SlideShare a Scribd company logo
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
1
เรขาคณิตวิเคราะห์
และภาคตัดกรวย
ในเรื่องเรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย เปนบทที่เอาไปประยุกตใชตอในหลายๆเรื่องที่เกี่ยวกับ
รูปทรงตางๆในวิชาตางๆทั้ง ฟสิกส หรือคณิตศาสตร นองๆหลายคนมีปญหากับบทนี้นะครับวาคอนขางยาก
เนื่องจากสูตรเยอะ ประยุกตคอนขางมาก และทําขอสอบไมทัน พี่มั่นใจวาถาตั้งใจเรียนซะหนอยปญหาเหลานี้
นาจะหมดไปนะครับ
เรขาคณิตวิเคราะห
และภาคตัวกรวย
1. จุด
3. วงกลม
6. พาราโบลา
2. เสนตรง
1.1) ระยะหางระหวางจุดสองจุด
4. วงรี
5. ไฮเพอรโบลา
1.2) จุดกึ่งกลางระหวางจุดสองจุด
1.3) จุดที่แบงระยะทางเปนระยะ m:n
1.4) จุดตัดเสนมัธยฐานสามเหลี่ยม
2.1) ความชัน
2.2) สมการเสนตรง
2.3) ระยะหางระหวางจุดกับเสนตรง
2.4) ระยะหางระหวางเสนตรงคูขนาน
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
2
1. จุด
การเขียนชื่อจุดนิยมใชตัวอักษรใหญ เชน จุด P,จุด Q และอาจเขียนกํากับดวยคูอันดับในพิกัดฉาก ใน
รูป P(x,y) เชน Q(2,-4) ใชแทนจุดที่ชื่อ Q และ มีพิกัดเปน (2,-4)
1.1 ระยะหางระหวางจุดสองจุด
สัญลักษณที่ใชแทนระยะทางระหวางจุด P กับ Q คือ PQ หรือ PQ
2 2
2 1 2 1PQ (x x ) (y y )= − + −
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
1.2 จุดกึ่งกลางระหวางจุดสองจุด
1 2 1 2x x y y
R( , )
2 2
+ +
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
1.3 จุดที่แบงระยะทางเปนระยะ m:n
1 2 1 2mx nx my ny
R( , )
m n m n
+ +
+ +
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
Q(x2,y2)
P(x1,y1)
Q(x2,y2)
P(x1,y1)
Q(x2,y2)
P(x1,y1)
n
m
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
3
ตัวอยาง กําหนดพิกัดจุด P(1,-2) และ Q(-5,4)
ก.ระยะ PQ เทากับเทาใด
ข.ใหหาจุดกึ่งกลางของ PQ
ค.ใหหาพิกัดจุด R ที่ทําให PR : RQ 2 :3=
1.4 จุดตัดของเสนมัธยฐานสามเหลี่ยม
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
4
ตัวอยาง กําหนดสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีจุดยอดอยูที่ A(2,8), B(6,12), C(-2,-4) ถาจุด P และ Q อยูบน
ดาน AB และ BC ตามลําดับ โดยมีอัตราสวน AP : PB 1:3= และ BQ : BC 3 :4= ใหหาคาของ PQ
ตัวอยาง ขอความตอไปนี้ถูกหรือผิด
ก.จุด A(10,5), B(3,2), C(6,-5) เปนจุดมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ข.จุด D(1,2), E(-3,10), F(4,-4) อยูบนเสนตรงเดียวกัน
ค.จุด A(-2,3), B(-6,1), C(-10,-1) อยูบนเสนตรงเดียวกัน
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
5
ตัวอยาง ใหหาจุด P บนแกน X ซึ่งอยูหางจากจุด P1 (1,-2) และP2 (3,5) เปนระยะเทากัน
ตัวอยาง ถา (m,n) เปนจุดตัดของเสนมัธยฐานของสามเหลี่ยมรูปหนึ่งซึ่งมีจุดยอดอยูที่ (4,5), (-4,7)
และ (4,1) แลว คา m-n เทากับเทาใด
2. เส้นตรง
2.1 ความชัน (slope; m) ของเสนตรง
ความชันของเสนตรง คือ อัตราสวนระหวางคา y ที่เปลี่ยนแปลงไป ตอคา x ที่เปลี่ยนแปลงไป ใช
สัญลักษณ m โดยคา m อาจะเปนบวก หรือลบ หรือเปนศูนยก็ได
- ถา m>0 แสดงวา เสนตรงนี้เฉียงขึ้นทางขวา
- ถา m<0 แสดงวา เสนตรงนี้เฉียงลงทางขวา
- ถา m=0 แสดงวา เปนเสนนอนขนานแกน x
- และสําหรับเสนตั้งขนานกับแกน y นั้น m หาคาไมได (เปนอนันต)
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
6
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
2.2 สมการของเสนตรง
รูปทั่วไปที่1 ของสมการเสนตรงคือ Ax+By+C = 0 ( โดยที่ A,B,C เปนจํานวนจริงใดๆ )
รูปทั่วไปที่2 ของสมการเสนตรงในรูป y=mx+c โดย m คือความชัน และ c คือระยะตัดแกน y
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
จากสมการทั่วไปที่1 และ 2 เราสามารถสรุปไดวา
สมการรูปทั่วไปที่1ของเสนตรง สามารถจัดใหอยูในลักษณะ
A C
y x
B B
=− − จึงทําใหทราบวา คา
ความชัน m =
A
B
− และระยะตัดแกนy c=
C
B
− เสมอ
ขอควรรู
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
7
ตัวอยาง กําหนดพิกัดจุด P(1,3) และ Q(5,9)
ก .ความชันของเสนตรงที่ผานจุด P และ Q เทากับเทาใด
ข.ใหหาสมการเสนที่ตรงที่ผานจุด P และ Q
ตัวอยาง กําหนดพิกัดจุด P(1,3) และ Q(5,9) ใหหาสมการของเสนตรง L ซึ่งตั้งฉากกับ เสนตรงPQ
และผานจุดกึ่งกลางของเสนตรง PQ
2.3 ระยะหางระหวางจุดกับเสนตรง
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
8
สมการระยะหางนี้มีการแทนคาจุด (x1,y1) ลงในสมการเสนตรงในรูป Ax+By+C=0 ซึ่งจะสอดคลอง
กับความรูพื้นฐานที่วา ถาแทนคาแลวไดเทากับ 0 หมายถึงจุดๆนี้อยูบนเสนตรงพอดี จากสูตรก็จะไดระยะทาง
เทากับ 0 ดวย
2.4 ระยะหางระหวางเสนตรงคูขนานทั้งสองเสน
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
ตัวอยาง กําหนดเสนตรง L1 : 2x+3y-24 = 0
ก.ระยะทางจากจุด S(-2,5) ไปยังเสนตรง L1 เทากับเทาใด
ข.ใหหาสมการเสนตรงที่อยูหางจาก L1 เปนระยะ 2 13 หนวย
ขอสังเกต
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
9
ค.ใหหาจุดบนเสนตรง L2 : 2x+y-6 = 0 ซึ่งอยูหางจาก L1 เปนระยะ 2 13 หนวย
ตัวอยาง กําหนดสมการเสนตรง L3 : 3x y 2 3+ = และ L4 : 3x 3y 18+ =
ก.เสนตรงที่ขนานกับ L3 จะตองมีความชันเทาใด
ข.มุมระหวาง L4 กับแกน x ที่เปนมุมแหลม มีขนาดกี่องศา
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
10
3. วงกลม
วงกลม คือ “เซตของคูอันดับที่อยูหางจากจุดคงที่จุดหนึ่ง เปนระยะเทากัน” เรียกจุดคงที่นั้นวา จุด
ศูนยกลาง (Center; C) และเรียกระยะทางนั้นวา รัศมี (Radius; r)
สมการวงกลม
สมการของวงกลม ถูกสรางขึ้นจากสมการระยะทางระหวางจุดสองจุด โดยอาศัยหลักการวา ระยะทาง
จากจุด (x,y) ใดๆที่อยูบนวงกลม ไปยังจุดศูนยกลาง จะตองมีคาคงที่เทากับความยาวรัศมีเสมอ
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆของรูปวงกลมที่มีสมการเปน 2 2
x y 2x 4y 10 0+ + − − =
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
11
ตัวอยาง ใหสมการวงกลมที่มีจุดศุนยกลางอยูที่ (1,-2) และผานจุด (2,1) และตอบในรูป
Ax2
+By2
+Dx+Ey+F=0 โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม
ตัวอยาง ใหหาสมการทั่วไปของวงกลมที่มีลักษณะดังแตละขอตอไปนี้
ก.มีจุดศูนยกลางอยูที่ (3,4) และผานจุด (1,1)
ข.ผานจุด (1,-5) และผานจุดตัดทั้งสองของวงกลม 2 2
x y 2x 2y 8 0+ − + − =กับ
2 2
x y 3x 3y 8 0+ + − − =
ขอสังเกต
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
12
ค.เสนผานศูนยกลางเสนหนึ่ง เชื่อมระหวางจุด (1,1) กับ (2,2)
3.1 เสนสัมผัสวงกลม
เสนสัมผัสวงกลม คือ เสนตรงที่ลากผานจุดบนวงกลมเพียงจุดเดียวเทานั้น โดยเรียกจุดๆ นี้วาจุด
สัมผัส มีสมบัติทางเรขาคณิตอยางหนึ่งของรูปวงกลมที่กลาววา เสนสัมผัสวงกลมจะตั้งฉากกับรัศมี ณ จุด
สัมผัสนั้นเสมอ
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
ตัวอยาง ใหหาความยาวของเสนสัมผัสที่ลากจากจุด (0,1) ไปยังจุดสัมผัสบนวงกลม
3x2
+3y2
+11x+15y = -9
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
13
ตัวอยาง ใหหาสมการของเสนตรง ที่สัมผัสวงกลม 2 2
x y 8+ =ที่จุด (2,2)
ตัวอยาง ใหหาคา k ที่ทําให 2 2
x y 6x 8y k 0+ − + + =เปนวงกลม
ตัวอยาง เสนตรงเสนหนึ่งมีความชันเทากับ 4 3− และผานจุดศูนยกลางวงกลม
2 2
x y 4x 2y 1 0+ − + + =ถาเสนตรงเสนนี้ตัดกับวงกลมนี้ที่จุด A กับ B และกําหนดจุด D(-1,-2) แลว
พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABD เทากับเทาใด
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
14
4. วงรี
วงรี คือ “เซตของคูอันดับที่ ผลรวมของระยะทางไปยังจุดคงที่สองจุดมีคาเทากัน” เรียกจุดคงที่สอง
จุดนั้นวา จุดโฟกัส (F1, F2) และนอกจากนี้ระยะทางรวมซึ่งเปนคาคงที่นั้น จะมีคาเทากับความยาวของแกน
เอก (2a) พอดี
แกนเอก (Major Axis) คือเสนแสดงความยาวของวงรี ( 1 2V V ) ยาว 2a หนวย และ แกนโท (Minor
Axis) คือเสนแสดงความกวางของวงรี ( 1 2B B ) ยาว 2b หนวย โดยที่ a > b เสมอ
คา a และ b เทียบไดกับรัศมีวงกลม, แกนเอกและแกนโท เทียบไดกับเสนผานศูนยกลางของวงกลม
ตางกันตรงที่แนวนอนและแนวตั้งของวงรีจะยาวไมเทากัน
สมการวงรี
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
15
เมื่อพิจารณารูปวงรีทีละดาน จะมีลักษณะโคงคลายรูปถวย ซึ่งแตละรูปนั้นจะมีจุดโฟกัสอยูภายในโคง
ดวย และระยะโฟกัส c สามารถหาไดจากคา a กับ b โดยมีความสัมพันธกันในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีดาน
a ยาวที่สุด นั่นคือ 2 2
c a b= −
ตัวอยาง ใหสมการวงรีที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ (2,1) มีจุดโฟกัสอยูที่ (2,4) และจุดยอดอยูที่ (2,-4) และ
ตอบในรูป 2 2
Ax By Dx Ey F 0+ + + + =โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม
ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆของรูปวงรีซึ่งมีสมการเปน 2 2
7x 16y 28x 96y 60 0+ + − + =
และตั้งฉากกับเสนตรง 3x+4y = 5
ขอควรรู
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
16
ตัวอยาง ใหหาสมการรูปทั่วไปของวงรี ที่มีลักษณะดังแตละขอตอไปนี้
ก.จุดศูนยกลางอยูที่ (3,-1) แกนเอกขนานกับแกน y และยาว 8 หนวย โดยแกนโทยาว6 หนวย
ข.จุดยอดอยูที่ (-4,2) และ (2,2) โดยแกนโทยาว 4 หนวย
ค.จุดศูนยกลางอยูที่ (-2,1) มีจุดโฟกัสที่ (-2,4) และผานจุด (-6,1)
ตัวอยาง ใหหาสมการเสนตรงที่ผานจุดศูนยกลางของวงรี 2 2
4x 9y 48x 72y 144 0+ − + + =
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
17
ตัวอยาง ระยะหางระหวางเสนตรงคูขนานที่ทํามุม 45° กับแกน x และผานจุดโฟกัสทั้งสองของวงรี
2 2
x 3y 4x 2 0+ − − =
ANET50 ถา k, l และ m เปนจํานวนจริงที่ทําใหวงรี 2 2
kx ly 72x 24y m 0+ − − + =มีจุด
ศูนยกลางอยูที่จุด (4,3) และสัมผัสแกน y แลว ขอใดตอไปนี้ผิด
ก.ความยาวแกนเอกเทากับ 12 หนวย
ข.ความยาวแกนโทเทากับ 8 หนวย
ค.ระยะหางระหวางจุดโฟกัสทั้งสองเทากับ 4 5 หนวย
ง.จุด (2,6) อยูบนวงรี
ANET 49 วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนยกลาง อยูที่จุดศูนยกลางของวงรีที่มีสมการเปน
2 2
9x 4y 36x 24y 36 0+ − − + =ถาวงกลมวงนี้สัมผัสกับเสนตรงที่ผานจุด (1,3) และ (5,0) แลวรัศมีของ
วงกลมวงนี้เทากับเทาใด
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
18
5. ไฮเพอร์โบลา
ไฮเพอรโบลา คือ “เซตของคูอันดับที่ ผลตางของระยะทางไปยังจุดคงที่สองจุดมีคาเทากัน” เรียกจุด
คงที่สองจุดนั้นวา จุดโฟกัส (F1,F2) และผลตางระยะทางซึ่งเปนคาคงที่นั้น จะมีคาเทากับความยาวของแกน
ตามขวาง (2a) พอดี
แกนตามขวาง ( Transversal Axis) 1 2V V ยาว 2a หนวย และ แกนสังยุค (Conjugate Axis) 1 2B B
ยาว 2b หนวย (โดย a กับ b ยาวเทาใดก็ได) ใชประกอบกันในการสราง เสนกํากับ (Asymptote) 2 เสน เพื่อ
บังคับความกวางของไฮเพอรโบลา
สมการไฮเพอรโบลา
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
19
ไฮเพอรโบลามุมฉากเอียง
ไฮเพอรโบลาที่มีคา a=b (กรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส)นั้น รูปวงรีในกรอบจะกลายเปนวงกลม และเสนกํากับ
2 เสนตั้งฉากกันพอดี เรียกไฮเพอรโบลาแบบนี้วาเปน ไฮเพอรโบลามุมฉาก (Rectangular Hyperbola)
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
ขอสังเกต
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
20
ตัวอยาง ใหสรางสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุดศูนยกลางที่ (2,1) มีจุดโฟกัสที่ (2,-4) และจุดยอดที่ (2,4)
และตอบในรูป 2 2
Ax By Dx Ey F 0+ + + + =โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม
ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆของรูปไฮเพอรโบลาที่มีสมการเปน 2 2
x 5y 10y 25 0− + − =
ตัวอยาง ใหหาสมการทั่วไปของไฮเพอรโบลา ที่มีลักษณะดังแตละขอตอไปนี้
ก.จุดศูนยกลางอยูที่ (-3,1) มีจุดยอดที่ (2,1) และแกนสังยุคยาว 6 หนวย
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
21
ข.จุดโฟกัสอยูที่ (-1,-6) และ (-1,4) โดยแกนตามขวางยาว 6 หนวย
ตัวอยาง ถาภาคตัดกรวยรูปหนึ่งมีสมการเปน 2 2
9x 16y 18x 64y 199 0− − − − =แลวผมรวม
ของระยะทางจาดจุกโฟกัสทั้งสองไปถึงเสนตรง 3x+4y = 8 เปนเทาใด
ตัวอยาง กําหนดไฮเพอรโบลา 2 2
9(x 1) 4(y 2) 36− − − =ใหหาสมการวงรีซึ่ง ผลบวกของ
ระยะทางจากจุดใดๆบนวงรี ไปยังจุดที่ไฮเพอรโบลาตัดแกน x ทั้งสองจุด เปน 8 หนวย
ตัวอยาง กําหนด E แทนวงรี 2 2
6x 5y 12x 20y 4 0+ + − − =ใหหาสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุด
ศูนยกลางรวมกับ E มีจุดยอดอยูที่เดียวกับจุดโฟกัสของ E และมีความยาวแกนสังยุคเทากับความยาวแกนโท
ของ E พอดี
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
22
PAT1 ก.ค.53 กําหนดวงกลมรูปหนึ่งมีจุดปลายของเสนผานศูนยกลางอยูบนจุดศูนยกลางและจุดโฟกัสดาน
หนึ่งของไฮเพอรโบลา 2 2
9x 16y 90x 64y 17 0− − + + =แลววงกลมดังกลาวมีพื้นที่เทากับขอใดตอไปนี้
ANET 50 ถาเสนกํากับของไฮเพอรโบลา 2 2
16x 9y 32x 36y 164 0− + + − =ตัดแกน x ที่จุด A
และ B แลว ระยะระหวาง A, B ยาวกี่หนวย
PAT1มี.ค. 53 กําหนดใหวงรีรูปหนึ่งมี สมการเปน 2 2
25x 21y 100x 42y 404 0+ + − − =แลว
ไฮเพอรโบลาที่มีจุดยอดอยูที่จุดโฟกัสทั้งสองของวงรีและผานจุด ( 3,1 8)− + มีสมการตรงกับขอใดตอไปนี้
ก. 2 2
5y 4x 10 8y 32x 25 0− − − − =
ข. 2 2
3y 2x 6 8y 8x 15 0− − − + =
ค. 2 2
y 4x 2y 16x 19 0− − − − =
ง. 2 2
y 7x 2y 28x 28 0− − − − =
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
23
6. พาราโบลา
พาราโบลา คือ “เซตของคูอันดับที่มีระยะหางจากจุดคงที่จุดหนึ่ง เทากับระยะไปยังเสนตรงคงที่เสน
หนึ่ง” เรียกจุดคงที่จุดนั้นวา จุดโฟกัส (Focus; F) เรียกเสนตรงคงที่เสนนั้นวา ไดเรกตริกซ (Directrix; เสน
บังคับ)
รูปก ราฟที่ไดจะมีลักษณะเปนเสนโคงคลายถวย สองดานสมมาตรกัน โดยเสนสมมาตรจะผานจุดโฟกัส
และตั้งฉากกับเสนไดเรกตริกซ เรียกเสนนี้วา แกน (Axis) ของพาราโบลา และจุกวกกลับของพาราโบลาจะ
เรียกวา จุดยอด (Vertex) อยูกึ่งกลางระหวางจุดโฟกัสกับเสนไดเรกตริกซพอดี (ตามนิยามที่ไดกลาวขางตน)
สมการพาราโบลา
(ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
24
ตัวอยาง ใหหาสมการรูปทั่วไปของพาราโบลา ที่มีลักษณะดังนี้
ก.จุดยอดอยูที่ (-2,3) และจุดโฟกัสอยูที่ (5,3)
ข.จุดยอดอยูที่ 0 และผานจุด (-4,-6) โดยมีแกน x เปนแกนสมมาตร
ค.จุดโฟกัสอยูที่ (2,2) และมีสมการไดเรกตริกซเปน x+2=0
ขอสังเกต
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
25
ง.ผานจุด (1,3), (9,1) และ (51,-2) โดยแกนสมมาตรขนานกับแกน x
ตัวอยาง คอรดที่เกิดจากเสนตรง 2x-y=8 ตัดกับพาราโบลา y2
=8x มีความยาวเทาใด
ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆของรูปพาราโบลาที่มีสมการเปน 2
x 2x 2y 3 0− − − =
ตัวอยาง ใหสรางสมการพาราโบลาที่มีจุดยอดอยูที่ (1,-2) และผานจุด (2,1) โดยมีแกนสมมาตรแนวตั้ง
และตอบในรูป 2 2
Ax By Dx Ey F 0+ + + + =โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
26
ตัวอยาง ใหหาสมการพาราโบลาที่ผานจุดของเสนตรง x=y กับวงกลม x2
+y2
+6x=0 โดยมีแกน x เปน
แกนสมมาตร
ตัวอยาง จุดบนโคง 2
4y (x 1)= − ซึ่งอยูหางจากจุดโฟกัส 13 หนวย จะอยูหางจากแกน x เทาใด
PAT1มี.ค. 54 ใหเสนตรง x-y+2=0 ตัดกับวงกลม 2 2
x y 6x 4y 4 0+ + − + =ที่จุด A และ จุด B ถา
(a,b) เปนจุดโฟกัสของพาราโบลาซึ่งมีเสนตรง y=2 เปนแกนของพาราโบลาและพาราโบลานี่ผานจุด A และจุด
B แลว a+b เทากับเทาใด
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
27
ANET 51 ให A และ B เปนจุดยอดของไฮเพอรโบลา 2 2
4x y 24x 6y 11 0− − + + =สมการของ
พาราโบลาที่มี เสนตรงAB เปนเลตัสเรกตัม และมีกราฟอยูเหนือแกน x คือสมการในขอใดตอไปนี้
ก. 2
(x 3) 4(y 2)− = − ข. 2
(x 3) 8(y 1)− = −
ค. 2
(x 2) 4(y 2)− = − ง. 2
(x 2) 8(y 1)− = −
ENTมี.ค. 48 กําหนดใหพาราโบลารูปหนึ่งมีสมการเปน 2
y 16x 4y 12 0− − − =ถา L เปนเสนตรงที่
ผานโฟกัสของพาราโบลารูปนี้ และตั้งฉากกับเสนตรง 3x-2y+5 = 0 แลว ระยะตัดแกน y ของเสนตรง L มีคา
เทากับเทาใด
ENTต.ค. 46 ให H เปนไฮเพอรโบลา 2 2
4x 12y 16x 72y 44 0− + + + + =ซึ่งมีจุดโฟกัสคือ F1 และ
F2 ให E เปนวงรีซึ่งมีจุดศูนยกลางรวมกับ H โดยมี F1 และ F2 เปนจุดยอด และสัมผัสแกน y ถา E ตัดแกน x
ที่จุด A และ B แลว AB ยาวเทากับเทาใด
คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com
28
เอกสารอางอิง
คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554.
สมัย เหลาวานิชย, รศ., “ตะลุยคลังขอสอบเขามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร สาระการเรียนรูพื้นฐานและ
เพิ่มเติม”, สํานักพิมพไฮเอ็ด พับบลิชชิ่ง.
http://kruaun.wordpress.com/testbank/pat1/
http://th.wikipedia.org/wiki/เรขาคณิตวิเคราะห

More Related Content

What's hot

แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
8752584
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
Math and Brain @Bangbon3
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
Aon Narinchoti
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
Ritthinarongron School
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1Parichat1989
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
Aunop Nop
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
พิทักษ์ ทวี
 

What's hot (20)

แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 

Similar to Conic section-clip vidva

แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่Cha Rat
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
31202 final532
31202 final53231202 final532
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
9GATPAT1
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
Thanuphong Ngoapm
 
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Tutor Ferry
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1yinqpant
 

Similar to Conic section-clip vidva (20)

แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
31202 final532
31202 final53231202 final532
31202 final532
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
Student-pilot-handbook-by-tutor ferry (Ex)
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
Eng
EngEng
Eng
 
Math
MathMath
Math
 
Eng
EngEng
Eng
 
Eng
EngEng
Eng
 
Eng
EngEng
Eng
 

Conic section-clip vidva

  • 1. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 1 เรขาคณิตวิเคราะห์ และภาคตัดกรวย ในเรื่องเรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย เปนบทที่เอาไปประยุกตใชตอในหลายๆเรื่องที่เกี่ยวกับ รูปทรงตางๆในวิชาตางๆทั้ง ฟสิกส หรือคณิตศาสตร นองๆหลายคนมีปญหากับบทนี้นะครับวาคอนขางยาก เนื่องจากสูตรเยอะ ประยุกตคอนขางมาก และทําขอสอบไมทัน พี่มั่นใจวาถาตั้งใจเรียนซะหนอยปญหาเหลานี้ นาจะหมดไปนะครับ เรขาคณิตวิเคราะห และภาคตัวกรวย 1. จุด 3. วงกลม 6. พาราโบลา 2. เสนตรง 1.1) ระยะหางระหวางจุดสองจุด 4. วงรี 5. ไฮเพอรโบลา 1.2) จุดกึ่งกลางระหวางจุดสองจุด 1.3) จุดที่แบงระยะทางเปนระยะ m:n 1.4) จุดตัดเสนมัธยฐานสามเหลี่ยม 2.1) ความชัน 2.2) สมการเสนตรง 2.3) ระยะหางระหวางจุดกับเสนตรง 2.4) ระยะหางระหวางเสนตรงคูขนาน
  • 2. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 2 1. จุด การเขียนชื่อจุดนิยมใชตัวอักษรใหญ เชน จุด P,จุด Q และอาจเขียนกํากับดวยคูอันดับในพิกัดฉาก ใน รูป P(x,y) เชน Q(2,-4) ใชแทนจุดที่ชื่อ Q และ มีพิกัดเปน (2,-4) 1.1 ระยะหางระหวางจุดสองจุด สัญลักษณที่ใชแทนระยะทางระหวางจุด P กับ Q คือ PQ หรือ PQ 2 2 2 1 2 1PQ (x x ) (y y )= − + − (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) 1.2 จุดกึ่งกลางระหวางจุดสองจุด 1 2 1 2x x y y R( , ) 2 2 + + (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) 1.3 จุดที่แบงระยะทางเปนระยะ m:n 1 2 1 2mx nx my ny R( , ) m n m n + + + + (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) Q(x2,y2) P(x1,y1) Q(x2,y2) P(x1,y1) Q(x2,y2) P(x1,y1) n m
  • 3. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 3 ตัวอยาง กําหนดพิกัดจุด P(1,-2) และ Q(-5,4) ก.ระยะ PQ เทากับเทาใด ข.ใหหาจุดกึ่งกลางของ PQ ค.ใหหาพิกัดจุด R ที่ทําให PR : RQ 2 :3= 1.4 จุดตัดของเสนมัธยฐานสามเหลี่ยม (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
  • 4. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 4 ตัวอยาง กําหนดสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีจุดยอดอยูที่ A(2,8), B(6,12), C(-2,-4) ถาจุด P และ Q อยูบน ดาน AB และ BC ตามลําดับ โดยมีอัตราสวน AP : PB 1:3= และ BQ : BC 3 :4= ใหหาคาของ PQ ตัวอยาง ขอความตอไปนี้ถูกหรือผิด ก.จุด A(10,5), B(3,2), C(6,-5) เปนจุดมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ข.จุด D(1,2), E(-3,10), F(4,-4) อยูบนเสนตรงเดียวกัน ค.จุด A(-2,3), B(-6,1), C(-10,-1) อยูบนเสนตรงเดียวกัน
  • 5. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 5 ตัวอยาง ใหหาจุด P บนแกน X ซึ่งอยูหางจากจุด P1 (1,-2) และP2 (3,5) เปนระยะเทากัน ตัวอยาง ถา (m,n) เปนจุดตัดของเสนมัธยฐานของสามเหลี่ยมรูปหนึ่งซึ่งมีจุดยอดอยูที่ (4,5), (-4,7) และ (4,1) แลว คา m-n เทากับเทาใด 2. เส้นตรง 2.1 ความชัน (slope; m) ของเสนตรง ความชันของเสนตรง คือ อัตราสวนระหวางคา y ที่เปลี่ยนแปลงไป ตอคา x ที่เปลี่ยนแปลงไป ใช สัญลักษณ m โดยคา m อาจะเปนบวก หรือลบ หรือเปนศูนยก็ได - ถา m>0 แสดงวา เสนตรงนี้เฉียงขึ้นทางขวา - ถา m<0 แสดงวา เสนตรงนี้เฉียงลงทางขวา - ถา m=0 แสดงวา เปนเสนนอนขนานแกน x - และสําหรับเสนตั้งขนานกับแกน y นั้น m หาคาไมได (เปนอนันต)
  • 6. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 6 (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) 2.2 สมการของเสนตรง รูปทั่วไปที่1 ของสมการเสนตรงคือ Ax+By+C = 0 ( โดยที่ A,B,C เปนจํานวนจริงใดๆ ) รูปทั่วไปที่2 ของสมการเสนตรงในรูป y=mx+c โดย m คือความชัน และ c คือระยะตัดแกน y (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) จากสมการทั่วไปที่1 และ 2 เราสามารถสรุปไดวา สมการรูปทั่วไปที่1ของเสนตรง สามารถจัดใหอยูในลักษณะ A C y x B B =− − จึงทําใหทราบวา คา ความชัน m = A B − และระยะตัดแกนy c= C B − เสมอ ขอควรรู
  • 7. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 7 ตัวอยาง กําหนดพิกัดจุด P(1,3) และ Q(5,9) ก .ความชันของเสนตรงที่ผานจุด P และ Q เทากับเทาใด ข.ใหหาสมการเสนที่ตรงที่ผานจุด P และ Q ตัวอยาง กําหนดพิกัดจุด P(1,3) และ Q(5,9) ใหหาสมการของเสนตรง L ซึ่งตั้งฉากกับ เสนตรงPQ และผานจุดกึ่งกลางของเสนตรง PQ 2.3 ระยะหางระหวางจุดกับเสนตรง (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
  • 8. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 8 สมการระยะหางนี้มีการแทนคาจุด (x1,y1) ลงในสมการเสนตรงในรูป Ax+By+C=0 ซึ่งจะสอดคลอง กับความรูพื้นฐานที่วา ถาแทนคาแลวไดเทากับ 0 หมายถึงจุดๆนี้อยูบนเสนตรงพอดี จากสูตรก็จะไดระยะทาง เทากับ 0 ดวย 2.4 ระยะหางระหวางเสนตรงคูขนานทั้งสองเสน (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) ตัวอยาง กําหนดเสนตรง L1 : 2x+3y-24 = 0 ก.ระยะทางจากจุด S(-2,5) ไปยังเสนตรง L1 เทากับเทาใด ข.ใหหาสมการเสนตรงที่อยูหางจาก L1 เปนระยะ 2 13 หนวย ขอสังเกต
  • 9. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 9 ค.ใหหาจุดบนเสนตรง L2 : 2x+y-6 = 0 ซึ่งอยูหางจาก L1 เปนระยะ 2 13 หนวย ตัวอยาง กําหนดสมการเสนตรง L3 : 3x y 2 3+ = และ L4 : 3x 3y 18+ = ก.เสนตรงที่ขนานกับ L3 จะตองมีความชันเทาใด ข.มุมระหวาง L4 กับแกน x ที่เปนมุมแหลม มีขนาดกี่องศา
  • 10. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 10 3. วงกลม วงกลม คือ “เซตของคูอันดับที่อยูหางจากจุดคงที่จุดหนึ่ง เปนระยะเทากัน” เรียกจุดคงที่นั้นวา จุด ศูนยกลาง (Center; C) และเรียกระยะทางนั้นวา รัศมี (Radius; r) สมการวงกลม สมการของวงกลม ถูกสรางขึ้นจากสมการระยะทางระหวางจุดสองจุด โดยอาศัยหลักการวา ระยะทาง จากจุด (x,y) ใดๆที่อยูบนวงกลม ไปยังจุดศูนยกลาง จะตองมีคาคงที่เทากับความยาวรัศมีเสมอ (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆของรูปวงกลมที่มีสมการเปน 2 2 x y 2x 4y 10 0+ + − − =
  • 11. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 11 ตัวอยาง ใหสมการวงกลมที่มีจุดศุนยกลางอยูที่ (1,-2) และผานจุด (2,1) และตอบในรูป Ax2 +By2 +Dx+Ey+F=0 โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม ตัวอยาง ใหหาสมการทั่วไปของวงกลมที่มีลักษณะดังแตละขอตอไปนี้ ก.มีจุดศูนยกลางอยูที่ (3,4) และผานจุด (1,1) ข.ผานจุด (1,-5) และผานจุดตัดทั้งสองของวงกลม 2 2 x y 2x 2y 8 0+ − + − =กับ 2 2 x y 3x 3y 8 0+ + − − = ขอสังเกต
  • 12. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 12 ค.เสนผานศูนยกลางเสนหนึ่ง เชื่อมระหวางจุด (1,1) กับ (2,2) 3.1 เสนสัมผัสวงกลม เสนสัมผัสวงกลม คือ เสนตรงที่ลากผานจุดบนวงกลมเพียงจุดเดียวเทานั้น โดยเรียกจุดๆ นี้วาจุด สัมผัส มีสมบัติทางเรขาคณิตอยางหนึ่งของรูปวงกลมที่กลาววา เสนสัมผัสวงกลมจะตั้งฉากกับรัศมี ณ จุด สัมผัสนั้นเสมอ (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) ตัวอยาง ใหหาความยาวของเสนสัมผัสที่ลากจากจุด (0,1) ไปยังจุดสัมผัสบนวงกลม 3x2 +3y2 +11x+15y = -9
  • 13. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 13 ตัวอยาง ใหหาสมการของเสนตรง ที่สัมผัสวงกลม 2 2 x y 8+ =ที่จุด (2,2) ตัวอยาง ใหหาคา k ที่ทําให 2 2 x y 6x 8y k 0+ − + + =เปนวงกลม ตัวอยาง เสนตรงเสนหนึ่งมีความชันเทากับ 4 3− และผานจุดศูนยกลางวงกลม 2 2 x y 4x 2y 1 0+ − + + =ถาเสนตรงเสนนี้ตัดกับวงกลมนี้ที่จุด A กับ B และกําหนดจุด D(-1,-2) แลว พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABD เทากับเทาใด
  • 14. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 14 4. วงรี วงรี คือ “เซตของคูอันดับที่ ผลรวมของระยะทางไปยังจุดคงที่สองจุดมีคาเทากัน” เรียกจุดคงที่สอง จุดนั้นวา จุดโฟกัส (F1, F2) และนอกจากนี้ระยะทางรวมซึ่งเปนคาคงที่นั้น จะมีคาเทากับความยาวของแกน เอก (2a) พอดี แกนเอก (Major Axis) คือเสนแสดงความยาวของวงรี ( 1 2V V ) ยาว 2a หนวย และ แกนโท (Minor Axis) คือเสนแสดงความกวางของวงรี ( 1 2B B ) ยาว 2b หนวย โดยที่ a > b เสมอ คา a และ b เทียบไดกับรัศมีวงกลม, แกนเอกและแกนโท เทียบไดกับเสนผานศูนยกลางของวงกลม ตางกันตรงที่แนวนอนและแนวตั้งของวงรีจะยาวไมเทากัน สมการวงรี (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
  • 15. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 15 เมื่อพิจารณารูปวงรีทีละดาน จะมีลักษณะโคงคลายรูปถวย ซึ่งแตละรูปนั้นจะมีจุดโฟกัสอยูภายในโคง ดวย และระยะโฟกัส c สามารถหาไดจากคา a กับ b โดยมีความสัมพันธกันในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีดาน a ยาวที่สุด นั่นคือ 2 2 c a b= − ตัวอยาง ใหสมการวงรีที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ (2,1) มีจุดโฟกัสอยูที่ (2,4) และจุดยอดอยูที่ (2,-4) และ ตอบในรูป 2 2 Ax By Dx Ey F 0+ + + + =โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆของรูปวงรีซึ่งมีสมการเปน 2 2 7x 16y 28x 96y 60 0+ + − + = และตั้งฉากกับเสนตรง 3x+4y = 5 ขอควรรู
  • 16. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 16 ตัวอยาง ใหหาสมการรูปทั่วไปของวงรี ที่มีลักษณะดังแตละขอตอไปนี้ ก.จุดศูนยกลางอยูที่ (3,-1) แกนเอกขนานกับแกน y และยาว 8 หนวย โดยแกนโทยาว6 หนวย ข.จุดยอดอยูที่ (-4,2) และ (2,2) โดยแกนโทยาว 4 หนวย ค.จุดศูนยกลางอยูที่ (-2,1) มีจุดโฟกัสที่ (-2,4) และผานจุด (-6,1) ตัวอยาง ใหหาสมการเสนตรงที่ผานจุดศูนยกลางของวงรี 2 2 4x 9y 48x 72y 144 0+ − + + =
  • 17. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 17 ตัวอยาง ระยะหางระหวางเสนตรงคูขนานที่ทํามุม 45° กับแกน x และผานจุดโฟกัสทั้งสองของวงรี 2 2 x 3y 4x 2 0+ − − = ANET50 ถา k, l และ m เปนจํานวนจริงที่ทําใหวงรี 2 2 kx ly 72x 24y m 0+ − − + =มีจุด ศูนยกลางอยูที่จุด (4,3) และสัมผัสแกน y แลว ขอใดตอไปนี้ผิด ก.ความยาวแกนเอกเทากับ 12 หนวย ข.ความยาวแกนโทเทากับ 8 หนวย ค.ระยะหางระหวางจุดโฟกัสทั้งสองเทากับ 4 5 หนวย ง.จุด (2,6) อยูบนวงรี ANET 49 วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนยกลาง อยูที่จุดศูนยกลางของวงรีที่มีสมการเปน 2 2 9x 4y 36x 24y 36 0+ − − + =ถาวงกลมวงนี้สัมผัสกับเสนตรงที่ผานจุด (1,3) และ (5,0) แลวรัศมีของ วงกลมวงนี้เทากับเทาใด
  • 18. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 18 5. ไฮเพอร์โบลา ไฮเพอรโบลา คือ “เซตของคูอันดับที่ ผลตางของระยะทางไปยังจุดคงที่สองจุดมีคาเทากัน” เรียกจุด คงที่สองจุดนั้นวา จุดโฟกัส (F1,F2) และผลตางระยะทางซึ่งเปนคาคงที่นั้น จะมีคาเทากับความยาวของแกน ตามขวาง (2a) พอดี แกนตามขวาง ( Transversal Axis) 1 2V V ยาว 2a หนวย และ แกนสังยุค (Conjugate Axis) 1 2B B ยาว 2b หนวย (โดย a กับ b ยาวเทาใดก็ได) ใชประกอบกันในการสราง เสนกํากับ (Asymptote) 2 เสน เพื่อ บังคับความกวางของไฮเพอรโบลา สมการไฮเพอรโบลา (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
  • 19. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 19 ไฮเพอรโบลามุมฉากเอียง ไฮเพอรโบลาที่มีคา a=b (กรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส)นั้น รูปวงรีในกรอบจะกลายเปนวงกลม และเสนกํากับ 2 เสนตั้งฉากกันพอดี เรียกไฮเพอรโบลาแบบนี้วาเปน ไฮเพอรโบลามุมฉาก (Rectangular Hyperbola) (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554) ขอสังเกต
  • 20. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 20 ตัวอยาง ใหสรางสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุดศูนยกลางที่ (2,1) มีจุดโฟกัสที่ (2,-4) และจุดยอดที่ (2,4) และตอบในรูป 2 2 Ax By Dx Ey F 0+ + + + =โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆของรูปไฮเพอรโบลาที่มีสมการเปน 2 2 x 5y 10y 25 0− + − = ตัวอยาง ใหหาสมการทั่วไปของไฮเพอรโบลา ที่มีลักษณะดังแตละขอตอไปนี้ ก.จุดศูนยกลางอยูที่ (-3,1) มีจุดยอดที่ (2,1) และแกนสังยุคยาว 6 หนวย
  • 21. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 21 ข.จุดโฟกัสอยูที่ (-1,-6) และ (-1,4) โดยแกนตามขวางยาว 6 หนวย ตัวอยาง ถาภาคตัดกรวยรูปหนึ่งมีสมการเปน 2 2 9x 16y 18x 64y 199 0− − − − =แลวผมรวม ของระยะทางจาดจุกโฟกัสทั้งสองไปถึงเสนตรง 3x+4y = 8 เปนเทาใด ตัวอยาง กําหนดไฮเพอรโบลา 2 2 9(x 1) 4(y 2) 36− − − =ใหหาสมการวงรีซึ่ง ผลบวกของ ระยะทางจากจุดใดๆบนวงรี ไปยังจุดที่ไฮเพอรโบลาตัดแกน x ทั้งสองจุด เปน 8 หนวย ตัวอยาง กําหนด E แทนวงรี 2 2 6x 5y 12x 20y 4 0+ + − − =ใหหาสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุด ศูนยกลางรวมกับ E มีจุดยอดอยูที่เดียวกับจุดโฟกัสของ E และมีความยาวแกนสังยุคเทากับความยาวแกนโท ของ E พอดี
  • 22. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 22 PAT1 ก.ค.53 กําหนดวงกลมรูปหนึ่งมีจุดปลายของเสนผานศูนยกลางอยูบนจุดศูนยกลางและจุดโฟกัสดาน หนึ่งของไฮเพอรโบลา 2 2 9x 16y 90x 64y 17 0− − + + =แลววงกลมดังกลาวมีพื้นที่เทากับขอใดตอไปนี้ ANET 50 ถาเสนกํากับของไฮเพอรโบลา 2 2 16x 9y 32x 36y 164 0− + + − =ตัดแกน x ที่จุด A และ B แลว ระยะระหวาง A, B ยาวกี่หนวย PAT1มี.ค. 53 กําหนดใหวงรีรูปหนึ่งมี สมการเปน 2 2 25x 21y 100x 42y 404 0+ + − − =แลว ไฮเพอรโบลาที่มีจุดยอดอยูที่จุดโฟกัสทั้งสองของวงรีและผานจุด ( 3,1 8)− + มีสมการตรงกับขอใดตอไปนี้ ก. 2 2 5y 4x 10 8y 32x 25 0− − − − = ข. 2 2 3y 2x 6 8y 8x 15 0− − − + = ค. 2 2 y 4x 2y 16x 19 0− − − − = ง. 2 2 y 7x 2y 28x 28 0− − − − =
  • 23. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 23 6. พาราโบลา พาราโบลา คือ “เซตของคูอันดับที่มีระยะหางจากจุดคงที่จุดหนึ่ง เทากับระยะไปยังเสนตรงคงที่เสน หนึ่ง” เรียกจุดคงที่จุดนั้นวา จุดโฟกัส (Focus; F) เรียกเสนตรงคงที่เสนนั้นวา ไดเรกตริกซ (Directrix; เสน บังคับ) รูปก ราฟที่ไดจะมีลักษณะเปนเสนโคงคลายถวย สองดานสมมาตรกัน โดยเสนสมมาตรจะผานจุดโฟกัส และตั้งฉากกับเสนไดเรกตริกซ เรียกเสนนี้วา แกน (Axis) ของพาราโบลา และจุกวกกลับของพาราโบลาจะ เรียกวา จุดยอด (Vertex) อยูกึ่งกลางระหวางจุดโฟกัสกับเสนไดเรกตริกซพอดี (ตามนิยามที่ไดกลาวขางตน) สมการพาราโบลา (ที่มา: คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554)
  • 24. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 24 ตัวอยาง ใหหาสมการรูปทั่วไปของพาราโบลา ที่มีลักษณะดังนี้ ก.จุดยอดอยูที่ (-2,3) และจุดโฟกัสอยูที่ (5,3) ข.จุดยอดอยูที่ 0 และผานจุด (-4,-6) โดยมีแกน x เปนแกนสมมาตร ค.จุดโฟกัสอยูที่ (2,2) และมีสมการไดเรกตริกซเปน x+2=0 ขอสังเกต
  • 25. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 25 ง.ผานจุด (1,3), (9,1) และ (51,-2) โดยแกนสมมาตรขนานกับแกน x ตัวอยาง คอรดที่เกิดจากเสนตรง 2x-y=8 ตัดกับพาราโบลา y2 =8x มีความยาวเทาใด ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆของรูปพาราโบลาที่มีสมการเปน 2 x 2x 2y 3 0− − − = ตัวอยาง ใหสรางสมการพาราโบลาที่มีจุดยอดอยูที่ (1,-2) และผานจุด (2,1) โดยมีแกนสมมาตรแนวตั้ง และตอบในรูป 2 2 Ax By Dx Ey F 0+ + + + =โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม
  • 26. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 26 ตัวอยาง ใหหาสมการพาราโบลาที่ผานจุดของเสนตรง x=y กับวงกลม x2 +y2 +6x=0 โดยมีแกน x เปน แกนสมมาตร ตัวอยาง จุดบนโคง 2 4y (x 1)= − ซึ่งอยูหางจากจุดโฟกัส 13 หนวย จะอยูหางจากแกน x เทาใด PAT1มี.ค. 54 ใหเสนตรง x-y+2=0 ตัดกับวงกลม 2 2 x y 6x 4y 4 0+ + − + =ที่จุด A และ จุด B ถา (a,b) เปนจุดโฟกัสของพาราโบลาซึ่งมีเสนตรง y=2 เปนแกนของพาราโบลาและพาราโบลานี่ผานจุด A และจุด B แลว a+b เทากับเทาใด
  • 27. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 27 ANET 51 ให A และ B เปนจุดยอดของไฮเพอรโบลา 2 2 4x y 24x 6y 11 0− − + + =สมการของ พาราโบลาที่มี เสนตรงAB เปนเลตัสเรกตัม และมีกราฟอยูเหนือแกน x คือสมการในขอใดตอไปนี้ ก. 2 (x 3) 4(y 2)− = − ข. 2 (x 3) 8(y 1)− = − ค. 2 (x 2) 4(y 2)− = − ง. 2 (x 2) 8(y 1)− = − ENTมี.ค. 48 กําหนดใหพาราโบลารูปหนึ่งมีสมการเปน 2 y 16x 4y 12 0− − − =ถา L เปนเสนตรงที่ ผานโฟกัสของพาราโบลารูปนี้ และตั้งฉากกับเสนตรง 3x-2y+5 = 0 แลว ระยะตัดแกน y ของเสนตรง L มีคา เทากับเทาใด ENTต.ค. 46 ให H เปนไฮเพอรโบลา 2 2 4x 12y 16x 72y 44 0− + + + + =ซึ่งมีจุดโฟกัสคือ F1 และ F2 ให E เปนวงรีซึ่งมีจุดศูนยกลางรวมกับ H โดยมี F1 และ F2 เปนจุดยอด และสัมผัสแกน y ถา E ตัดแกน x ที่จุด A และ B แลว AB ยาวเทากับเทาใด
  • 28. คณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย www.clipvidva.com 28 เอกสารอางอิง คณิต มงคลพิทักษสุข, “MATH E-BOOK Release2.5”, สํานักพิมพ Science Center, 2554. สมัย เหลาวานิชย, รศ., “ตะลุยคลังขอสอบเขามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร สาระการเรียนรูพื้นฐานและ เพิ่มเติม”, สํานักพิมพไฮเอ็ด พับบลิชชิ่ง. http://kruaun.wordpress.com/testbank/pat1/ http://th.wikipedia.org/wiki/เรขาคณิตวิเคราะห