SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
L/O/G/O




งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




        ประวัตความเปนมา
              ิ
                                    Coca-
                                    Coca-Cola หรือ Coke
                                     ผูที่ถือวาเปนผูกาเนิดที่แทจริงคือ ดร.จอหน เพ็มเบอรตัน
                                                         ํ
                                      ที่เมืองแอตแลนตา มลรัฐจอรเจีย ในวันที่ 8 พฤษภาคม
                                      ค.ศ. 1886 เภสัชกรทองถิ่น
                                     เริ่มตนจากการผลิตหัวเชื้อน้ําหวาน ที่ตอมาไดถูกพัฒนา
                                      จนเปน
                                      จนเปน Coke
                                     และที่มาของคําวา Coca-Cola มาจาก ม.ร.แฟรงค เอ็ม โร
                                      บินสันที่เปนหุนสวนเปนคนเสนอชื่อนี้ขึ้นมาเริ่มจาก
                                      แนวคิดที่นาจะใช อักษรตัว C 2 ตัว จึงไดเปน Coca-Cola
                                      ซึ่งเขียนขึ้นมาดวยลายมือของเคาเอง




งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




      ประวัตความเปนมา(ตอ)
            ิ

                                 หลังจากไดวางขายไมนาน น้ําหวานไดรับนิยมอยางมาก ดร.
                                  เพ็มเบอรตัน จึงไดขายหุนกิจการใหกับคนอื่นๆ
                                                           
                                 และตอมา อาซา จีแคนเลอร นักธุรกิจชาวเมืองแอต-แลนตา
                                                     แคน
                                  ผูที่มีพรสวรรคทางการคาไดกวานซื้อหุนทั้งหมด จน
                                  กลายเปนผูครอบครองกิจการทั้งหมดแตเพียงผูเดียว
                                 ยอดขายของ Coke ไดพุงขึ้นมาถึง 10 เทา ดวเหตุผลที่วา
                                  “Coke เปนเครื่องดื่มรสชาติเยี่ยม ดับกระหาย ใหความสด
                                  ชื่น และมีชีวิตชีวา”
                                 วันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1893 ไดกอตั้ง บริษัท Coca-Cola และ
                                  จดทะเบียนลิขสิทธิ์เครื่องหมายการคาอยางเปนทางการ



งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                            1
ประวัตความเปนมา(ตอ)
               ิ
 มร.แคนดเลอร เชื่อวาการโฆษณาสามารถ
  สงเสริมยอดขายไดเปนอยางดี จึงเริ่มทํา
  การโฆษณาและโปรโมชั่น
 เริ่มจากการแจกคูปอง สําหรับลูกคามา
  แลกแกว Coca-Cola และการแจกของ
  ชํารวยที่มีตรา Coca-Cola
 ใ ป 1894 โ
  ในป                       ี่ 
              โรงงานแหงแรกทอยูนอกเมอง   ื
  แอตแลนตาก็ไดถูกสรางขึ้น ในเมืองดัลลัส
  ในรัฐเท็กซัส และไดเริ่มขยายไปตามเมือง
  ใหญๆ เชน ชิคาโก ลอสแองเจลลิส
 ในป 1898 ไดมีการสรางอาคารเพื่อใชเปน
  สํานักงานใหญ ที่เมือง แอตแลนตา


           Print Ad ในยุคแรกของ Coca-Cola
  งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




            เปาหมายของโคก
                                           VISION (วิสัยทัศน)
                                                  (วิ
        Coca-Cola เปนแบรนดเครื่องดื่มที่อยูในใจของผูบริโภคมาตลอดกวา 100 ป และ
                                                       
                       กาวขึ้นมาเปน แบรนดอันดับ 1 ของโลกใหได
                                          MISSION (พันธกิจ)
      Coca-Cola จะเปนสวนหนึ่งของชีวิตเปนหลักในการทําการสื่อสารกับผูบริโภคมาโดย
      ตลอด Coca-Cola พยายามทําใหตัวเองดูเปนสินคาที่มีรสนิยม หรูหรา แตใกลชิดกับ
      ผูบริิโภคมาโดยตลอดตงแตตน การสรางสารทีี่มีเนื้อหาในเหตุการณตางๆแตทุกทีก็
                    โ        ั้                    ื ใ                    ี่
          มีโคกนันถูกซึมทราบ เขาไปยังความคิดของผูบริโภค "ยามกระหายนึกถึงโคก",
                  ้
                                "ยามทานอาหารใหนึกถึงโคก"
                                       VALUES (คุณคาองคกร)
            Coca-Cola มีการถีบตัวเองอยูอยางสม่ําเสมอเพื่อเปนการย้าเตือนและเสริม
                                                                    ํ
         ภาพลักษณของ ตนเองทีวา Coca-Cola หรูหรา ทันสมัย การพัฒนา Package ใหมี
                                ่
       รูปรางแปลกตาและเนนการ Design ก็ดี การพัฒนาจากแบบฝาจีบ เปนแบบกระปอง
        หรือฝาเกลียวก็ดี การสรางรสชาติใหมๆอยูเสมอก็ดี ทั้งหมดลวนเปนการแสดงให
                         เห็นถึงการไมจมปลักอยูกับที่ของ Coca-Cola
  งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




          ผลิตภัณฑของ Coca - Cola




  งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                              2
Business Model
                                   พันธมิตรหลัก
                                                                               ความสัมพันธกับลูกคา
                            1. รานอาหาร
                                                                              1. ใชระบบ CRM
                            2. บริษัทขนสงสินคา          คุณคาที่นําเสนอ
    ทรัพยากรหลัก                                                              2. Emotional Marketing
                            3. บริษัทผลิตวัตถุดิบ     1. ความสดชื่น ดับ
1. ทรัพยากรมนุษย                                                             และ Lifestyle              กลุมลูกคา
                            4. ผูคาสง              กระหาย
พนักงาน                                                                       3. Brand Loyalty        1. วัยรุน
                            5. หางสรรพสินคา         2.เครื่องดื่มที่มีรสชาด
2. ที่ดิน อาคาร             6. McDonald’s                                                             2. บุคคลทั่วไป
                                                      เยี่ยมและเปน
โรงงานตาง ๆ                7. Burger King            เอกลักษณ
เครื่องจักร                 8. บริษัทผลิตกระปอง      3. เพิ่มคุณคาและสราง
                            9. บรษทบรรจุขวด
                            9 ิ ั                     ความแตกตาง  
                            10. บริษัทผลิตหัวเชื้อ
                            น้ําหวาน                                                  ชองทาง
                                  กิจกรรมหลัก                                 1. การขายตรง
                       1. เครื่องดื่มอัดลมและไมอัดลม                         2. ซุปเปอรมารเก็ต
                       2. การตลาด                                             3. รานอาหาร
       งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development
                  โครงสรางตนทุน                    การเงิน                       สายธารรายได
   1. เงินเดือนพนักงาน      2. คาเชา                                   1. ยอดขายสินคา
   3. คาขนสง 4. คาโฆษณา คาพรีเซ็นเตอร                               2. จากการขายในรูปแบบ Franchise
   5. คาวัตถุดิบ           6. คาสาธารณูปโภค




                                                       กรณีศึกษา



    งานกลุม ของ นศ. MBA & MM    WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




             บทเรียนการตลาดที่ลมเหลว NEW COKE




    งานกลุม ของ นศ. MBA & MM    WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                                       3
บทเรียนการตลาดที่ลมเหลว NEW COKE
                                 คําวา Sip Test นั้น เปนการ "ชิม" เวลาใหกลุมตัวอยางลอง ก็ไดแค
                            "ชิม" ไดแค "จิบ" คนละนิด ซึ่งดวยธรรมชาติของลิ้นคนเรา มักจะถูกดึงดูด
                            ไดงายกวา ดวยรส "หวาน" ดวยเหตุนี้ คนที่ไดลอง จึงบอกวาชอบถวยที่เปน
                            "เปปซี่" ไมใช "โคก" ทั้งที่จริงๆ แลว หากใหด่มจนหมดกระปองหรือหมด
                                                                              ื
                            ขวด สิ่งที่ผูคนจะชื่นชอบ หาใชรสชาติหวานของเปปซี่ไม ...แตคือรสหนัก
                            แนนๆ ซาสสะใจ ของ "โคกเดิม" นั่นแหละ ที่เขาจะเลือกกินเสมอ!!
                                   ผูบริโภคสวนใหญที่ชอบดื่มน้ําอัดลม แทจริงแลวเขาชอบ "โคก"
                            มากกวาเยอะ เปนเพราะรสชาติที่ "ซาส" ไมหวานเกิน กินแลวไม "เอียน"
                            งาย และนั่นคือเหตุผลสําคัญที่ทําใหยอดขายของโคก "เหนือ" เปปซี่มาตลอด
                                   แต "โคก" กลับเปลี่ยนแปลง ทิ้ง "จุดแข็ง" ที่ตัวเองมีเพื่อหวังจะให
                            ผูบริโภคชอบ หมายมั่นจะเอาชนะ "เปปซี่" ใหได ผลลัพธที่ได จึงกลายเปน
                            ความ "ลมเหลว" ไมเปนทา!!
                                 หลังจากรูวาฟดแบ็คย่ําแย โรเบอรโต กอยซูเอตา CEO จึงยกเลิก "New
                                              
                            Coke" ทั้งหมด และเข็นเอา "โคกเกา" กลับสูตลาด เปน "โคกเดิม" ที่คนเขา
                            เคยคุนเคย แตเพราะกลัวคนไมเชื่อ จึงตองพวงคําตอทายแบรนดไปวา นี่คือ
                            "โคก คลาสสิค" (Coke Classic) มันคือ "โคกรสเกา" ที่คุณๆ ไวใจนั่นเอง
งานกลุม ของ นศ. MBA & MM    WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




         ศึก “ไรน้ําตาล”ของยักษน้ําดําในไทย




งานกลุม ของ นศ. MBA & MM    WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




        ศึก “ไรน้ําตาล”ของยักษน้ําดําในไทย
                 รสชาติโคกเต็มรอย แตน้ําตาล 0 เปอรเซ็นต เดินหนาทําตลาด ดวยงบประมาณ 50 ลาน
                 บาท อยางเต็มที่ภายใตสโลแกน “รสชาติโคกเต็มรอย แตมีน้ําตาลศูนยเปอรเซ็นต” เพื่อ
                 แขงขันกับ เปปซี่ แม็กซ ที่ชูจุดขาย 0 แคลอรี่ แตรสชาติเหมือนกับเปปซี่ เหมือนกัน
                 Experience Real Zero โดยกิจกรรมแรกคืองาน Experience Real Taste, Experience
                 Real Zero ซึ่งเปนเอ็กซคูลซีฟปารตี้แนวฮิปแอนดคูล ในบรรยากาศแบบคลับชั้นนําของ
                 อังกฤษ โดยเชิญ 3 คนดังมารวมเปดใจถึงประสบการณ Real ในแบบของตัวเอง พรอมเลือก
                 ผูบริโภคอีกกวา 100 คนที่มีบุคลิกโดดเดนเขารวมงานและใหความสําคัญกับการทําตลาด
                 เชงประสบการณ หรอ Experiential Marketing เพอทาใหผู รโภคมโอกาสสมผสกบรสชาต
                 เชิงประสบการณ หรือ E i ti l M k ti เพื่อทําใหผบริโภคมีโอกาสสัมผัสกับรสชาติ
                 ของสินคาโดยตรง
                 ประทับใจเต็มรอย หลังจากนั้น โคก ซีโร ก็เริ่มทําการสื่อสารถึงกลุมเปาหมายผานทางสื่อ
                 ตาง ๆ อยางเต็มรูปแบบ โดยมีภาพยนตรโฆษณาทางโทรทัศนเปนแกนหลัก ซึ่งเริ่มดวย
                 ภาพยนตรโฆษณาเรื่อง Genesis เพื่อบอกกลาวถึงการเดินทางมาถึงเมืองไทยของ โคก ซีโร
                 ในชวงเริ่มตนทําตลาด กอนที่จะตามมาดวย แคมเปญโฆษณาชุด ความประทับใจเต็มรอย
                 ซึ่งเปนโฆษณาแนวTestimonial 6 เรื่อง โดยใหผูบริโภคหลากหลายกลุมมาพูดถึงความชื่น
                 ชอบที่พวกเขามีตอโคก ซีโร ในมุมตาง ๆ กัน กอนจะปดทายดวยการให พรวุฒิ สารสิน รอง
                 ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยน้ําทิพย จํากัด ซึ่งเปนผูผลิตและผูแทนจําหนาย โคก
                 ในเมืองไทย ออกมาขอบคุณผูบริโภคที่ใหการตอบรับ โคก ซีโร อยางลนหลาม
งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                             4
ผลการศึกษา



  งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




           125 ปของโคก
                                                      John Pemberton ผูคิดคนสูตรการผลิตโคกคนแรก

 1886 -1892 : จุดเริ่มตนทีแอตแลนตา
                           ่                             Asa Candler นําโคกเขาสูธุรกิจการตลาด
                                                         ในป 1894 Joseph Biedenharn เปนบุคคลแรกที่นําโคก
ในป 1893 – 1904 : ออกนอกแอตแลนตา                       ไปใสไวในขวด
                                                         ในป 1895 Candler ไดสรางโรงงานน้ําตาลในชิคาโก ,
                                                          ดัลลัส และ ลอส แองเจอรีส
 ในป 1905 – 1918 : การรกษาแบรนด
 ในป              การรักษาแบรนด
                                                                  สรางรูปแบบของทรงขวดที่โดดเดน

 ในป 1919 – 1940 : ปของ Woodruff                                 ในป 1916 ไดเริ่มจัดตั้งโรงงานผลิตขวด

                                                   ในป 1931 : บริษัทฯ ไดโฆษณาสินคาในแม็กาซีน
ในป 1941 1959 : สงครามและมรดก
                                                 สงครามโลกครั้งที่ 2 Coca-Cola อยูเบื้องหลังการสนับสนุน
                                                 ในฐานะผูใหบริการระดับชาติ

                       ในป 1956, Coca-Cola ไดเปดตัวโฆษณาทีวีที่UKเกี่ยวกับ “ความสดชื่นที่แตกตาง“
  งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




           125 ปของโคก
ในป 1960 – 1981 : โฆษณา “ฉันอยากจะสอนโลกใหรองเพลง”
                                                            ผลิตสินคาชนิดใหมที่เรียกวา “Diet Coke”
ในป 1982 -1989 : บทเรียนโคกใหมลมเหลว
                                                       ป 1985 ไดทําในสิ่งที่ผิดพลาดที่สุดดวยการ “เปลี่ยนสูตร
                                                        ผลิตน้ําโคกที่ผลิตมา 99 ป เปนครั้งแรก” >New Coke<

ในป 1990 – 1999 : The Fruit effect            ป 1991 Charles Fruit รวมงานกบ Coca Cola เปนผูอยูเบองหลงใน
                                               ป                   รวมงานกับ Coca-Cola เปนผ ย บื้องหลังใน
                                               หลายโครง เชน “Aways Coca-Cola” รายการTV”American Idol”

ในป 2000 เปนตนมา : การเดินทางไปจับมือกับสือสังคม
                                             ่
                     ไดพยายามเพิ่มยอดการจําหนายดวยการเพิ่มสินคา Coke Zero ในจุดที่ขายดีที่สุดในราน
                     สะดวกซื้อ และมีการใชเงินเปนลานปอนดในการโฆษณาเพื่อสรางกระแสใหผูชายมาดื่ม
                     Coke Zero ภายใตภาพลักษณตราสินคา Diet Coke

                     ป 2007 ไดทําการผลิตนวัตกรรมใหมเกี่ยวกับรสชาติ เชน กลิ่นวนิลา เลมอน แตก็
                     ไมประสบความสําเร็จ
 งานกลุม ของ นศ. MBA & MM    WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                                   5
SWOT Analysis


                              Strength                           Weakness


                                             SWOT Analysis




                     Opportunities                                    Treat




  งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




        SWOT Analysis (ตอ)
Strength
 Coca Cola เปนผูเปดตลาดเปนรายแรกทําเปนที่สนใจและดึงดูดใจของผูบริโภค จึงเปน
  ผูนาตลาดทางดาน fountain market เชน ในป 2000 Coca Cola มีสัดสวนตลาดนี้ถึง 65%
      ํ
 เปน Global Brand ที่สั่งสมความนาเชื่อถือมายาวนาน และมี Positioning ที่ชัดเจนทําให
  ผูบริโภคจดจํา Brand ไดอยางแมนยํา เกิดจากการรับรูของผูบริโภค ทําใหคูแขงไม
  สามารถเลยนแบบ และทาการแขงขนไดยาก (ผู ริโภคมี
  สามารถเลียนแบบ และทําการแขงขันไดยาก (ผบรโภคม Loyalty สง )    สูง
 มีอํานาจในการตอรองกับคูคาและธุรกิจที่เกี่ยวของไดมาก
 มีการตลาดที่ดี เชน การทํา Promotion ในชวงเวลาตางๆอยางเหมาะสม การวางแผน
  การตลาดดานตางๆ รวมถึง การโฆษณาดวย
 Coca Colaใช กลยุทธ Emotional Marketing และ Lifestyle "มีทัศนคติดานบวกและมอง
  โลกในแงดี" หรือ "ดื่มโคกแลวทําใหมีความสุข" จาก แคมเปญ Coke Slide of Life เปน
  แคมเปญที่เนนกันที่ Emotional ลวนๆ เพื่อตองการสรางความรูสึกขึ้นในใจของให
  ผูบริโภค และใชอารมณความรูสึกในการตัดสินใจซื้อ ซึ่งเปนกลยุทธที่มีความสรางสรรค
  และตรงใจผูบริโภคเปนอยางมาก
  งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




         SWOT Analysis (ตอ)
Weakness
 การจะเสนอผลิตภัณฑใหมๆ นั้นเปนไปไดยาก เนืองจาก Coca Cola เปนที่รูจักของ
                                                  ่
  ผูบริโภคในดานน้ําดื่มโคลา การทีจะขยายไปในดานอื่นนั้นเปนเรื่องที่ยากที่ผูบริโภคจะให
                                     ่
  ความสนใจและเชื่อถือ ซึงถาขยายความกวางของผลิตภัณฑมากไปจะทําใหสนคาโคลานี้
                             ่                                                  ิ
  ออนกําลังไปดวย
 มีความเปนนักอนรักษ(Conservative) ทําใหการปรับตัวของบริษัทไมทันกับคแขงรายอื่นๆ
  มความเปนนกอนุรกษ(Conservative) ทาใหการปรบตวของบรษทไมทนกบคู ขงรายอนๆ
 มีสายการผลิตที่กวางมากจนยากทีจะควบคุมการผลิต
                                       ่
 โคกมักถูกมองวาไมมี Innovation จะเห็นไดจากสินคาที่มใหเลือกไมมากนัก และยังถือวา
                                                         ี
  นอยกวาคูแขง ซึ่งอาจทําใหผบริโภคหันไปทดลองสินคาอื่นที่มีความแปลกใหมไดงาย
                                 ู
 เปนเครื่องดื่มที่ไมมีคุณคาทางโภชนาการ ไมมีประโยชนตอรางกาย
                                                           
 ความสามารถในการขยายผลิตภัณฑมีคอนขางจํากัด เนื่องจากการปรับปรุงผลิตภัณฑให
  เหมาะสมกับ line สินคาเดิมเปนเรื่องที่ยาก และอาจทําใหภาพ ความ Classic ออนลง

  งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                              6
SWOT Analysis (ตอ)
  Opportunities
   ตลาดยังเปดกวางสําหรับเครื่องดื่มไรแอลกอฮอล
   การสื่อสารไรพรมแดน ทําใหผลิตภัณฑเขาถึงผูบริโภคไดงายขึ้น
   ลักษณะของสินคา เนื่องจากตัวผลิตภัณฑที่เปนเครื่องดื่มโคลานั้นมีจดตางจากเครื่องดื่ม
                                                                           ุ
    อื่นซึ่งผูบริโภคเชื่อวาดื่มแลวชวยสรางความสดชื่นซึ่งเปนเสมือนจุดขายของสินคานี้
   เทคโนโลยี ที่มการพัฒนาอยางตอเนื่องซึ่งในอนาคตขางหนาเทคโนโลยียอมพัฒนาขึ้น
    เทคโนโลย ทมการพฒนาอยางตอเนองซงในอนาคตขางหนาเทคโนโลยยอมพฒนาขน
                     ี
    อยางมากชวยในดานการผลิต การโฆษณาชวยใหผูบริโภครูจักไดมากขึน การกระจาย
                                                                            ้
    สินคา เปนตน
   การเขาถึงผลิตภัณฑของผูบริโภคมีมากขึนเพิ่มความสะดวกใหกบผูบริโภค ซึ่งก็เนื่องมาจาก
                                                ้                     ั
    การพัฒนาทางเทคโนโลยีดวย




      งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                SWOT Analysis (ตอ)
    Treat
     มีสนคาตัวแทน เนื่องจากตลาดเครื่องดื่มนี้มีการขยายออกอยางแพรหลายทําใหผบริโภคมี
          ิ                                                                                     ู
      ทางเลือกมากขึ้นกวาในอดีต
     ภาวะเศรษฐกิจหรือราคาของวัตถุดิบผันผวน เชน ราคาน้ําตาลที่สงขึ้นยอมทําใหสงผลตอ
                                                                                ู
      ราคาตอหนวยของสินคาดวยหากราคาสูงขึ้น ความตองการยอมลดลง
     เปบซี่ใชกลยุทธ In&Out คือ การสรางProductใหมๆ บนฐานของน้าดํา เพือสรางสีสันให
                    ุ                                                             ํ    ่
      ตลาดมีทั้งเปปซี่แม็กซ, เปปซี่ทวิสต, เปปซี่บลู, เปปซี่ไฟร, เปปซี่ไอซ และเปปซี่ลาเต ทําให
      ผูบริโภคเกิดทางเลือกที่มากขึ้นและมีความรูสกถึงความแปลกใหมและอาจใหความสนใจ
                                                        ึ
      และทดลองบริโภค จนอาจเกิดการ Switching Brand ได
     การแขงขันที่รุนแรง ทั้งตลาดเดิมและเครื่องดื่มใหมที่พยายามเขามาเรื่อยๆ ทําใหการครอง
      สวนแบงตลาดจํานวนมากนั้นยากขึ้น
     คานิยมของผูบริโภคมีการเปลี่ยนแปลง คือใหความสําคัญเรื่องสุขภาพมากขึ้น
     จากผลสํารวจ ผูบริโภคสวนใหญชื่นชอบรสชาติของเปปซี่มากกวา

      งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                Five Forces Model(ตอ)
                            Model(
     มีโอกาสเนอยมากเพราะผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวาน
                              
     กับผูบรรจุขวดมีการทําสัญญาแฟรนไชส             คูแขงรายใหม                      มีไมมาก เนื่องการจัดจําหนาย
                                                                                         เปนหนาที่ของผูบรรจุขวดซึงมี
                                                                                                                     ่
                                                                                         การทําสัญญาเฟรนไชส



                          อานาจตอรอง
                          อํานาจตอรอง                                           อานาจตอรอง
                                                                                 อํานาจตอรอง
                            ของผูขาย                คูแขงปจจุบัน                ของผูซื้อ
ผูขายที่มีอํานาจการตอรอง
มากที่สุด ไดแก ผูจําหนาย
บรรจุภณฑ เนื่องจากเปน
       ั
ตนทุนที่สูงที่สุด                                                                       คูแขงในตลาดน้ําอัดลม คือ
                                                                                         เปปซี่
                                                     สินคาทดแทน
          มีหลากหลาย ไดแก ชา กาแฟ รูทเบียร น้ํา
          ผลไม ซึ่งเปนราคาที่ใกลเคียงกัน และมี
          อัตราการเพิ่มสูงขึ้นของยอด
      งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555   วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                                          7
ADKAR model
                       สรางความตระหนักความจําเปนที่จะตองมีการเปลียนแปลง ผูมีสวนไดสวนเสียและผูบริโภคของ
                                                                    ่
                       Coca-Cola ไดทราบการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่งในการบริหารจัดการ
                                                  ess
                                        การสนับสนุนและการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของ ของพนักงานใน Coca-Cola
                                                  busin
                                                  of the
                                        โดยเฉพาะอยางยิ่งคนในตําแหนงผูบริหารที่มีสวนรวมในการเปลียนแปลงที่เกิด
                                                  iption                                            ่
                                        กับบริษัทตองเผชิญในกรณีของการเปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑของ Coca-Cola
                                                  Descr
                                                  3.

                                         การใหความรู เกยวกบวธการเปลยนแปลง ผูจดการอาวุโสของ Coca-Cola
                                         การใหความร เกี่ยวกับวิธีการเปลียนแปลง ผ ัดการอาวโสของ C C l
                                                                              ่
                                         ไดมีความรูเพียงพอเกี่ยวกับการเปลียนแปลงที่จะตองเกิดขึนภายในบริษท จึง
                                                                            ่                    ้         ั
                                         สามารถตอบโตวิกฤติการเงินเอเชียในป 1997

                                        ความสามารถ ,การใชทกษะใหมๆ Coca-Cola ไดมีการนําเอาความผิดพลาด
                                                                  ั
                                        มาใชชวยพัฒนาตัวเองใหดียิ่งขึนไป Coca-Colaสามารถการดําเนินการเปลี่ยนแปลง
                                                                        ้
                                        ที่ไมใชแคในประเทศแตทั้งภูมิภาคทีทําใหประสบความสําเร็จ
                                                                            ่

                                สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง จากเหตุการณที่ผานๆมาจะพบวา Coca-Cola มีการ
                                สนับสนุนการเปลียนแปลงในบริษท เชน การรีแบรนด และการทําผลิตภัณฑใหมๆ
                                               ่           ั

งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




       วิธีเปลี่ยนแปลงองคกร 8 ขั้นตอน




                                                                                   วิสัยทัศนในป 2020
                                                                       - เติมความสดชื่นใหโลก
                                                                       - บันดาลใจใหเกิดชวงเวลาแหงความสุข
                                                                       และสิ่งดีๆ
                                                                       - เพิ่มคุณคาและสรางความแตกตาง
งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                             สรุป



งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                                     8
สรุป

                               “โคก”ไมวาผานมากี่ปๆ ก็มการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตัวเอง
                                                                ี
                               เพื่อใหแบรนดดูทันสมัยตลอดเวลา ไมวาจะเปนการปรับเปลี่ยน
                               โลโกในแตละชวงอายุใหดูอินเทรนด ปรับเปลี่ยนวิธีการทําโฆษณา
                               ประชาสัมพันธ ตลอดจนเสริมกิจกรรมการตลาดทีสามารถเจาะ    ่
                               เขาถึงกลุมลูกคาเปาหมาย
                                         
                                     จะเห็นวารุนพอรุนแมดื่มโคกยังไง เด็กสมัยนีก็ยังดื่มโคกอยาง
                                                                                    ้
                               นั้นโดยไมมีอาการเคอะเขิน ดังนั้นการทีโคกยืนหยัดอยูที่อันดับ 1
                                                                          ่
                               ไมเปลี่ยนแปลงและมีมูลคาแบรนดเพิ่มสูงขึ้น แสดงวาเขาสามารถ
                               รักษาฐานลูกคาเกาไวไดและหาลูกคาใหมมาเติมไดอยางไมหยุด
                               หยอน


   งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                 ขอเสนอแนะ



   งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




              ขอเสนอแนะ
1. การเนนไปทีการผลิตสินคาที่สราง margin ใหกับธุรกิจ ตอกย้ําจุดแข็งของ เพื่อเพิ่มความแข็งแกรง
                  ่
กับ brand coke เพิ่มผูบริโภคที่มีลักษณะที่เปน brand loyalty ใหมากขึ้นโดยการโฆษณาที่ตัว brand ใหมาก จัด
event ที่ตอกย้ําเอกลักษณ และไมควรออก product line อื่นที่ใชชื่อ Coke เพราะจะเปนการลด brand loyalty
และตอนนี้ผูบริโภคเริ่มหันมาเอาใจใสและดูแลสุขภาพของตัวเองมากขึ้น ดังนั้น การนําเอาผลิตภัณฑที่จะชวย
บํารุงสุขภาพของผูบริโภคมาทําการประชาสัมพันธเพิ่มขึ้นก็นับวาเปนอีกหนทางหนึ่งที่จะทําใหบริษัทมียอดขาย
โดยรวมสูงขึ้นได

2.การเนนไปที่การทําการตลาด สําหรับในชวงเทศกาลตางๆ การออก Coca-Cola Limited Edition
ก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งในการเพิ่มยอดขายในชวงเวลาพิเศษเชนนี้
- การทําโฆษณาประชาสัมพันธผลิตภัณฑผานสื่อตางๆยังไมดีเทาที่ควร Coca-Cola จึงควรหันมาให
ความสําคัญกับสวนนี้มากขึน  ้
- บริษัท Coca-Cola ควรทําการ Merge & Acquisition กับบริษัทที่ผลิตขนมขบเคี้ยวชั้นนํา ดังที่ Pepsi
ไดรวมมือกับ Frito Lay ประชาสัมพันธสินคาของแตละบริษัทรวมกัน เนื่องจากสินคาของบริษัททั้งสอง
     
ประเภทนี้เปนสิ่งที่สามารถนําไปบริโภคควบคูกันไดอยางดี
- เนื่องจาก ในปจจุบันองคกรไมสามารถอยูไดดวยจุดมุงหมายในการสรางกําไรใหเกิดแกองคกรสูงสุด
                                                     
เทางานกลุม ของ้นบริMBACoca-Cola ภาคเรียนทีารออกมาแสดงความรับผิดOrganizational Change ่งแวดลอมดวย
    นั้น ดังนั นศ. ษัท & MM WU ควรมีก ่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 ชอบตอสังคมและสิ & Development




                                                                                                               9
Thank You!

L/O/G/O




งานกลุม ของ นศ. MBA & MM   WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development




                                                                                                            10

More Related Content

What's hot

Coca Cola Presentation[1]
Coca Cola Presentation[1]Coca Cola Presentation[1]
Coca Cola Presentation[1]bsvestrum11
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
Coca cola pakistan marketing mix 4 p's
Coca cola pakistan marketing mix 4 p'sCoca cola pakistan marketing mix 4 p's
Coca cola pakistan marketing mix 4 p'sSaad Malik
 
4 p’s of coca cola
4 p’s of coca cola4 p’s of coca cola
4 p’s of coca colaAdeel Haider
 
Cocacola presentation
Cocacola presentationCocacola presentation
Cocacola presentationbmkafle
 
Coca cola marketing plan
Coca cola marketing planCoca cola marketing plan
Coca cola marketing planAngelyn Ablihan
 
Coca cola company strategies
Coca cola company strategiesCoca cola company strategies
Coca cola company strategiescomsats
 
Marketing plan
Marketing planMarketing plan
Marketing planpankajx2x9
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Coca Cola vs Pepsi
Coca Cola vs PepsiCoca Cola vs Pepsi
Coca Cola vs PepsiChee Ching
 
Coca cola imc-plan
Coca cola imc-planCoca cola imc-plan
Coca cola imc-planMinalNaik5
 
Brand portfolio strategy presentation
Brand portfolio strategy presentationBrand portfolio strategy presentation
Brand portfolio strategy presentationMK-Africa
 
Coca Cola
Coca ColaCoca Cola
Coca ColaShooger
 
Perpetual inventory system in coca cola
Perpetual inventory system in coca colaPerpetual inventory system in coca cola
Perpetual inventory system in coca colaasif76
 

What's hot (20)

Coca cola 4 p s
Coca cola 4 p sCoca cola 4 p s
Coca cola 4 p s
 
Coca Cola Presentation[1]
Coca Cola Presentation[1]Coca Cola Presentation[1]
Coca Cola Presentation[1]
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
Coca cola pakistan marketing mix 4 p's
Coca cola pakistan marketing mix 4 p'sCoca cola pakistan marketing mix 4 p's
Coca cola pakistan marketing mix 4 p's
 
Coca cola
Coca colaCoca cola
Coca cola
 
4 p’s of coca cola
4 p’s of coca cola4 p’s of coca cola
4 p’s of coca cola
 
Cocacola presentation
Cocacola presentationCocacola presentation
Cocacola presentation
 
Coca cola marketing plan
Coca cola marketing planCoca cola marketing plan
Coca cola marketing plan
 
Coca cola company strategies
Coca cola company strategiesCoca cola company strategies
Coca cola company strategies
 
coca cola presentation
coca cola presentationcoca cola presentation
coca cola presentation
 
Coca Cola
Coca ColaCoca Cola
Coca Cola
 
Marketing plan
Marketing planMarketing plan
Marketing plan
 
Coca Cola Presentation
Coca Cola PresentationCoca Cola Presentation
Coca Cola Presentation
 
Coca cola
Coca colaCoca cola
Coca cola
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
Coca Cola vs Pepsi
Coca Cola vs PepsiCoca Cola vs Pepsi
Coca Cola vs Pepsi
 
Coca cola imc-plan
Coca cola imc-planCoca cola imc-plan
Coca cola imc-plan
 
Brand portfolio strategy presentation
Brand portfolio strategy presentationBrand portfolio strategy presentation
Brand portfolio strategy presentation
 
Coca Cola
Coca ColaCoca Cola
Coca Cola
 
Perpetual inventory system in coca cola
Perpetual inventory system in coca colaPerpetual inventory system in coca cola
Perpetual inventory system in coca cola
 

Viewers also liked

โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข0868472700
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวpurithem
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยChatchamon Uthaikao
 
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันรายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันDrDanai Thienphut
 
Coca-Cola Company - Brand Update
Coca-Cola Company - Brand UpdateCoca-Cola Company - Brand Update
Coca-Cola Company - Brand UpdateKelsey George
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยSMEfriend
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
Xm 603 Scenario Analysis Group 4
Xm 603 Scenario Analysis Group 4Xm 603 Scenario Analysis Group 4
Xm 603 Scenario Analysis Group 4piyapong
 
งานนำเสนอ1 วิชา om
งานนำเสนอ1 วิชา omงานนำเสนอ1 วิชา om
งานนำเสนอ1 วิชา omNakCyber
 
ไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทยไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทยI.q. Centre
 
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติWannarat Wattana
 
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m Palm SinCere
 
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า DrDanai Thienphut
 

Viewers also liked (20)

โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
Coke brand management
Coke brand managementCoke brand management
Coke brand management
 
Oishi
OishiOishi
Oishi
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
 
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมันรายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
 
British airways
British airwaysBritish airways
British airways
 
Coca-Cola Company - Brand Update
Coca-Cola Company - Brand UpdateCoca-Cola Company - Brand Update
Coca-Cola Company - Brand Update
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)
 
Case Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu ThailandCase Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu Thailand
 
Crm ออเรนทอล1
Crm ออเรนทอล1Crm ออเรนทอล1
Crm ออเรนทอล1
 
Value Chain กรณี Starbucks
Value Chain กรณี StarbucksValue Chain กรณี Starbucks
Value Chain กรณี Starbucks
 
Xm 603 Scenario Analysis Group 4
Xm 603 Scenario Analysis Group 4Xm 603 Scenario Analysis Group 4
Xm 603 Scenario Analysis Group 4
 
งานนำเสนอ1 วิชา om
งานนำเสนอ1 วิชา omงานนำเสนอ1 วิชา om
งานนำเสนอ1 วิชา om
 
ไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทยไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทย
 
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
 
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
รายงานการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อโตโยต้า
 

Similar to กรณีศึกษา บ.Coke

Term paper mgt 623 wu organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and developmentTerm paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper mgt 623 wu organizational change and developmentDrDanai Thienphut
 
Bdc412 section 3014 coca cola
Bdc412 section 3014 coca colaBdc412 section 3014 coca cola
Bdc412 section 3014 coca colaTng Tanapon
 

Similar to กรณีศึกษา บ.Coke (7)

Term paper mgt 623 wu organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and developmentTerm paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper mgt 623 wu organizational change and development
 
Bdc412 section 3014 coca cola
Bdc412 section 3014 coca colaBdc412 section 3014 coca cola
Bdc412 section 3014 coca cola
 
สินค้า Otop
สินค้า Otopสินค้า Otop
สินค้า Otop
 
สินค้า Otop
สินค้า Otopสินค้า Otop
สินค้า Otop
 
สินค้า Otop
สินค้า Otopสินค้า Otop
สินค้า Otop
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

กรณีศึกษา บ.Coke

  • 1. L/O/G/O งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development ประวัตความเปนมา ิ Coca- Coca-Cola หรือ Coke  ผูที่ถือวาเปนผูกาเนิดที่แทจริงคือ ดร.จอหน เพ็มเบอรตัน  ํ ที่เมืองแอตแลนตา มลรัฐจอรเจีย ในวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1886 เภสัชกรทองถิ่น  เริ่มตนจากการผลิตหัวเชื้อน้ําหวาน ที่ตอมาไดถูกพัฒนา จนเปน จนเปน Coke  และที่มาของคําวา Coca-Cola มาจาก ม.ร.แฟรงค เอ็ม โร บินสันที่เปนหุนสวนเปนคนเสนอชื่อนี้ขึ้นมาเริ่มจาก แนวคิดที่นาจะใช อักษรตัว C 2 ตัว จึงไดเปน Coca-Cola ซึ่งเขียนขึ้นมาดวยลายมือของเคาเอง งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development ประวัตความเปนมา(ตอ) ิ  หลังจากไดวางขายไมนาน น้ําหวานไดรับนิยมอยางมาก ดร. เพ็มเบอรตัน จึงไดขายหุนกิจการใหกับคนอื่นๆ   และตอมา อาซา จีแคนเลอร นักธุรกิจชาวเมืองแอต-แลนตา แคน ผูที่มีพรสวรรคทางการคาไดกวานซื้อหุนทั้งหมด จน กลายเปนผูครอบครองกิจการทั้งหมดแตเพียงผูเดียว  ยอดขายของ Coke ไดพุงขึ้นมาถึง 10 เทา ดวเหตุผลที่วา “Coke เปนเครื่องดื่มรสชาติเยี่ยม ดับกระหาย ใหความสด ชื่น และมีชีวิตชีวา”  วันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1893 ไดกอตั้ง บริษัท Coca-Cola และ จดทะเบียนลิขสิทธิ์เครื่องหมายการคาอยางเปนทางการ งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 1
  • 2. ประวัตความเปนมา(ตอ) ิ  มร.แคนดเลอร เชื่อวาการโฆษณาสามารถ สงเสริมยอดขายไดเปนอยางดี จึงเริ่มทํา การโฆษณาและโปรโมชั่น  เริ่มจากการแจกคูปอง สําหรับลูกคามา แลกแกว Coca-Cola และการแจกของ ชํารวยที่มีตรา Coca-Cola  ใ ป 1894 โ ในป  ี่  โรงงานแหงแรกทอยูนอกเมอง ื แอตแลนตาก็ไดถูกสรางขึ้น ในเมืองดัลลัส ในรัฐเท็กซัส และไดเริ่มขยายไปตามเมือง ใหญๆ เชน ชิคาโก ลอสแองเจลลิส  ในป 1898 ไดมีการสรางอาคารเพื่อใชเปน สํานักงานใหญ ที่เมือง แอตแลนตา Print Ad ในยุคแรกของ Coca-Cola งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development เปาหมายของโคก VISION (วิสัยทัศน) (วิ Coca-Cola เปนแบรนดเครื่องดื่มที่อยูในใจของผูบริโภคมาตลอดกวา 100 ป และ  กาวขึ้นมาเปน แบรนดอันดับ 1 ของโลกใหได MISSION (พันธกิจ) Coca-Cola จะเปนสวนหนึ่งของชีวิตเปนหลักในการทําการสื่อสารกับผูบริโภคมาโดย ตลอด Coca-Cola พยายามทําใหตัวเองดูเปนสินคาที่มีรสนิยม หรูหรา แตใกลชิดกับ ผูบริิโภคมาโดยตลอดตงแตตน การสรางสารทีี่มีเนื้อหาในเหตุการณตางๆแตทุกทีก็ โ ั้    ื ใ   ี่ มีโคกนันถูกซึมทราบ เขาไปยังความคิดของผูบริโภค "ยามกระหายนึกถึงโคก", ้ "ยามทานอาหารใหนึกถึงโคก" VALUES (คุณคาองคกร) Coca-Cola มีการถีบตัวเองอยูอยางสม่ําเสมอเพื่อเปนการย้าเตือนและเสริม ํ ภาพลักษณของ ตนเองทีวา Coca-Cola หรูหรา ทันสมัย การพัฒนา Package ใหมี ่ รูปรางแปลกตาและเนนการ Design ก็ดี การพัฒนาจากแบบฝาจีบ เปนแบบกระปอง หรือฝาเกลียวก็ดี การสรางรสชาติใหมๆอยูเสมอก็ดี ทั้งหมดลวนเปนการแสดงให เห็นถึงการไมจมปลักอยูกับที่ของ Coca-Cola งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development ผลิตภัณฑของ Coca - Cola งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 2
  • 3. Business Model พันธมิตรหลัก ความสัมพันธกับลูกคา 1. รานอาหาร 1. ใชระบบ CRM 2. บริษัทขนสงสินคา คุณคาที่นําเสนอ ทรัพยากรหลัก 2. Emotional Marketing 3. บริษัทผลิตวัตถุดิบ 1. ความสดชื่น ดับ 1. ทรัพยากรมนุษย และ Lifestyle กลุมลูกคา 4. ผูคาสง กระหาย พนักงาน 3. Brand Loyalty 1. วัยรุน 5. หางสรรพสินคา 2.เครื่องดื่มที่มีรสชาด 2. ที่ดิน อาคาร 6. McDonald’s 2. บุคคลทั่วไป เยี่ยมและเปน โรงงานตาง ๆ 7. Burger King เอกลักษณ เครื่องจักร 8. บริษัทผลิตกระปอง 3. เพิ่มคุณคาและสราง 9. บรษทบรรจุขวด 9 ิ ั ความแตกตาง  10. บริษัทผลิตหัวเชื้อ น้ําหวาน ชองทาง กิจกรรมหลัก 1. การขายตรง 1. เครื่องดื่มอัดลมและไมอัดลม 2. ซุปเปอรมารเก็ต 2. การตลาด 3. รานอาหาร งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development โครงสรางตนทุน การเงิน สายธารรายได 1. เงินเดือนพนักงาน 2. คาเชา 1. ยอดขายสินคา 3. คาขนสง 4. คาโฆษณา คาพรีเซ็นเตอร 2. จากการขายในรูปแบบ Franchise 5. คาวัตถุดิบ 6. คาสาธารณูปโภค กรณีศึกษา งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development บทเรียนการตลาดที่ลมเหลว NEW COKE งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 3
  • 4. บทเรียนการตลาดที่ลมเหลว NEW COKE คําวา Sip Test นั้น เปนการ "ชิม" เวลาใหกลุมตัวอยางลอง ก็ไดแค "ชิม" ไดแค "จิบ" คนละนิด ซึ่งดวยธรรมชาติของลิ้นคนเรา มักจะถูกดึงดูด ไดงายกวา ดวยรส "หวาน" ดวยเหตุนี้ คนที่ไดลอง จึงบอกวาชอบถวยที่เปน "เปปซี่" ไมใช "โคก" ทั้งที่จริงๆ แลว หากใหด่มจนหมดกระปองหรือหมด ื ขวด สิ่งที่ผูคนจะชื่นชอบ หาใชรสชาติหวานของเปปซี่ไม ...แตคือรสหนัก แนนๆ ซาสสะใจ ของ "โคกเดิม" นั่นแหละ ที่เขาจะเลือกกินเสมอ!! ผูบริโภคสวนใหญที่ชอบดื่มน้ําอัดลม แทจริงแลวเขาชอบ "โคก" มากกวาเยอะ เปนเพราะรสชาติที่ "ซาส" ไมหวานเกิน กินแลวไม "เอียน" งาย และนั่นคือเหตุผลสําคัญที่ทําใหยอดขายของโคก "เหนือ" เปปซี่มาตลอด แต "โคก" กลับเปลี่ยนแปลง ทิ้ง "จุดแข็ง" ที่ตัวเองมีเพื่อหวังจะให ผูบริโภคชอบ หมายมั่นจะเอาชนะ "เปปซี่" ใหได ผลลัพธที่ได จึงกลายเปน ความ "ลมเหลว" ไมเปนทา!! หลังจากรูวาฟดแบ็คย่ําแย โรเบอรโต กอยซูเอตา CEO จึงยกเลิก "New  Coke" ทั้งหมด และเข็นเอา "โคกเกา" กลับสูตลาด เปน "โคกเดิม" ที่คนเขา เคยคุนเคย แตเพราะกลัวคนไมเชื่อ จึงตองพวงคําตอทายแบรนดไปวา นี่คือ "โคก คลาสสิค" (Coke Classic) มันคือ "โคกรสเกา" ที่คุณๆ ไวใจนั่นเอง งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development ศึก “ไรน้ําตาล”ของยักษน้ําดําในไทย งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development ศึก “ไรน้ําตาล”ของยักษน้ําดําในไทย รสชาติโคกเต็มรอย แตน้ําตาล 0 เปอรเซ็นต เดินหนาทําตลาด ดวยงบประมาณ 50 ลาน บาท อยางเต็มที่ภายใตสโลแกน “รสชาติโคกเต็มรอย แตมีน้ําตาลศูนยเปอรเซ็นต” เพื่อ แขงขันกับ เปปซี่ แม็กซ ที่ชูจุดขาย 0 แคลอรี่ แตรสชาติเหมือนกับเปปซี่ เหมือนกัน Experience Real Zero โดยกิจกรรมแรกคืองาน Experience Real Taste, Experience Real Zero ซึ่งเปนเอ็กซคูลซีฟปารตี้แนวฮิปแอนดคูล ในบรรยากาศแบบคลับชั้นนําของ อังกฤษ โดยเชิญ 3 คนดังมารวมเปดใจถึงประสบการณ Real ในแบบของตัวเอง พรอมเลือก ผูบริโภคอีกกวา 100 คนที่มีบุคลิกโดดเดนเขารวมงานและใหความสําคัญกับการทําตลาด เชงประสบการณ หรอ Experiential Marketing เพอทาใหผู รโภคมโอกาสสมผสกบรสชาต เชิงประสบการณ หรือ E i ti l M k ti เพื่อทําใหผบริโภคมีโอกาสสัมผัสกับรสชาติ ของสินคาโดยตรง ประทับใจเต็มรอย หลังจากนั้น โคก ซีโร ก็เริ่มทําการสื่อสารถึงกลุมเปาหมายผานทางสื่อ ตาง ๆ อยางเต็มรูปแบบ โดยมีภาพยนตรโฆษณาทางโทรทัศนเปนแกนหลัก ซึ่งเริ่มดวย ภาพยนตรโฆษณาเรื่อง Genesis เพื่อบอกกลาวถึงการเดินทางมาถึงเมืองไทยของ โคก ซีโร ในชวงเริ่มตนทําตลาด กอนที่จะตามมาดวย แคมเปญโฆษณาชุด ความประทับใจเต็มรอย ซึ่งเปนโฆษณาแนวTestimonial 6 เรื่อง โดยใหผูบริโภคหลากหลายกลุมมาพูดถึงความชื่น ชอบที่พวกเขามีตอโคก ซีโร ในมุมตาง ๆ กัน กอนจะปดทายดวยการให พรวุฒิ สารสิน รอง ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยน้ําทิพย จํากัด ซึ่งเปนผูผลิตและผูแทนจําหนาย โคก ในเมืองไทย ออกมาขอบคุณผูบริโภคที่ใหการตอบรับ โคก ซีโร อยางลนหลาม งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 4
  • 5. ผลการศึกษา งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 125 ปของโคก John Pemberton ผูคิดคนสูตรการผลิตโคกคนแรก 1886 -1892 : จุดเริ่มตนทีแอตแลนตา ่ Asa Candler นําโคกเขาสูธุรกิจการตลาด ในป 1894 Joseph Biedenharn เปนบุคคลแรกที่นําโคก ในป 1893 – 1904 : ออกนอกแอตแลนตา ไปใสไวในขวด ในป 1895 Candler ไดสรางโรงงานน้ําตาลในชิคาโก , ดัลลัส และ ลอส แองเจอรีส ในป 1905 – 1918 : การรกษาแบรนด ในป การรักษาแบรนด สรางรูปแบบของทรงขวดที่โดดเดน ในป 1919 – 1940 : ปของ Woodruff ในป 1916 ไดเริ่มจัดตั้งโรงงานผลิตขวด ในป 1931 : บริษัทฯ ไดโฆษณาสินคาในแม็กาซีน ในป 1941 1959 : สงครามและมรดก สงครามโลกครั้งที่ 2 Coca-Cola อยูเบื้องหลังการสนับสนุน ในฐานะผูใหบริการระดับชาติ ในป 1956, Coca-Cola ไดเปดตัวโฆษณาทีวีที่UKเกี่ยวกับ “ความสดชื่นที่แตกตาง“ งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 125 ปของโคก ในป 1960 – 1981 : โฆษณา “ฉันอยากจะสอนโลกใหรองเพลง” ผลิตสินคาชนิดใหมที่เรียกวา “Diet Coke” ในป 1982 -1989 : บทเรียนโคกใหมลมเหลว  ป 1985 ไดทําในสิ่งที่ผิดพลาดที่สุดดวยการ “เปลี่ยนสูตร ผลิตน้ําโคกที่ผลิตมา 99 ป เปนครั้งแรก” >New Coke< ในป 1990 – 1999 : The Fruit effect ป 1991 Charles Fruit รวมงานกบ Coca Cola เปนผูอยูเบองหลงใน ป รวมงานกับ Coca-Cola เปนผ ย บื้องหลังใน หลายโครง เชน “Aways Coca-Cola” รายการTV”American Idol” ในป 2000 เปนตนมา : การเดินทางไปจับมือกับสือสังคม ่ ไดพยายามเพิ่มยอดการจําหนายดวยการเพิ่มสินคา Coke Zero ในจุดที่ขายดีที่สุดในราน สะดวกซื้อ และมีการใชเงินเปนลานปอนดในการโฆษณาเพื่อสรางกระแสใหผูชายมาดื่ม Coke Zero ภายใตภาพลักษณตราสินคา Diet Coke ป 2007 ไดทําการผลิตนวัตกรรมใหมเกี่ยวกับรสชาติ เชน กลิ่นวนิลา เลมอน แตก็ ไมประสบความสําเร็จ งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 5
  • 6. SWOT Analysis Strength Weakness SWOT Analysis Opportunities Treat งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development SWOT Analysis (ตอ) Strength  Coca Cola เปนผูเปดตลาดเปนรายแรกทําเปนที่สนใจและดึงดูดใจของผูบริโภค จึงเปน ผูนาตลาดทางดาน fountain market เชน ในป 2000 Coca Cola มีสัดสวนตลาดนี้ถึง 65% ํ  เปน Global Brand ที่สั่งสมความนาเชื่อถือมายาวนาน และมี Positioning ที่ชัดเจนทําให ผูบริโภคจดจํา Brand ไดอยางแมนยํา เกิดจากการรับรูของผูบริโภค ทําใหคูแขงไม สามารถเลยนแบบ และทาการแขงขนไดยาก (ผู ริโภคมี สามารถเลียนแบบ และทําการแขงขันไดยาก (ผบรโภคม Loyalty สง ) สูง  มีอํานาจในการตอรองกับคูคาและธุรกิจที่เกี่ยวของไดมาก  มีการตลาดที่ดี เชน การทํา Promotion ในชวงเวลาตางๆอยางเหมาะสม การวางแผน การตลาดดานตางๆ รวมถึง การโฆษณาดวย  Coca Colaใช กลยุทธ Emotional Marketing และ Lifestyle "มีทัศนคติดานบวกและมอง โลกในแงดี" หรือ "ดื่มโคกแลวทําใหมีความสุข" จาก แคมเปญ Coke Slide of Life เปน แคมเปญที่เนนกันที่ Emotional ลวนๆ เพื่อตองการสรางความรูสึกขึ้นในใจของให ผูบริโภค และใชอารมณความรูสึกในการตัดสินใจซื้อ ซึ่งเปนกลยุทธที่มีความสรางสรรค และตรงใจผูบริโภคเปนอยางมาก งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development SWOT Analysis (ตอ) Weakness  การจะเสนอผลิตภัณฑใหมๆ นั้นเปนไปไดยาก เนืองจาก Coca Cola เปนที่รูจักของ ่ ผูบริโภคในดานน้ําดื่มโคลา การทีจะขยายไปในดานอื่นนั้นเปนเรื่องที่ยากที่ผูบริโภคจะให ่ ความสนใจและเชื่อถือ ซึงถาขยายความกวางของผลิตภัณฑมากไปจะทําใหสนคาโคลานี้ ่ ิ ออนกําลังไปดวย  มีความเปนนักอนรักษ(Conservative) ทําใหการปรับตัวของบริษัทไมทันกับคแขงรายอื่นๆ มความเปนนกอนุรกษ(Conservative) ทาใหการปรบตวของบรษทไมทนกบคู ขงรายอนๆ  มีสายการผลิตที่กวางมากจนยากทีจะควบคุมการผลิต ่  โคกมักถูกมองวาไมมี Innovation จะเห็นไดจากสินคาที่มใหเลือกไมมากนัก และยังถือวา ี นอยกวาคูแขง ซึ่งอาจทําใหผบริโภคหันไปทดลองสินคาอื่นที่มีความแปลกใหมไดงาย ู  เปนเครื่องดื่มที่ไมมีคุณคาทางโภชนาการ ไมมีประโยชนตอรางกาย   ความสามารถในการขยายผลิตภัณฑมีคอนขางจํากัด เนื่องจากการปรับปรุงผลิตภัณฑให เหมาะสมกับ line สินคาเดิมเปนเรื่องที่ยาก และอาจทําใหภาพ ความ Classic ออนลง งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 6
  • 7. SWOT Analysis (ตอ) Opportunities  ตลาดยังเปดกวางสําหรับเครื่องดื่มไรแอลกอฮอล  การสื่อสารไรพรมแดน ทําใหผลิตภัณฑเขาถึงผูบริโภคไดงายขึ้น  ลักษณะของสินคา เนื่องจากตัวผลิตภัณฑที่เปนเครื่องดื่มโคลานั้นมีจดตางจากเครื่องดื่ม ุ อื่นซึ่งผูบริโภคเชื่อวาดื่มแลวชวยสรางความสดชื่นซึ่งเปนเสมือนจุดขายของสินคานี้  เทคโนโลยี ที่มการพัฒนาอยางตอเนื่องซึ่งในอนาคตขางหนาเทคโนโลยียอมพัฒนาขึ้น เทคโนโลย ทมการพฒนาอยางตอเนองซงในอนาคตขางหนาเทคโนโลยยอมพฒนาขน ี อยางมากชวยในดานการผลิต การโฆษณาชวยใหผูบริโภครูจักไดมากขึน การกระจาย  ้ สินคา เปนตน  การเขาถึงผลิตภัณฑของผูบริโภคมีมากขึนเพิ่มความสะดวกใหกบผูบริโภค ซึ่งก็เนื่องมาจาก ้ ั การพัฒนาทางเทคโนโลยีดวย งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development SWOT Analysis (ตอ) Treat  มีสนคาตัวแทน เนื่องจากตลาดเครื่องดื่มนี้มีการขยายออกอยางแพรหลายทําใหผบริโภคมี ิ ู ทางเลือกมากขึ้นกวาในอดีต  ภาวะเศรษฐกิจหรือราคาของวัตถุดิบผันผวน เชน ราคาน้ําตาลที่สงขึ้นยอมทําใหสงผลตอ ู ราคาตอหนวยของสินคาดวยหากราคาสูงขึ้น ความตองการยอมลดลง  เปบซี่ใชกลยุทธ In&Out คือ การสรางProductใหมๆ บนฐานของน้าดํา เพือสรางสีสันให ุ ํ ่ ตลาดมีทั้งเปปซี่แม็กซ, เปปซี่ทวิสต, เปปซี่บลู, เปปซี่ไฟร, เปปซี่ไอซ และเปปซี่ลาเต ทําให ผูบริโภคเกิดทางเลือกที่มากขึ้นและมีความรูสกถึงความแปลกใหมและอาจใหความสนใจ ึ และทดลองบริโภค จนอาจเกิดการ Switching Brand ได  การแขงขันที่รุนแรง ทั้งตลาดเดิมและเครื่องดื่มใหมที่พยายามเขามาเรื่อยๆ ทําใหการครอง สวนแบงตลาดจํานวนมากนั้นยากขึ้น  คานิยมของผูบริโภคมีการเปลี่ยนแปลง คือใหความสําคัญเรื่องสุขภาพมากขึ้น  จากผลสํารวจ ผูบริโภคสวนใหญชื่นชอบรสชาติของเปปซี่มากกวา งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development Five Forces Model(ตอ) Model( มีโอกาสเนอยมากเพราะผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวาน  กับผูบรรจุขวดมีการทําสัญญาแฟรนไชส คูแขงรายใหม มีไมมาก เนื่องการจัดจําหนาย เปนหนาที่ของผูบรรจุขวดซึงมี ่ การทําสัญญาเฟรนไชส อานาจตอรอง อํานาจตอรอง อานาจตอรอง อํานาจตอรอง ของผูขาย คูแขงปจจุบัน ของผูซื้อ ผูขายที่มีอํานาจการตอรอง มากที่สุด ไดแก ผูจําหนาย บรรจุภณฑ เนื่องจากเปน ั ตนทุนที่สูงที่สุด คูแขงในตลาดน้ําอัดลม คือ เปปซี่ สินคาทดแทน มีหลากหลาย ไดแก ชา กาแฟ รูทเบียร น้ํา ผลไม ซึ่งเปนราคาที่ใกลเคียงกัน และมี อัตราการเพิ่มสูงขึ้นของยอด งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 7
  • 8. ADKAR model สรางความตระหนักความจําเปนที่จะตองมีการเปลียนแปลง ผูมีสวนไดสวนเสียและผูบริโภคของ ่ Coca-Cola ไดทราบการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่งในการบริหารจัดการ ess การสนับสนุนและการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของ ของพนักงานใน Coca-Cola busin of the โดยเฉพาะอยางยิ่งคนในตําแหนงผูบริหารที่มีสวนรวมในการเปลียนแปลงที่เกิด iption ่ กับบริษัทตองเผชิญในกรณีของการเปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑของ Coca-Cola Descr 3. การใหความรู เกยวกบวธการเปลยนแปลง ผูจดการอาวุโสของ Coca-Cola การใหความร เกี่ยวกับวิธีการเปลียนแปลง ผ ัดการอาวโสของ C C l ่ ไดมีความรูเพียงพอเกี่ยวกับการเปลียนแปลงที่จะตองเกิดขึนภายในบริษท จึง ่ ้ ั สามารถตอบโตวิกฤติการเงินเอเชียในป 1997 ความสามารถ ,การใชทกษะใหมๆ Coca-Cola ไดมีการนําเอาความผิดพลาด ั มาใชชวยพัฒนาตัวเองใหดียิ่งขึนไป Coca-Colaสามารถการดําเนินการเปลี่ยนแปลง ้ ที่ไมใชแคในประเทศแตทั้งภูมิภาคทีทําใหประสบความสําเร็จ ่ สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง จากเหตุการณที่ผานๆมาจะพบวา Coca-Cola มีการ สนับสนุนการเปลียนแปลงในบริษท เชน การรีแบรนด และการทําผลิตภัณฑใหมๆ ่ ั งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development วิธีเปลี่ยนแปลงองคกร 8 ขั้นตอน วิสัยทัศนในป 2020 - เติมความสดชื่นใหโลก - บันดาลใจใหเกิดชวงเวลาแหงความสุข และสิ่งดีๆ - เพิ่มคุณคาและสรางความแตกตาง งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development สรุป งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 8
  • 9. สรุป “โคก”ไมวาผานมากี่ปๆ ก็มการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตัวเอง  ี เพื่อใหแบรนดดูทันสมัยตลอดเวลา ไมวาจะเปนการปรับเปลี่ยน โลโกในแตละชวงอายุใหดูอินเทรนด ปรับเปลี่ยนวิธีการทําโฆษณา ประชาสัมพันธ ตลอดจนเสริมกิจกรรมการตลาดทีสามารถเจาะ ่ เขาถึงกลุมลูกคาเปาหมาย  จะเห็นวารุนพอรุนแมดื่มโคกยังไง เด็กสมัยนีก็ยังดื่มโคกอยาง ้ นั้นโดยไมมีอาการเคอะเขิน ดังนั้นการทีโคกยืนหยัดอยูที่อันดับ 1 ่ ไมเปลี่ยนแปลงและมีมูลคาแบรนดเพิ่มสูงขึ้น แสดงวาเขาสามารถ รักษาฐานลูกคาเกาไวไดและหาลูกคาใหมมาเติมไดอยางไมหยุด หยอน งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development ขอเสนอแนะ งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development ขอเสนอแนะ 1. การเนนไปทีการผลิตสินคาที่สราง margin ใหกับธุรกิจ ตอกย้ําจุดแข็งของ เพื่อเพิ่มความแข็งแกรง ่ กับ brand coke เพิ่มผูบริโภคที่มีลักษณะที่เปน brand loyalty ใหมากขึ้นโดยการโฆษณาที่ตัว brand ใหมาก จัด event ที่ตอกย้ําเอกลักษณ และไมควรออก product line อื่นที่ใชชื่อ Coke เพราะจะเปนการลด brand loyalty และตอนนี้ผูบริโภคเริ่มหันมาเอาใจใสและดูแลสุขภาพของตัวเองมากขึ้น ดังนั้น การนําเอาผลิตภัณฑที่จะชวย บํารุงสุขภาพของผูบริโภคมาทําการประชาสัมพันธเพิ่มขึ้นก็นับวาเปนอีกหนทางหนึ่งที่จะทําใหบริษัทมียอดขาย โดยรวมสูงขึ้นได 2.การเนนไปที่การทําการตลาด สําหรับในชวงเทศกาลตางๆ การออก Coca-Cola Limited Edition ก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งในการเพิ่มยอดขายในชวงเวลาพิเศษเชนนี้ - การทําโฆษณาประชาสัมพันธผลิตภัณฑผานสื่อตางๆยังไมดีเทาที่ควร Coca-Cola จึงควรหันมาให ความสําคัญกับสวนนี้มากขึน ้ - บริษัท Coca-Cola ควรทําการ Merge & Acquisition กับบริษัทที่ผลิตขนมขบเคี้ยวชั้นนํา ดังที่ Pepsi ไดรวมมือกับ Frito Lay ประชาสัมพันธสินคาของแตละบริษัทรวมกัน เนื่องจากสินคาของบริษัททั้งสอง  ประเภทนี้เปนสิ่งที่สามารถนําไปบริโภคควบคูกันไดอยางดี - เนื่องจาก ในปจจุบันองคกรไมสามารถอยูไดดวยจุดมุงหมายในการสรางกําไรใหเกิดแกองคกรสูงสุด  เทางานกลุม ของ้นบริMBACoca-Cola ภาคเรียนทีารออกมาแสดงความรับผิดOrganizational Change ่งแวดลอมดวย นั้น ดังนั นศ. ษัท & MM WU ควรมีก ่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 ชอบตอสังคมและสิ & Development 9
  • 10. Thank You! L/O/G/O งานกลุม ของ นศ. MBA & MM WU ภาคเรียนที่2/2555 วิชา BUS 626/MGT 623 Organizational Change & Development 10