SlideShare a Scribd company logo
Chapter_3
โครงสร้างของระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดการ
Introduction
• ระบบสารสนเทศจาแนกตามโครงสร้างองค์กร
• การจาแนกตามหน้าที่ขององค์กร
• การจาแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
• ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
• ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
• ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
Introduction
• ระบบสารสนเทศสาหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ
• ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
• ปัญญาประดิษฐ์
• ระบบผู้เชี่ยวชาญ
• สรุป
ระบบสารสนเทศ
•ระบบสารสนเทศของหน่วย
งาน Departmental IS
•ระบบสารสนเทศขององค์กร
Enterprise IS
•ระบบสารสนเทศระหว่างองค์
กรInterorganizational IS
ระบบสารสนเทศจาแนก
ตามโครงสร้างขององค์กร
•ระบบสารสนเทศด้านบัญชี
•ระบบสารสนเทศด้านการเงิน
•ระบบสารสนเทศด้านการผลิต
•ระบบสารสนเทศด้านทรัพยา
กรมนุษย์
ระบบสารสนเทศจาแนก
ตามหน้าที่หลักขององค์กร
•TPS
•MRS
•DSS
EIS
GDSS
GIS
ระบบสารสนเทศจา
แนกตามการสนับสนุน
•Expert System
•Neural Networks
•Genetic Algorithm
ปัญญาประดิษฐ์
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศจาแนกตามโครงสร้างองค์กร
ระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย (Departmental IS)
ระบบสารสนเทศขององค์กร (Enterprise IS)
ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร (Interorganizational IS)
ระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย
Departmental IS
• เป็ นระบบสารสนเทศที่ออกแบบมาสาหรับหน่วยงานใด
หน่วยงานหนึ่งขององค์กร โดยแต่ละหน่วยอาจมี
โปรแกรมประยุกต์ใช้งานในงานใดงานหนึ่งของตน
โดยเฉพาะ เช่น ฝ่ ายบุคลากรอาจมีโปรแกรมสาหรับ
คัดเลือกบุคคลหรือติดตามผลการโยกย้ายงานของ
เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานซึ่งโปรแกรมทั้งหมดของระบบอาจ
เรียกว่า
Human resources information system
ระบบสารสนเทศขององค์กร
Enterprise IS
• ระบบสารสนเทศของหน่วยงานี่มีการเชื่อมโยงกับ
หน่วยงานอื่น ทั้งหมดภายในองค์กร หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ
องค์กรนั้นมีระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงทั้งองค์กร
ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร
Interorganizational IS
• เป็ นระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์กรอื่นๆ ภายนอก
ตั้งแต่ 2 องค์กรขึ้นไป เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อสารหรือ
การประสานงานร่วมมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอด
จนถึงใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ พัฒนา การผลิต และ
การส่งสินค้าและบริการ
• ปัจจุบันสารสนเทศระหว่างองค์กรนี้มีขอบข่ายเชื่อมโยง
เป็ น GIS เช่นระบบการจองตั๋วเครื่องบิน
การจาแนกตามหน้าที่ขององค์กร
• ระบบสารสนเทศด้านบัญชี
(Accounting Information System)
• ระบบสารสนเทศด้านการเงิน
(Finance Information System)
• ระบบสารสนเทศด้านการผลิต
(Manufacturing Information System)
การจาแนกตามหน้าที่ขององค์กร
• ระบบสารสนเทศด้านการตลาด
(Marketing Information System)
• ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์
(Human Resource Management Information System)
การไหลของสารสนเทศใน Supply Chain
ซัพพลายเออร์ โรงงาน ผู้จัดจาหน่าย ร้านค้าปลีก ลูกค้า
ซัพพลายเชน
การจาแนกตามการให้การสนับสนุน
ของระบบสารสนเทศ
• ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ
(Transaction Processing System-TPS)
• ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
(Management Reporting System-MRS)
• ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support Systems-DSS)
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ
Transaction processing system
ระบบจัดทารายงานสาหรับการจัดการ
Management reporting system
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
Decision supporting system
ระบบสารสนเทศสานักงาน
Office information system
ระบบย่อยของMIS
TPS MRS DSS
ระดับปฏิบัติการ
TPS
ผู้บริหารระดับกลาง
MRS
ผู้บริหาร
ระดับสูง
DSS
การตัดสินใจแบบ
ไม่มีโครงสร้าง
การตัดสินใจแบบ
กึ่งมีโครงสร้าง
การตัดสินใจแบบ
มีโครงสร้าง
ลักษณะสารสนเทศ
•ไม่ได้กาหนดล่วงหน้า
•นาเสนอแบบสรุป
•เกิดขึ้นไม่บ่อย
•มองในอนาคต
•แหล่งข้อมูลภายนอก
•ขอบเขตกว้าง
•กาหนดล่วงหน้า
•มีรายละเอียดมาก
•เกิดขึ้นประจา
•ข้อมูลในอตีต
•แหล่งข้อมูลภายใน
•ขอบเขตแคบชัดเจน
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการ
Transaction Processing Systems-TPS
• ระบบสารสนเทศที่เน้นกระบวนการบันทึก ประมวลผล
ข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจาหรือ
งานขั้นพื้นฐานขององค์กร เช่น การซื้อขายสินค้า การ
บันทึกจานวนวัสดุคงคลัง
• จะต้องมีการบันทึกข้อมูลทันทีทุกครั้งที่มีการขายสินค้า
ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับข้อมูลลูกค้า จานวนของสินค้าที่ขายไป
และการชาระเงิน
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการ
วัตถุประสงค์
1) มุ่งจัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่หน่วยงานต้องการตาม
นโยบายของหน่วยงาน หรือตามกฎหมาย เพื่อช่วยใน
การปฏิบัติงาน
2) เพื่อเอื้ออานวยต่อการปฏิบัติงานประจาให้มีความ
รวดเร็ว
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการ
วัตถุประสงค์
3) เพื่อเป็ นหลักประกันว่าข้อมูลและสารสนเทศของ
หน่วยงานมีความถูกต้องเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันและ
รักษาความลับได้
4) เพื่อเป็ นสารสนเทศที่ป้ อนข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศ
ที่ใช้ในการตัดสินในอื่น เช่น MRS หรือ DSS
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการ
หน้าที่
1) การจัดกลุ่มของข้อมูล (Classification)
2) การคิดคานวณ (Calculation)
3) การเรียงลาดับข้อมูล (Sorting)
4) การสรุปข้อมูล (Summarizing)
5) การเก็บ (Storage)
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการ
ลักษณะสาคัญ
1) มีการประมวลผลข้อมูลเป็ นจานวนมาก
2) แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อ
ตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์กรเป็ นหลัก
3) กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดาเนินการเป็ น
ประจา เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน
4) มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจานวนมาก
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการ
ลักษณะสาคัญ
5) มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว
6) TPS จะคอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังจากที่
ผลิตข้อมูลออกมาแล้ว
7) ข้อมูลที่ป้ อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลักษณะมี
โครงสร้างที่ชัดเจน(structured data)
8) ความซับซ้อนในการคิดคานวณมีน้อย
9) มีความแม่นยาและความน่าเชื่อถือค่อนข้างสูง
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการ
กระบวนการของ TPS มี 3 วิธี
1) Batch Processing
2) Online Processing
3) Hybrid System
Batch Processing
การประมวลผลเป็ นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิด
จากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวบรวมไว้เป็ นชุด เพื่อตรวจสอบ
ความถูกต้อง หรือจัดลาดับให้เรียบร้อยก่อนที่จะส่งไป
ประมวลผล โดยการประมวลผลนี้จะทาเป็ นระยะๆ
Batch Processing
ข้อมูลของ
ธุรกรรมที่
จัดชุดไว้
ป้ อนข้อมูลเข้า
แฟ้ มข้อมูล
ของธุรกรรม
(Transaction file)
ที่จัดเรียงแล้ว
ตรวจสอบความถูกต้อง &
ปรับปรุงให้ทันสมัย
รายงานที่มี
ความผิดพลาด
รายงาน
แฟ้ มข้อมูลหลักใหม่
New Master File
แฟ้ มข้อมูลหลักเดิม
Old Master File
Online Processing
ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทาให้เป็ นเอาท์พุท
ทันทีที่มีการป้ อนข้อมูลของธุรกรรมที่เกิดขึ้น เช่น การเบิก
เงินจากตู้ ATM
ธุรกรรม
ป้ อนข้อมูลผ่าน
คีย์บอร์ด
ประมวล/ปรับปรุง
ข้อมูลให้ทันสมัย
ในแฟ้ มข้อมูลหลัก
แฟ้ มข้อมูล
หลัก
ป้ อนข้อมูลทันที
Immediate Input
ประมวลผลทันที
Immediate Processing ปรับปรุงแฟ้ มข้อมูลทันที
Immediate File Update
Hybrid Systems
เป็ นวิธีการผสมผสานแบบที่ 1) และ 2) โดยอาจมี
การรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทันที แต่การประมวลผลจะทา
ในช่วงระยะเวลาที่กาหนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้ อนข้อมูลการ
ซื้อขายจากลูกค้าเข้าคอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการ
Customer Integrated Systems (CIS)
เป็ นระบบสารสนเทศที่พัฒนามาจาก TPS โดยลูกค้า
สามารถป้ อนข้อมูลและทาการประมวลผลด้วยตนเองได้
เช่น ATM การลงทะเบียนโดยผ่านโทรศัพท์มือถือ และการ
จ่ายค่าไฟฟ้ าจากคอมพิวเตอร์ที่บ้านได้
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผล
รายการExample
บริษัท Avon นาเทคนิคการป้ อนข้อมูลแบบสแกน
บาร์โค้ดสินค้าเพื่อลดความผิดพลาดของการคีย์ข้อมูลใบสั่ง
สินค้า ซึ่งทาให้มีความแม่นยามากขึ้น 76% ผลผลิตเพิ่มขึ้น
75% เวลาของการสั่งซื้อสินค้าลดลง 67% ลดต้นทุนลง
65%
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
Management Reporting Systems-MRS
ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการทางานงานตาม
ระยะเวลาที่กาหนดไว้ โดยการสรุปสารสนเทศที่มีอยู่ไว้ใน
ฐานข้อมูล หรือช่วยในการตัดสินใจในลักษณะที่มีโครงสร้าง
ชัดเจน และเป็ นเรื่องที่ทราบล่วงหน้า
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
Management alerting systems
เป็ นระบบสารสนเทศที่ให้รายงานให้ทราบถึงสถานการณ์และ
ปัญหา ตลอดจนโอกาสที่เกิดขึ้น
สรุปสถานการณ์หรือปัญหา
บางครั้งเรียกว่า Management Information System-MIS
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
หน้าที่
• ช่วยในการตัดสินใจในงานประจาของผู้บริหารระดับกลาง
• ช่วยในการทารายงาน
• ช่วยในการตัดสินใจที่เป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ และ
มีโครงสร้างแน่นอน เช่น การอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกค้า
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
ลักษณะ
ช่วยในการจัดทารายงานซึ่งมีรูปแบบที่กาหนดไว้เป็ น
มาตรฐานตายตัว
ใช้ข้อมูลภายในที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล
ช่วยในการวางแผนงานประจา และควบคุมการทางาน
ช่วยในการตัดสินใจที่เกิดขึ้นประจาหรือเกิดขึ้นบ่อยๆ
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
ลักษณะ
มีข้อมูลในอดีต ปัจจุบัน และวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคต
ติดตามการดาเนินงานภายในหน่วยงานเปรียบเทียบผล
การดาเนินงานกับเป้ าหมายและส่งสัญญาณหากมีจุดใดที่
ต้องการปรับปรุงแก้ไข
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
Data
Base
MRS
จัดทารายงาน เพื่อให้ผู้ใช้ทราบ
สถานการณ์หรือปัญหา
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
สนับสนุนการ
ตัดสินใจ
ผลิตรายงาน
ตามตารางที่
กาหนด
ผลิตรายงาน
ตามรูปแบบที่
กาหนด
รวบรวมและ
ประมวลผล
ข้อมูล
ผลิตรายงาน
ออกมาในรูปแบบ
กระดาษ
ระบบจัดทารายงานสาหรับการจัดการ
Management reporting system
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ
ประเภท
รายงานที่จัดทาเมื่อต้องการ (Demand report)
รายงานที่ทาตามระยะเวลากาหนด (Periodic reports)
รายงานสรุป (Summarized reports)
รายงานเมื่อมีเงื่อนไข (Exception reports)
ระบบจัดทารายงานเพื่อการจัดการ
ตรงประเด็น
คุณสมบัติของสารสนเทศ ความถูกต้อง
ถูกเวลา
สามารถพิสูจน์ได้
ประเภทของงานสานักงาน
การตัดสินใจ การจัดเอกสาร การเก็บรักษา การจัดเตรียมข้อมูล การติดต่อสื่อสาร
รูป คุณสมบัติของ MRS
รูป ประเภทของงานสานักงาน
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Decision Support Systems-DSS
ลักษณะของ DSS
1. ใช้สาหรับประกอบการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับ
สถานการณ์ที่มีลักษณะเป็ นแบบไม่มีโครงสร้าง
(unstructured situations) โดยจะมีการนาวิจารณ-
ญาณของมนุษย์กับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์มาใช้
ประกอบในการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Decision Support Systems-DSS
ลักษณะของ DSS
2. ระบบ DSS ช่วยในการตอบสนองความต้องการที่ไม่ได้
คาดการณ์มาก่อน
3. ช่วยในการตัดสินในที่ต้องความรวดเร็วสูง
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Decision Support Systems-DSS
ลักษณะของ DSS
4. จัดการเก็บข้อมูลซึ่งมาจากหายแหล่งได้ ทั้งภายในและ
ภายนอกหน่วยงาน
5. นาเสนอได้ทั้งรายงานที่เป็ นข้อความและกราฟิก
40
ปัจจัย
เปรียบเทียบ MRS และ DSS
MRS DSS
-ประเภทของการตัดสินใจ -การตัดสินใจที่มีลักษณะกึ่ง
มีโครงสร้าง
(semi-structured decision)
หรือมีโครงสร้าง
-การตัดสินใจที่ไม่มีโครงสร้าง
-ผู้ใช้ (users) -องค์กร -บุคคล กลุ่มคน และองค์กร
-ระบบ(systems) -ระบบจะพิมพ์รายงานออกมา
ตามระยะเวลาที่กาหนด จึงไม่ได้
ให้ผลที่ต้องการทันที
-online และ real-time
41
ปัจจัย
เปรียบเทียบ MRS และ DSS
MRS DSS
-การประมวลผล -ดึงข้อมูล(retrieve) จาก
ฐานข้อมูล
-ใช้โมเดล(Model)
ในการวิเคราะห์
-เอาท์พุท -กาหนดไว้ล่วงหน้า
-เป็ นรูปแบบของรายงาน
หรือเอกสาร
-รูปแบบยืดหยุ่นตามความต้องการ
-มีลักษณะโต้ตอบได้(interactive)
-รายงานส่วนใหญ่อยู่บนหน้าจอ
(Screen) ซึ่งสามารถพิมพ์ออกทาง
พรินเตอร์ได้
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ส่วนประกอบและโครงสร้างของ DSS
การจัดการข้อมูล(Data Management)
 การติดต่อระหว่างผู้ใช้และคอมพิวเตอร์
(User Interface)
การจัดการโมเดล(Model management)
การจัดการกับความรู้(Knowledge management)
ประเภทของ GDSS
TeleconferencingDecision room
Wide area
Decision network
Local area
Decision networksความถี่ในการ
ตัดสินใจ
สูง
ต่า
ใกล้ ไกล
ระยะทางของผู้ตัดสินใจ
ตัวอย่างการใช้ GDSS
ระบบสารสนเทศสาหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ
ประโยชน์ของ GDSS
ทาให้เกิดการมีส่วนร่วมในการประชุมเพิ่มขึ้น
สร้างบรรยากาศของความร่วมมือ
ช่วยให้มีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลภายนอกได้อย่างรวดเร็ว
ผลของการประชุมมีการบันทึกไว้
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS ย่อมาจาก
คาว่าGeographic Information System
การนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการรวบรวม
ข้อมูล ซึ่งกระจายอยู่ในรูปต่างๆ เช่น แผนที่ สถิติ - ตาราง
และคาบรรยายมาจัดเก็บไว้ให้เป็ นหมวดหมู่ในระบบที่อ้างอิง
พิกัดภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
เพื่อสะดวกในการแสดงผลและเรียกค้นข้อมูลได้
รวดเร็วถูกต้องง่ายต่อการประมวลผล ตลอดจนการวิเคราะห์
เพื่อที่จะนาไปใช้ในการวางแผนหรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ตาม
วัตถุประสงค์ของผู้ใช้ต่อไป
ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง
Executive Information Systems-EIS
Executive Support Systems-ESS
เป็ นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา
ศึกษาแนวโน้ม และการวางแผนกลยุทธ์
เป็ นระบบที่มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง
มีการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) ให้
ผู้บริหารใช้งานง่าย
Executive Information Systems-EIS
•สารสนเทศจากภายใน
•สารสนเทศจากภายนอก
•วิเคราะห์และ
วางแผนกลยุทธ์
•เจาะลึกข้อมูล
•ยืดหยุ่น
ดาต้าแวร์เฮาส์ EIS
สามารถเข้าถึงสารสนเทศ
ได้ทุกประเภท สนับสนุนการทารายงาน
ในลักษณะยืดหยุ่นและ
เป็ นเครื่องมือวิเคราะห์สารสนเทศ
ช่วยผู้บริหารระบุปัญหา
และสร้างโอกาส
ปัญญาประดิษฐ์
- ประมวลสัญลักษณ์และ
ตัวเลข
- ไม่ดาเนินตามขั้นตอนทาง
คณิตศาสตร์
- ให้ความสาคัญกับการรับรู้
แบบแผน
ระบบสารสนเทศทั่วไป
- ประมวลทางคณิตสาสตร์
- วิเคราะห์และแก้ปัญหา
ตามขั้นตอนโดยใช้หลัก
คณิตศาสตร์
ปัญญาประดิษฐ์
VS
ระบบสนเทศทั่วไป
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI)
และระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System : ES)
ปัญญาประดิษฐ์ คือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรม
เหมือนคน โดยเฉพาะความสามารถในการเรียนรู้ และความสามารถ
ทางประสาทสัมผัสซึ่งเลียนแบบการเรียนรู้และการตัดสินใจของ
มนุษย์
ปัญญาประดิษฐ์ เป็ นความพยายามที่จะพัฒนาระบบ
คอมพิวเตอร์ให้ปฏิบัติงานเหมือนกับมนุษย์ AI มีหลายสาขา เช่น
การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing)
หุ่นยนต์ (Robotics) ระบบการมองเห็น (Vision Systems) และ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
AI & ES
แม้ว่าการใช้ AI จะมีข้อจากัดมากกว่าการใช้ปัญญา
มนุษย์ แต่ในองค์กรธุรกิจก็นิยมนามาประยุกต์ใช้งานเพื่อการ
รักษาความรู้ของผู้เชี่ยวชาญที่อาจสูญเสียหรืออาจสูญหายไป
เนื่องจากการลาออก เกษียณ หรือเสียชีวิต
AI & ES
ระบบผู้เชี่ยวชาญ(Expert System)
เป็ นระบบที่รวบรวมและจัดเก็บความรู้และประสบการณ์
ของผู้เชี่ยวชาญ
โดย ES มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
- ให้คาแนะนาเกี่ยวกับความรู้และความชานาญแก่
ผู้ใช้โดยทั่วไป
- การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เชี่ยวชาญ
- ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ
ตัวอย่างของระบบผู้เชี่ยวชาญ
ด้านการแพทย์
ด้านการผลิต
ด้านธรณีวิทยา
ด้านกระบวนการผลิต
ด้านกระบวนการทางานของบริษัทบัตรเครดิต
ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ
ด้านการค้าระหว่างประเทศ
ข้อจากัดของระบบผู้เชี่ยวชาญ
การเก็บความรู้จากผู้เชี่ยวชาญทาได้ยาก
การสร้างกฎต่างๆ ทาได้ยาก
การใช้ ES จะแก้ปัญหาได้เฉพาะปัญหาที่ได้รับการ
ออกแบบและใส่ข้อมูลในโปรแกรมแล้วเท่านั้น
ES ไม่มีวิจารณญาณในการเสนอแนะ อาจนาไปสู่
อันตรายได้
ระบบสารสนเทศสานักงาน
ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information System:OIS)
หรือ ระบบสานักงานอัตโนมัติ(Office Automation System:OAS)
เป็ นระบบสารสนเทศที่นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร
OIS ช่วยในหลายๆกิจกรรม เช่น การจัดเอกสาร รายงาน
จดหมายธุรกิจ
e-mail การบันทึกตารางนัดหมาย และการค้นหาข้อมูลจาก
เว็บเพจ
ระบบสารสนเทศสานักงาน
ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information System:OIS)
หรือ ระบบสานักงานอัตโนมัติ(Office Automation System:OAS)
OIS ใช้โปรแกรมพื้นฐานทั่วไปเพื่อสนับสนุนการทางาน เช่น
โปรแกรมตารางคานวณ โปรแกรมประมวลผลคา โปรแกรม
ฐานข้อมูล โปรแกรมเว็บบราวเซอร์
OIS มีการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ
ระบบสารสนเทศสานักงาน
Office Information System (OIS)
สานักงานที่มีการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมา
เป็ นเครื่องมือสาคัญในการดาเนินงานเกี่ยวกับงาน
สานักงาน เพื่อให้ได้สารสนเทศ มาช่วยสนับสนุนการ
ตัดสินใจต่างๆ ในการบริหารให้ เป็ นไปอย่างรวดเร็วทัน
เหตุการณ์และมีความเสี่ยงต่อความผิดพลาดน้อย
ระบบสานักงานอัตโนมัติ
(Office Automation System : OAS)
การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อัตโนมัติและระบบ
เครือข่ายในสานักงานสาหรับช่วยงานต่างๆ ในสานักงาน
ให้มีการทางานโดยอัตโนมัติ เพื่อให้มีการทางานรวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ชนิดของระบบสารสนเทศสานักงาน
• แบ่งได้เป็ น 4 ประเภท
– ระบบการจัดการเอกสาร (Document Management
Systems)
– ระบบการจัดการข่าวสาร (Message-handling systems)
– ระบบประชุมทางไกล (Teleconferencing system)
– ระบบสนับสนุนสานักงาน (Office Support systems)
การผลิตเอกสารสานักงาน
การประมวลภาพ
(ImagingProcessingSystem)
การทาสาเนาเอกสาร
(Reprographics)
หน่วยเก็บข้อมูลถาวร
(ArchivalStorage)
ระบบการจัดการเอกสาร
(DocumentManagementSystems)
ไปรษณีย์อิเล็คทรอนิคส์
(E-Mail)
ไปรษณีย์เสียง (VoiceMail)
โทรสาร(Facsimile)
กระดานข่าว(WebBoard)
การสืบค้นข้อมูลโดยใช้
เครือข่ายใยแมงมุม
ระบบจัดการข่าวสาร
(Message-HandlingSystems)
การประชุมด้วยเสียง
(AudioTeleconferencing)
การประชุมด้วยภาพ
(VideoTeleconferencing)
การประชุมด้วยคอมพิวเตอร์
(ComputerConferencing)
โทรทัศน์ภายใน
(InhouseTelevision)
การทางานทางไกล
(TeleCommuting)
ระบบประชุมทางไกล
(TeleconferencingSystems)
ระบบเครือข่าย
(NetWork)
ระบบแสงสว่าง
ระบบไฟฟ้ า
ระบบปรับอากาศ
ระบบรักษาความปลอดภัย
การวางผังห้องทางาน
โปรแกรมตั้งโต๊ะอเนกประสงค์
(DesktopOrganizers)
ระบบสนับสนุนสานักงาน
(OfficeSupportSystems)
ระบบสารสนเทศสานักงาน
Office Information System

More Related Content

What's hot

ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
Min Kannita
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
Wanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศyanika12
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Napitchaya Jina
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
งาคอม
งาคอมงาคอม
งาคอมlookpair
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1Ruttikan Munkhan
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
thawiwat dasdsadas
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
Patipan Infinity
 
1intro information system
1intro information system1intro information system
1intro information system
Thamonwan Theerabunchorn
 

What's hot (16)

ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
งาคอม
งาคอมงาคอม
งาคอม
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
1intro information system
1intro information system1intro information system
1intro information system
 

Similar to Chapter 3 the structure of management information systems

อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
Chapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemChapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemthanapat yeekhaday
 
บทที่ 3 lkilogm l
บทที่ 3 lkilogm lบทที่ 3 lkilogm l
บทที่ 3 lkilogm l
รัตนา แสนรักษ์
 
Dss pp
Dss ppDss pp
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
Sassygirl Sassyboy
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
Petch Boonyakorn
 
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
Chayanee Khruewan
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
siriporn pongvinyoo
 

Similar to Chapter 3 the structure of management information systems (20)

อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
Chapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemChapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystem
 
บทที่ 3 lkilogm l
บทที่ 3 lkilogm lบทที่ 3 lkilogm l
บทที่ 3 lkilogm l
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201 เลขที่22
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
Database Ch1
Database Ch1Database Ch1
Database Ch1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
M
MM
M
 
M
MM
M
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 

More from Pa'rig Prig

4
44
3
33
2
22
1
11
5
55
4
44
3
33
2
22
1
11
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
Pa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
Pa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
Pa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
Pa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
Pa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
Pa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

Chapter 3 the structure of management information systems

Editor's Notes

  1. 07/16/96
  2. 07/16/96
  3. 07/16/96
  4. 07/16/96