SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology)
โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก การรับรู้ข่าวสารต่าง ๆ
เป็นไปอย่างรวดเร็วธุรกิจต่าง ๆ มีการแข่งขันกันมากขึ้น ส่งผลให้
ต้องมีการตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์เพื่อให้เกิดข้อได้เปรียบในการ
แข่งขัน ในการตัดสินใจนั้นจะต้องอาศัยข้อมูล (Data) ที่ถูกต้องและ
ทันสมัย จึงจะทาให้องค์กรได้รับสารสนเทศ (Information) ที่
สามารถนาไปปรับปรุงและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที
ทั้งนี้การจะเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่เกิดประโยชน์ จาเป็น
จะต้องอาศัยเทคโนโลยี (Technology) เข้ามาช่วยในการ
ประมวลผล
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หมายถึง
เครื่องมือและเทคนิคต่าง ๆที่นาไปใช้ช่วยในการออกแบบและการพัฒนา
ระบบสารสนเทศ
ซึ่งรวมถึงฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์(Software) ระบบ
ฐานข้อมูล (Database) การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication)
และระบบรับและให้บริการ (Client-Server System)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ชุดของ
องค์ประกอบที่ทาหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่าย
สารสนเทศ เพื่อช่วยการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร
การทางานของระบบสารสนเทศประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง
คือ การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Processing) และ การ
นาเสนอผลลัพธ์ (Output)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 5 องค์ประกอบ คือ
องค์ประกอบระบบ
สารสนเทศ
ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์
บุคลากรข้อมูล
ขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
• เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสำรสนเทศ
• หมำยถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้ำง รวมทั้งอุปกรณ์
สื่อสำรสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ำเป็นเครือข่ำย
ฮาร์ดแวร์
(Hardware)
• เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประกำรที่สอง
• คือลำดับขั้นตอนของคำสั่งที่จะสั่งงำนให้ฮำร์ดแวร์ทำงำนเพื่อ
ประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตำมควำมต้องกำรของกำรใช้งำน
ซอฟต์แวร์
(Software)
• คือ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับบุคคล สถำนที่ สิ่งของหรือเหตุกำรณ์ที่สนใจ
• ข้อมูลอำจได้มำจำกกำรสังเกต กำรวัด กำรนับ กำรชั่ง หรือกำรตวง
• ข้อมูลเป็นได้ทั้งตัวเลข ข้อควำม หรือข้อควำมปนตัวเลขที่สำคัญ
ข้อมูล
(Data)
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
• หมำยถึง บุคลำกรในงำนด้ำนคอมพิวเตอร์
• มีควำมรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สำมำรถใช้งำนสั่งงำนเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทำงำนตำมที่ต้องกำร
• แบ่งออกได้4 ระดับ ดังนี้
• 1. ผู้ใช้ 3. ผู้พัฒนำระบบ นักวิเครำะห์ระบบ
• 2. ผู้บริหำร 4. นักเขียนโปรแกรม
บุคลากร
• เมื่อได้พัฒนำระบบงำนแล้วจำเป็นต้องปฏิบัติงำนตำมลำดับ
ขั้นตอน
• ใช้งำนก็จำเป็นต้องคำนึงถึงลำดับขั้นตอนกำรปฏิบัติของคนและ
ควำมสัมพันธ์กับเครื่องทั้งในกรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน
ขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ปัจจุบันสามารถแบ่งระบบสารสนเทศได้เป็น 6 ประเภท ดังต่อไปนี้
TOP
(ผู้บริหารระดับสูง)
Middle
(ผู้บริหารระดับกลาง)
Operation
(ระดับปฏิบัติการ)
TPS
EIS
DSS
MIS , ES , OAS
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ระบบประมวลผลทางธุรกิจ คือ ระบบประมวลผลที่เน้นการสนับสนุน
งานทางด้านธุรกิจ
โดยเน้นการประมวลผลรายการประจาวัน (Transaction) และการเก็บ
รักษาข้อมูล
เป็นระบบแรกที่นาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูล
ระบบ TPS มักจะถูกใช้งานในระดับปฏิบัติการ
ระบบ TPS เน้นการจัดเก็บและติดตามข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง
ระบบ TPS ส่วนใหญ่จะทางานอยู่เฉพาะส่วนขององค์กรเท่านั้น
1. ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ (Transaction Processing System: TPS)
ประเภทของระบบสารสนเทศ
1. ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ (Transaction Processing System: TPS)
ลักษณะเด่นของ TPS คือ ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบ TPS คือ
1. ช่วยลดจานวนพนักงาน
2. ช่วยให้ผู้บริโภคได้รับบริการ ที่สะดวกรวดเร็วมากขึ้น
3. ช่วยเพิ่มจานวนลูกค้าให้มากขึ้น
ระบบ TPS มีการประมวลผลอยู่ 2 รูปแบบคือ
1. การประมวลผลแบบครั้งคราว (Batch Processing) เช่น การคิดภาษี
2. การประมวลทันทีที่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล (Real Time
Processing) เช่น ระบบการฝาก-ถอน ด้วยเอทีเอ็ม
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
1. ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ (Transaction Processing System: TPS)
แสดงหน้าจอในการบันทึกรายการขายของระบบสินค้าคงคลัง(TPS)
ประเภทของระบบสารสนเทศ
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS)
มีความสามารถในการคานวณและเปรียบเทียบข้อมูล
โดยทั่วไปมักผนวก TPS เข้าไว้ด้วย เพื่อให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นระบบที่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหาร ทั้งสามระดับ
รวมสารสนเทศจากทั้งภายในและภายนอกองค์กร สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งใน
อดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่าจะเป็นอนาคต
ให้สารสนเทศในช่วงเวลาที่เป็ นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวาง
แผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง
ประเภทของระบบสารสนเทศ
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS)
ให้รายงานสรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทุกส่วนทุกแผนกขององค์กร
จุดประสงค์ของรายงานจะเน้นให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นแนวโน้มและภาพรวมของ
องค์กรในปัจจุบันรวมทั้งสามารถควบคุมและตรวจสอบผลงานของระดับปฏิบัติการด้วย
ประเภทของระบบสารสนเทศ
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS)
คุณสมบัติของระบบ MIS ที่ดีสามารถสรุปได้ดังนี้
1. สนับสนุนการทางานของระบบ TPS และการจัดเก็บข้อมูลรายวัน
2. ใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน (Share Database) และสนับสนุนการทางานของ
ฝ่ ายต่าง ๆ ในองค์กร ช่วยให้ผู้บริหารทั้ง 3 ระดับ เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตาม
เวลาที่ต้องการ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS)
คุณสมบัติของระบบ MIS ที่ดีสามารถสรุปได้ดังนี้
3. มีความยืดหยุ่นสามารถรองรับความต้องการข้อมูล และสารสนเทศที่
เปลี่ยนแปลง
4. ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูลและจากัดการใช้งานของบุคคล
เฉพาะผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเท่านั้น
ประเภทของระบบสารสนเทศ
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS)
แสดงกระบวนการแปลงข้อมูลของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS
ช่วยผู้บริหารสามารถตัดสินใจภายใต้ผลสรุปและการเปรียบเทียบจากแหล่งข้อมูลอื่น
ทั้งภายในและภายนอกองค์กร
ช่วยผู้ตัดสินใจในการเลือกทางเลือก หรืออาจมีการจัดอันดับให้ทางเลือกต่าง ๆ ตามวิธี
ที่ผู้ตัดสินใจกาหนด
เป็ นระบบสารสนเทศแบบโต้ตอบได้ซึ่งจะใช้ชุดเครื่องมือที่ประกอบขึ้นจากทั้ง
ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์เพื่อช่วยให้การตัดสินใจ
มีการใช้โมเดลการวางแผนและการทานาย
ใช้ภาษาในการซักถามที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์
ประเภทของระบบสารสนเทศ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
คุณสมบัติของระบบ DSS ที่ดีสามารถสรุปได้ดังนี้
1. ช่วยผู้บริหารในกระบวนการการตัดสินใจถูกออกแบบมาให้สามารถ
เรียกใช้ทั้งปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง และแบบไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนได้
2. สามารถสนับสนุนผู้ตัดสินใจได้ในทุกระดับ แต่จะเน้นที่ระดับวางแผน
บริหารและวางแผนยุทธศาสตร์
3. มีภาพแบบการใช้งานแบบเอนกประสงค์ มีความสามารถในการจาลอง
สถานการณ์และมีเครื่องมือในการวิเคราะห์สาหรับช่วยเหลือผู้ทาการตัดสินใจ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
คุณสมบัติของระบบ DSS ที่ดีสามารถสรุปได้ดังนี้
4. เป็นระบบที่โต้ตอบกับผู้ใช้ได้ สามารถใช้งานได้ง่าย ผู้บริหารต้องสามารถ
ใช้งานโดยอาศัยความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญน้อยที่สุดหรือไม่ต้องอาศัยเลย
5. สามารถปรับให้เข้ากับความต้องการข่าวสารในสภาพการณ์ต่าง ๆ
6. มีกลไกช่วยให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
7. สามารถติดต่อกับฐานข้อมูลขององค์กรได้
8. ทางานโดยไม่ขึ้นกับระบบการทางานตามตารางเวลาขององค์กร
9. มีความยืดหยุ่นพอที่จะรองรับรูปแบบการบริหารแบบต่าง ๆ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
โปรแกรมAB : QM 3.1 ซึ่งเป็นตัวอย่างของระบบ DSS
ประเภทของระบบสารสนเทศ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
ตัวอย่างโปรแกรม AB : QM 3.1 ซึ่งเป็นตัวอย่างของระบบ DSS
ผู้ใช้สำมำรถเลือกใช้หัวข้อกำรตัดสินใจจำกเมนู เช่น เลือกหัวข้อ E เป็นกำร
ตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหำกำรขนส่งสินค้ำ
ตัวอย่ำงปัญหำกำรขนส่งสินค้ำ ซึ่งต้องกำรขนส่งสินค้ำจำกแหล่งต้นทำง 3 แห่ง
(S1, S2, S3) โดยมีสินค้ำที่ต้องกำรขนส่งจำนวน 200 200 400 ตันตำมลำดับ
ส่งไปยังแหล่งปลำยทำง 3 แห่ง (D1, D2, D3) ที่มีควำมต้องกำรซื้อสินค้ำจำนวน
300, 100, 400 ตำมลำดับ
ซึ่งแต่ละเส้นทำงมีค่ำขนส่งไม่เท่ำกัน ผู้ตัดสินใจต้องกำรทรำบว่ำควรจะส่ง
สินค้ำจำกแหล่งต้นทำงใด ไปยังปลำยทำงใดที่จะทำให้เกิดค่ำขนส่งต่ำสุด
ประเภทของระบบสารสนเทศ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
ใส่โจทย์ในการตัดสินใจ ในที่นี้เป็นการหาต้นทุนการขนส่งต่าสุด
ประเภทของระบบสารสนเทศ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
ผลลัพธ์ในการคานวณจัดเส้นทางการขนส่งต่าสุดเบื้องต้น 3200 บาท
ประเภทของระบบสารสนเทศ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
ผลลัพธ์ในการพัฒนาหาจัดเส้นทางการขนส่งที่ต่าที่สุด3100 บาท
ประเภทของระบบสารสนเทศ
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
มากกว่าสารสนเทศ
ถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์
โดยมีหลักการทางานด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทาการโต้ตอบกับมนุษย์โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้
กระจ่างในการให้ข้อแนะนา
ช่วยเหลือในกระบวนการการตัดสินใจ นั่นคือทางานคล้ายกับมนุษย์ ที่เป็ น
ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหาต่างๆ
ระบบนี้ก็ คือ การจาลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์
ประเภทของระบบสารสนเทศ
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)
คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ ดังนี้
1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทาให้ไม่
สูญเสียความรู้นั้นเมื่อผู้เชี่ยวชาญออกจากองค์กรหรือไม่สามารถปฏิบัติงานได้
2. ช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจานวนมาก
พร้อม ๆ กัน
3. สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทาการตัดสินใจได้
เป็นอย่างมาก
ประเภทของระบบสารสนเทศ
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)
คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ ดังนี้
4. ทาให้การตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
5. ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
6. มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก
ประเภทของระบบสารสนเทศ
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)
แสดงเส้นทางการตัดสินใจ (Decision Tree) ในการหาพันธุ์ปลาวาฬ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)
ตัวอย่างโปรแกรมระบบผู้เชี่ยวชาญในการหาพันธุ์ของปลาวาฬ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES)
งานสาคัญอีกอย่างหนึ่งของระบบผู้เชี่ยวชาญ คือ
กำรจำลองสถำนกำรณ์เพื่อใช้ในกำรฝึกสอนให้แก่มนุษย์เช่น กำรฝึกบิน
เครื่องบินรบ ฝึกบินเครื่องบินพำณิชย์หรือกำรควบคุมยำนอวกำศ
กำรฝึกซ้อมกำรกู้ภัยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินของแอร์โฮสเตส
ประเภทของระบบสารสนเทศ
5. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System: EIS)
สนับสนุนการทางานของผู้บริหารระดับสูง
มีเครื่องมือในการช่วยผู้จัดการดึงข้อมูลมาใช้ วิเคราะห์ เข้าไปหา
ข้อมูล สรุปผล และกระจายข้อมูลจานวนมาก
สนับสนุนการทางานของผู้บริหารระดับสูง โดยเฉพาะเรื่องที่มี
ความสาคัญต่อองค์การหรือทิศทางการดาเนินงานขององค์การโดย
การเข้าถึงสารสนเทศและรายงานต่าง ๆ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
5. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System: EIS)
ระบบ EIS ส่วนใหญ่จะเชื่อมต่อบริการข้อมูลออนไลน์เพื่อช่วยให้
ผู้บริหารระดับสูง สามารถนาข้อมูลจากภายนอกมาใช้ช่วยในการ
ตัดสินใจ
ระบบ EIS จะใช้ข้อมูลทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร
นามาสรุปอยู่ในภาพแบบที่สามารถตรวจสอบและใช้ในการตัดสินใจ
โดยผู้บริหารได้ง่าย
ประเภทของระบบสารสนเทศ
5. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System: EIS)
ช่วยให้ผู้บริหารดูรายละเอียดที่ต้องการในจุดต่าง ๆ ได้อีกด้วย
ระบบ EIS จะถูกออกแบบให้แสดงสารสนเทศขององค์กร โดยสรุป
แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถดูลึกเข้าไปถึงรายละเอียดที่ต้องการได้
โดยการเลือกหัวข้อที่สนใจและสั่งให้ระบบแสดงข้อมูลในส่วนนั้น
เพิ่มเติม
ประเภทของระบบสารสนเทศ
5. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System: EIS)
คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ดังนี้
1. ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์สูง เพราะระบบสามารถ
ใช้งานได้ง่าย
2. ระบบมีความยืดหยุ่นสูง สามารถเข้ากันได้กับกระบวนทางานของ
ผู้บริหาร
3. สนับสนุนการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน
4. สนับสนุนข้อมูลทั้งภายในและภายนององค์กร
ประเภทของระบบสารสนเทศ
5. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System: EIS)
คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ดังนี้
5. ระบบสามารถแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบอักษร ตาราง ภาพและเสียง
รวมทั้งระบบมัลติมีเดีย โดยเน้นการนาเสนอแบบกราฟิก
6. สามารถตอบสนองการทางานได้อย่างรวดเร็ว
ประเภทของระบบสารสนเทศ
6. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)
คือ ระบบสารสนเทศที่มุ่งเน้นเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วใน
การติดต่อสื่อสารและประหยัดค่าใช้จ่าย
โดยเน้นระบบการทางานที่ไม่ใช้กระดาษ (Paper-Less System) ใน
การสื่อสารระหว่างกัน
อาศัยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Computer) เป็น
ตัวกลางในการส่งผ่านข้อมูลข่าวสารด้วยหลักการและวิธีทาง
อิเล็กทรอนิกส์
ประเภทของระบบสารสนเทศ
6. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)
ตัวกลำงในกำรส่งผ่ำนข้อมูลข่ำวสำรด้วยหลักกำรและวิธีทำงอิเล็กทรอนิกส์
มีรูปแบบในกำรใช้งำน 2 ลักษณะคือ
• ได้แก่ E – mailระบบงานพิมพ์และประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Publishing & Processing System)
• กำรประชุมสื่อสำรทำงไกลแบบมีแต่เสียง (Audio
Conferencing) เช่น Voice Mail
• กำรประชุมสื่อสำรทำงไกลแบบมีแต่ข้อควำมและ
ภำพ (Image Conferencing) เช่น E- Mail , FAX
• กำรประชุมสื่อสำรทำงไกลแบบมีทั้งภำพและ
เสียง (Video Conferencing)
การประชุมทางไกลด้วยอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Meeting System)
จำแนกออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
6. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)
ภาพแสดงการประชุมทางไกลแบบมีทั้งภาพและเสียง
ประเภทของระบบสารสนเทศ
6. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)
ระบบสานักงานอัตโนมัติจะต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญดังนี้
Electronic Data Interchange (EDI)
NetworkingSystem
International Networking(Internet)
Paperless System
1.
Point Of Sale (POS) Electronic Funds Transfer (EFT)
2.
3.
4.
ประเภทของระบบสารสนเทศ
6. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)
• เป็นเทคโนโลยีที่นำมำใช้สำหรับกำรจัดกำรระบบสำรสนเทศ
• ประกอบด้วยกรรมวิธี 3 ประกำร คือ กำรนำเข้ำข้อมูล กำร
ประมวลผลข้อมูล และกำรแสดงผลข้อมูล
• กรรมวิธีทั้ง 3 นี้ ต้องอำศัยทั้งด้ำนฮำร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์
• เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับระบบสื่อสำร
• เช่น ระบบโทรศัพท์ ดำวเทียม วิทยุ โทรทัศน์ โทรเลข
เครือข่ำยคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต
• ช่วยในกำรสื่อสำร หรือเผยแพร่สำรสนเทศไปยังผู้ใช้ใน
แหล่งต่ำง ๆ
เทคโนโลยีสื่อสาร
โทรคมนาคม
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจานวนมหาศาลของแต่ละวัน
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารสนเทศ
ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในภาพที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก
ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บประมวลผลและเรียกใช้สารสนเทศ
ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็วลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและ
ระยะทาง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความเกี่ยวข้องของเทคโนโลยีสารสนเทศในการใช้ชีวิตประจาวัน
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสานักงาน
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการเงินและการพาณิชย์
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการบริการสื่อสาร
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการสาธารณสุข
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการฝึกอบรมและการศึกษา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
สรุป
เทคโนโลยีสำรสนเทศ (Information Technology: IT) หมำยถึง เครื่องมือและเทคนิค ต่ำง ๆ ที่
นำไปใช้ช่วยในกำรออกแบบและกำรพัฒนำระบบสำรสนเทศ ซึ่งรวมถึงฮำร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์
(Software) ระบบฐำนข้อมูล (Database) กำรสื่อสำรโทรคมนำคม (Telecommunication) และระบบรับและ
ให้บริกำร (Client-Server System) ซึ่งสำรสนเทศสำมำรถที่จะแบ่งเป็นระบบได้ทั้งหมด 6 ระบบ ดังนี้
1. ระบบกำรประมวลผลทำงธุรกิจ (Transaction Processing System: TPS)
2. ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำร (Management Information System: MIS)
3. ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรตัดสินใจ (Decision Support System: DSS)
4. ระบบสำรสนเทศเพื่อผู้บริหำรระดับสูง (Executive Information System: EIS)
5. ระบบผู้เชี่ยวชำญ (Expert System / Artificial Intelligence System: ES / AIS)
6. ระบบสำนักงำนอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)
ส่วนเทคโนโลยีสำรสนเทศตำมประเภทของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับงำนสำรสนเทศ แบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสื่อสำรโทรคมนำคม

More Related Content

What's hot

การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมAj.Mallika Phongphaew
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์Issara Mo
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 

What's hot (20)

การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
Smooth muscle
Smooth muscleSmooth muscle
Smooth muscle
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Flowchart napatsawanp
Flowchart napatsawanpFlowchart napatsawanp
Flowchart napatsawanp
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 

Similar to บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ

38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ幽 霊
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1Sangduan12345
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ohmchen
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเขมิกา หวานเสนาะ
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1sawitri555
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 

Similar to บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
1intro information system
1intro information system1intro information system
1intro information system
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from Wanphen Wirojcharoenwong

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายบทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 

More from Wanphen Wirojcharoenwong (10)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายบทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ