SlideShare a Scribd company logo
อุตสาหกรรม
เซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์เป็นอุตสาหกรรมที่มีความสาคัญต่อ
เศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานที่รองรับ
อุตสาหกรรมอื่นๆอีกหลายประเภท
กระบวนการผลิตเซรามิกส์แต่ละชนิดประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ
เช่น การเตรียมวัตถุดิบ การขึ้นรูป การตากแห้ง การเผาดิบ การ
เคลือบ การเผาเคลือบ นอกจากนี้อาจมีการตกแต่งให้สวยงาม
โดยการเขียนลวดลายด้วยสีหรือการติดรูปลอก ซึ่งสามารถทา
ได้ทั้งก่อนและหลังการเคลือบ
การเตรียมวัตถุดิบ
วัตถุดิบหลัก
• เมื่อนำดินขำว ถือว่ำเป็นวัตถุดิบสำคัญในกำรผลิต
ผลิต ไปผสมกับดินเหนียวจะทำให้เนื้อดินแน่นและ
และเนียนมำกขึ้น สะดวกในกำรขึ้นรูป
ดิน
• ช่วยให้ส่วนผสมหลอมเหลวที่อุณหภูมิต่ำลง
• ช่วยให้ผลิตภัณฑ์เป็นเนื้อแก้ว ทำให้เกิดควำม
โปร่งใส
เฟลด์สปาร์หรือ
หินฟันม้า
• ช่วยให้เกิดควำมแข็งแรงไม่โค้งงอ
• ทำให้ผลิตภัณฑ์ทั้งก่อนเผำและหลังเผำหดตัว
เล็กน้อย
ควอตซ์หรือหิน
เขี้ยวหนุมาน
การเตรียมวัตถุดิบ
วัตถุดิบที่ทาให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพมากขึ้น
• เป็นแร่หรือหินตะกอนที่ประกอบด้วย
CaMg(CO3)2 มีลักษณะคล้ำยหินปูน
• ใช้ปริมำณเล็กน้อยผสมในเนื้อดินเพื่อลดจุด
หลอมเหลวของวัตถุดิบ ใช้ผสมในน้ำเคลือบ
แร่โดโลไมด์
• BeO , Al2O3 เป็นวัตถุทนไฟ
• SiO2 , B2O3 เพื่อทำให้เนื้อผลิตภัณฑ์เป็น
เนื้อแก้ว
• SnO2 ,ZnO ใช้เคลือบ เพื่อทำให้ทึบแสง
สารประกอบออกไซด์
การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์
การเทแบบ
• การขึ้นรูปโดยใช้การหมุน จะปั้นได้เฉพาะภาชนะที่มีลักษณะกลม
การขึ้นรูปโดยการหลอมเหลวแล้วเทลงแบบ วิธีนี้จะได้ผลิตภัณฑ์มี
เนื้อแน่นทนการกัดกร่อนได้ดี เช่น กระเบื้อง
การเผา
• เผาดิบ หมายถึง การเผาเซรามิกส์ครั้งแรก ผลิตภัณฑ์บางชนิดเผา
แรกก็นาไปใช้ได้เลยไม่ต้องผ่านการเคลือบ เช่น กระถางต้นไม้ อิฐ
เป็นต้น
การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์
การ
เคลือบ
• สารที่ใช้เคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ คือ น้าเคลือบ เป็นสาร
ผสมระหว่างซิลิเกต กับสารช่วยหลอมละลาย เมื่อน้าเคลือบ
ได้รับอุณหภูมิจะหลอมเป็นเนื้อเดียวฉายติดกับผลิตภัณฑ์
• ส่วนผสมของน้าเคลือบแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามสมบัติทางเคมี
• ช่วยลดอุณหภูมิในการหลอมเหลว ได้แก่ ออกไซด์ของหมู่
I,II และ Pb, Zn(Na2O ,Li2O, K2O, SrO, MgO, CaO,
BaO, PbO,ZnO)
• ช่วยให้เป็นสารทนไฟและให้สี เช่น Al2O3, Fe2O3, Cr2O3,
Sb2O3, B2O3 ,Mn2O3, Bi2O3
• ช่วยให้ทึบแสง SiO2, SnO2, TiO2, CeO2, ThO2, P2O5,
V2O5, Ta2O5
การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์
เทคนิคการเคลือบ
• กำรเคลือบโดยกำรชุบหรือจุ่ม ใช้กับ
ผลิตภัณฑ์ที่มีขนำดเล็ก
• กำรเคลือบโดยวิธีเทรำดหรือพ่น ใช้กับ
ผลิตภัณฑ์ที่มีขนำดใหญ่
• ใช้แปรงหรือพู่กันทำ ใช้กับผลิตภัณฑ์ที่
ที่ต้องกำรควำมประณีต
ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ที่ใช้เป็นภาชนะรองรับหรือปรุงอาหาร
เช่น ถ้วย ชาม หม้อหุงต้ม
ผลิตภัณฑ์เครื่องสุขภัณฑ์ เช่น โถส้วม อ่างล้างหน้า ที่วาง
สบู่
ผลิตภัณฑ์กระเบื้อง เช่น กระเบื้องปูพื้น กระเบื้องกรุาาผนัง
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานด้านไฟฟ้ า เช่น กล่องฟิวส์ ฐานและมือ
จับสะพานไฟฟ้ า
วัสดุทนไฟ เช่น อิฐฉนวนทนไฟ
ผลิตภัณฑ์แก้ว เช่น แก้ว กระจก
ผลิตภัณฑ์แก้ว
• การผลิตแก้ว
• วัตถุดิบในกรใช้ผลิตแก้ว
• ทรายแก้วหรือซิลิกา
• สารประกอบคาร์บอเนต
• หินปูน
• โซดาแอช
• โดโลไมต์
• เศษแก้วประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์
การผลิตแก้ว
*สารประกอบคาร์บอเนต จะเป็นสารประกอบออกไซด์และเกิดหลอมเป็นเนื้อ
เดียวกันกับซิลิกาออกไซด์ เป็น น้าแก้ว ทาให้เกิดความแข็งแกร่งของเนื้อแก้ว
และช่วยลดอุณหภูมิในการหลอมลง
แก้วโซดาไลม์
• เป็นแก้วที่พบโดยทั่วไป ได้แก่ แก้วน้ำ
ขวดน้ำ แผ่นกระจก แตกง่ำย มีซิลิกำ
ผสมประมำณ 75เปอร์เซนต์โดยมวล
แก้วเหล่ำนี้ ทำใหเกิดสีได้โดย
• เติมออกไซด์ของแมงกำนีส จะได้
แก้วสีชำ สีน้ำตำล
• เติมออกไซด์ของ Cu ,Cr จะได้แก้วสี
สีแดง
• เติมออกไซด์ของ Co จะได้แก้วสีน้ำ
น้ำเงิน
แก้วโบโรซิลิเกต
• เป็นแก้วที่ใช้ในเตำไมโครเวฟ หรือ
ห้องปฏิบัติกำรทำงวิทยำศำสตร์ แก้ว
เหล่ำนี้มีซิลิกำผสมค่อนข้ำงสูงและเติม
ประเภทของแก้ว (แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี)
แก้วคริสตัล• เป็นแก้วที่มีซิลิกำผสมประมำณ
ประมำณ 60 โดยมวล ใช้เป็น
เครื่องประดับรำคำแพง เพรำะ
เพรำะมี PbO กับ K2O
ปริมำณสูง และต้องมีปริมำณ
ปริมำณเหล็กเจือปนน้อยมำก
แก้วโอปอล• เป็นแก้วที่มีกำรเติมสำรบำง
ชนิด เช่น NaF , CaF2 เพื่อให้
ตกผลึกและแยกชั้นในเนื้อแก้ว
แก้วมีควำมขุ่นและโปร่งใส
หลอมขึ้นรูปง่ำย
ปูนซีเมนต์ วัตถุดิบ แบ่งออกเป็น 4กลุ่ม
• จัดเป็นส่วนประกอบประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์โดยมวล อาจเป็นหินปูน
ดินสอพอง ดินมาร์ล หินอ่อน หินชอล์ก สารเหล่านี้เมื่อได้รับความร้อน
จะเปลี่ยนเป็น CaO
1.วัตถุดิบเนื้อ
ปูน
• ประกอบด้วยซิลิกาออกไซด์ อะลูมินา Fe2O3 ประมาณ16 เปอร์เซ็นต์
โดยมวล วัตถุดิบที่ใช้คือหินดินดาน
2.วัตถุดิบเนื้อ
ดิบ
• จะใช้ในกรณีที่ วัตถุดิบเนื้อปูน วัตถุดิบเนื้อดินไม่เป็นไปตามข้อกาหนด
เช่น
• ถ้ามีอะลูมินาต่า ต้องเติมแร่บอกไซต์ลงไป
• ถ้ามีเหล็กต่า ต้องเติมออกไซด์ของเหล็กลงไป
3.วัตถุดิบปรับ
คุณภาพ
• จะเติมไปในปูนเม็ดหลังการเผา เช่น เติมยิปซัม เพื่อหน่วงเวลาให้ปูน
ผสมน้า แข็งตัวช้าลง
4.สารเติมแต่ง
กระบวนการผลิต มี2แบบ
กำรผลิตปูนซีเมนต์แบบเผำเปียก กำรผลิตปูนซีเมนต์แบบเผำแห้ง
การผลิตปูนซีเมนต์แบบเผาเปี ยก
4.ลำเลียงปูนซีเมนต์ไปเก็บไว้ในยุ้งเก็บปูนซีเมนต์ผง เพื่อรอกำรจำหน่ำยต่อไป
3.นำไปเผำในหม้อเผำแบบหมุนควำมร้อนทำในน้ำระเหยออกสู่อำกำศ เหลือแต่เม็ดดิน
ดินกลำยเป็นปูนเม็ด
2.กรองเอำเศษหินและส่วนที่ไม่ละลำยน้ำออกให้เหลือแต่น้ำดินที่ละลำยเข้ำกันดี
1.นำวัตถุดิบทั้งสองชนิดมำผสมกันในบ่อตีดิน กวนให้เข้ำกัน นำไปบดให้ละเอียดในหม้อบด
หม้อบดดินจนได้น้ำดิน
วัตถุดิบหลักที่ใช้ในกำรผลิต ได้แก่ ดินขำว และดินเหนียว
กระบวนการผลิตปูนซีเมนต์แบบเผาแห้ง
หินปูน
หินดินดำน
หินลูกรัง
โม่บดหินปูน
โม่บดหินดินดำน
โม่บดหินลูกรัง
หม้อบดวัตถุดิบ
ไซโลผสมฝุ่น
วัตถุดิบ
หม้อบดปูนเม็ด
เตำเผำ
ไซโลปูนเม็ด
หม้ออบควำมร้อน
ไซโลปูนซีเมนต์
ปูนซีเมนต์แบ่งตามประเภทการใช้งาน
• เป็นปูนซีเมนต์ที่ได้จากการบดปูนกับเม็ดยิปซัม แบ่งเป็น 5 ประเภท
• ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนต์ธรรมดา ใช้สาหรับทาคอนกรีตสาหรับงานก่อสร้างทั่วไป ไม่
ต้องการคุณภาพพิเศษ
• ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนต์ใช้สาหรับทาคอนกรีต สาหรับอุตสาหกรรมที่เกิดความร้อน และ
ทนซัลเฟตได้ปานกลาง
• ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนต์ประเภทเกิดความแรงสูง เหมาะสาหรับงานคอนกรีต ที่ต้องการ
ถอดแบบได้เร็ว หรืองานที่ต้องการใช้เร็วเพื่อแข่งกับเวลา
• ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนต์ประเภทความร้อนต่า ใช้กับงานที่เป็นแท่งหนาๆ เช่น การสร้าง
เขื่อน
• ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนต์ประเภทซัลเฟตสูง ใช้กับงานก่อสร้างในทะเล
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนต์
• เป็นปูนที่มีการเติมทราย หรือหินปูนลงไป ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสาหรับงาน
ก่อสร้าง ที่ไม่ต้องการรับน้าหนักมาก เช่นงานก่อ งานฉาบ การทากระเบื้องมุงหลังคา
ปูนซีเมนต์ผสม
สมาชิกกลุ่ม
นางสาวเบญพิชชา บัวผัน เลขที่ 4
นางสาวธัญพิชชา บัวเย็น เลขที่ 5
นางสาวปภาวดี ใจจุลละ เลขที่ 12
นางสาวโสรยา ปิยะวราภรณ์ เลขที่ 19
นางสาวอนรรฆวี มณี เลขที่ 22
นางสาวกานต์จิรา ทองนวล เลขที่ 28
นางสาวทับทิม คายวง เลขที่ 34
นางสาวณัฐณิชา สายแก้ว เลขที่ 36
นางสาวชนนิกานต์ สีเมืองแก้ว เลขที่ 37
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.11

More Related Content

What's hot

การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
Aung Aung
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะKook Su-Ja
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
oraneehussem
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
Jiraporn Chaimongkol
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารSaowanee Sondech
 
การปรับตัว
การปรับตัวการปรับตัว
การปรับตัวDizz Love T
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์K.s. Mam
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
oraneehussem
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องระบบสุริยะ
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
การปรับตัว
การปรับตัวการปรับตัว
การปรับตัว
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 

อุตสาหกรรมเซรามิกส์