้องถิ่น ( LAN) มีราคาต่ำ ติดต่อสื่อสารข้อมูลตามมาตรฐาน IEEE 802.3
  • 131. ฟรอนต์ – เอ็นโปรเซสเซอร์ FEP (Front-End Processor) FEP เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างโฮสต์คอมพิวเตอร์ หรือมินิคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่ายสำหรับสื่อสารข้อมูล เช่น โมเด็ม มัลติเล็กซ์เซอร์ เป็นต้น FEP เป็นอุปกรณ์ทีมีหน่วยความจำ ( RAM) และซอฟต์แวร์สำหรับควบคุมการทำงานเป็นของตัวเองโดยมีหน้าที่หลักคือ ทำหน้าที่แก้ไขข่าวสาร เก็บข่าวสาร เปลี่ยนรหัสรวบรวมหรือกระจายอักขระ ควบคุมอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล จัดคิวเข้าออกของข้อมูล ตรวจสอบ
  • 132. อิมูเลเตอร์ (Emulator) อิมูเลเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนกลุ่มข่าวสารจากโปรโตคอลแบบหนึ่งไปเป็นกลุ่มข่าวสาร ซึ่งใช้โปรโตคอลอีกแบบหนึ่ง แต่จะเป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์หรือเป็นโปรแกรมซอฟต์แวร์ก็ได้ บางครั้งอาจจะเป็นทั้ง 2 อย่าง โดยทำให้คอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้ามานั้นดูเหมือนเป็นเครื่องเทอร์มินัลหนึ่งเครื่อง โฮสต์หรือมินิคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนิยมนำเครื่อง PC มาใช้เป็นเทอร์มินัลของเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพราะประหยัดกว่าและเมื่อไรที่ไม่ใช้ติดต่อกับมินิหรือเมนแฟรมก็สามารถใช้เป็น PC ทั่วไปได้
  • 133. เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีหน้าที่หลักคือ ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่าซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน สามารถสื่อสารกันได้เสมือนกับเป็นเครือข่ายเดียวกัน โดยทั่วไปแล้วระบบเครือข่ายแต่ละเครือข่ายอาจจะแตกต่างกันในหลายกรณี เช่น ลักษณะการเชื่อมต่อ ( Connectivity) ที่ไม่เหมือนกัน โปรโตคอลที่ใช้สำหรับรับส่งข้อมูลต่างกัน เป็นต้น
  • 134. บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ IWU (Inter Working Unit) ที่ใช้สำหรับเชื่อมเครือข่ายท้องถิ่น ( Local Area Network หรือ LAN) 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะใช้โปรโตคอลที่เหมือนกันหรือต่างกันก็ได้
  • 135. เราเตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกัน ซึ่งอาจจะเป็นเครือข่ายเดียวกันหรือข้ามเครือข่ายกัน โดยการเชื่อมกันระหว่างหลายเครือข่ายแบบนี้เรียกว่า เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) โดยเครือข่ายแต่ละเครือข่ายจะเรียกว่า เครือข่ายย่อย ( Subnetwork) ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้เชื่ออมต่อระหว่างเครือข่าย เรียกว่า IWU (Inter Working Unit) ได้แก่ เราเตอร์และบริดจ์
  • 136. รีพีตเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่งสัญญาณซ้ำ เพื่อส่งสัญญาณต่อไปนี้ในระยะไกลป้องกันการขาดหายของสัญญาณ ซึ่งรูปแบบของเครือข่ายแต่ละแบบรวมทั้งสายสัญญาณที่ใช้เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางแต่ละชนิดจะมีข้อจำกัดของระยะทางในการส่ง ดังนั้นเมื่อต้องการส่งสัญญาณให้ไกลกว่าปกติต้องเชื่อมต่อกับรีพีตเตอร์ดังกล่าว เพื่อทำให้สามารถส่งสัญญาณ ได้ไกลยิ่งขึ้น
  • 138. Unicast ในโหมดการสื่อสารแบบ Unicast เป็นโหมดการรับส่งข้อมูลจากโหมดหนึ่งไปยังโหมดหนึ่งในลักษณะ 1 ต่อ 1 หรือเรียกว่า One-to-One ในการส่งลักษณะนี้ ตัวค้นหาเส้นทาง ( Router) ใช้โพรโทคอล ในการค้นหาเส้นทางระหว่างโหมด เนื่องจากการสื่อสารแบบ Unicast เป็นการส่งข้อมูลระหว่างโหมดแบบง่าย ๆ จึงไม่สามารถรองรับการส่งข้อมูลระหว่างโหมดได้เมื่อมีจำนวนโหมดในการรับส่งเพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดปัญหาการส่งข้อมูลในเครือข่ายมากเกินไป ( Network Load) ใช้ในเฉพาะ LAN ซึ่งจัดการได้ดีกว่า W AN
  • 139. Multicast ในโหมดการสื่อสารข้อมูลแบบ Multicast เป็นการส่งข้อมูลจากโหมดต้นทางหนึ่งไปยังกลุ่มของโหมดปลายทางเฉพาะกลุ่มที่มีการกำหนดแบบ 1 ต่อกลุ่มเฉพาะ หรือ One-to-N ซึ่ง N ในที่นี้อยู่ตั้งแต่ 0 ถึง ทั้งหมด การส่งข้อมูลจะส่งไปยังเฉพาะกลุ่มที่ต้องการรับข้อมูลเท่านั้น
  • 141. 1.Home Network เรียกอีกอย่างว่าอะไร ก . เครือข่ายภายในบ้าน ข . เครือข่ายขนาดใหญ่ ค . เครือข่ายในระบบ
  • 142. 2.Home Network หรือเครือข่ายภายในบ้าน เป็นระบบประเภทอะไร ก . WAN (Wide Area Network) ข . LAN (Local Area Network ค . MAN (Metropolitan Area Network)
  • 144. 4. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนกลุ่มข่าวสารจากโปรโตคอลแบบ หนึ่งไปเป็นกลุ่มข่าวสารเป็นอุปกรณ์ชื่ออะไร ก . อิมูเลเตอร์ (Emulator) ข . เกตเวย์ ( Gateway) ค . เราเตอร์ ( Router)
  • 145. 5. การเชื่อมต่อแบบ BUS จะมีสายหลักกี่เส้น ก .1 เส้น ข .10 เส้น ค .11 เส้น
  • 146. เฉลย ไปข้อ 2 ไปข้อ 3 ไปข้อ 4 ไปข้อ 5 ไปบทที่ 5
  • 147. ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
  • 148. ย้อนกลับข้อ 1 ย้อนกลับข้อ 2 ย้อนกลับข้อ 3 ย้อนกลับข้อ 4 ย้อนกลับข้อ 5
  • 149.  
  • 150. ความหมาย การสั่งการให้คอมพิวเตอร์กระทำตามขั้นตอนและแผนงานต่าง ๆ ตามเงื่อนไขและข้อตกลงที่ได้ดำเนินการหรือจัดเตรียมไว้แล้ว ซอฟต์แวร์จึงเป็นผลที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามกรอบของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
  • 151. ความสำคัญของระบบซอฟต์แวร์ การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำงานให้กับเราได้มากมาย เพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทำบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋ว คอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญมาก และเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่ทำให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตาม ที่ต้องการ
  • 152. ประเภทของซอฟต์แวร์ ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ ( system software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( application software
  • 153.  
  • 154. 1. ซอฟต์แวร์ระบบ ( System Software) คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยความจำ และหน่วยประมวลผล ในการทำงานของคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องมีการดำเนินงานกับอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็น ซอฟต์แวร์ระบบเพื่อใช้ในการจัดการระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย
  • 155.
  • 156. ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็น - ระบบปฏิบัติการ - ตัวแปลภาษา ซอฟต์แวร์ทั่งสองประเภทนี้ทำให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้งานได้ง่ายขึ้น
  • 157. 1. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส ( Operating System : OS ) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่นดอส ( Disk Operating System : DOS ) วินโดวส์ ( Windows ) โอเอสทู ( OS / 2 ) ยูนิกซ์ ( UNIX )
  • 158. 1. ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 2. วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างที่แสดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตำแหน่งเพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
  • 159. 3. โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทำงานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิกเช่นเดียวกับวินโดวส์
  • 160.
  • 161.