SlideShare a Scribd company logo
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
3 มกราคม 2555
The single most common challenge
people everywhere face was balancing
work, family and personal life.”

James G S Clawson
University of Virginia, USA

จัดพิมพ์โดย
World Scientific Publishing Co. Pte. Ltd., 2010




"Leadership is about managing
energy, first in yourself and
then in those around you.“
"Hope is not a strategy.“





เป็ นรองศาสตราจารย์ที่ the Darden Graduate School of
Business, University of Virginia, สอนวิชา MBA, Executive
Education, และ Doctoral programs.
ได้รบรางวัล David L. Bradford Educator of the Year 2009,
ั
OBTC
เขายังสอนที่ the Harvard Business School, Northeastern
University, the International University of Japan, และอีกหลาย
แห่งใน Europe, Africa, Australia, Asia, และ North America






การศึกษา
1979 Harvard University Graduate School of Business
Administration, Boston, MA, Doctor of Business Administration
(DBA). Thesis: Developmental Aspects of Superior-Subordinate
Relationships
1973 Brigham Young University, Provo, UT, Master of Business
Administration (MBA). Major: Marketing
1971 Stanford University, Stanford, CA, Bachelor of Arts with
Great Distinction (BA). Major: Japanese Language and Literature




หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงการดาเนินชีวิตของผูบริหาร ว่าแต่ละบุคคล
้
มีการบริหารจัดการชีวิตของตนอย่างไร เพื่อให้ประสบ
ความสาเร็จ
ผูประพันธ์ได้รวบรวมชีวประวัตบุคคลต่าง ๆ โดยการพูดคุย
้
ิ
สัมภาษณ์ ประมาณ 20 ราย ถึงประวัตในวัยเด็ก ชีวิตการทางาน
ิ
ชีวิตครอบครัว และแนวคิดด้านต่าง ๆ ในเรื่องความสาเร็จ และ
แง่คิดของการใช้ชีวิต
ในตอนท้ายของทุกบท จะมีคาถามในเรื่องแง่คิดต่างๆ ของบุคคลที่
ได้ศึกษา เช่น
 วิเคราะห์ว่าเหตุใดบุคคลนั้น ๆ จึงตัดสินใจเช่นนั้น
 อะไรเป็ นแรงบันดาลใจ
 เขาอยูในช่วงวงจรใดของชีวิต
่
 วิเคราะห์บุคคลผูน้นโดยใช้ Balance Wheel
้ ั
 ได้เรียนรูอะไรจากกรณีศึกษานั้น ๆ
้
Explores the challenges of balancing one’s work, family and personal life and
introduces a “Balance Wheel” framework for doing that.



อะไรคือสิ่งท้าทายที่สุดในชีวิตของคุณ ?
ระดับของปั ญหาแบ่งได้เป็ น
 ระดับสังคม

 ระดับองค์กร
 ระดับกลุ่มงาน
 ระดับบุคคล




ที่ว่านั้นเป็ นประเด็นปั ญหาเร่งด่วน หรือ ปั ญหาในระยะยาว ?
เป็ นการระบุปัญหา เพื่อจะได้แก้ไขได้ตรงจุด



0 = zero development
10 = world class development
(maximum potential of human
race) เช่น ด้าน physical คือ
นักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิ ค ด้าน
professional คือได้รบรางวัล
ั
โนเบลหรือเป็ นประธานาธิบดี
ประเทศมหาอานาจ ด้าน
financial คือมหาเศรษฐีระดับ 5
คนแรกของโลก


การประเมินตนเอง ณ เวลา
ปั จจุบน
ั
 สามารถประเมินได้ทุกปี เพื่อหา
ช่องว่างในการพัฒนาสู่
จุดมุ่งหมายในชีวิต 12 ประการ
ว่าต้องพัฒนาด้านใดเพิ่มขึ้น
 เพื่อจะได้มีชีวิตอย่างสมดุล ไม่
สุดโต่งไปด้านใดด้านหนึ่ง


บางมิตยงมีช่องว่าง บางมิตไม่มี
ิ ั
ิ
ช่องว่าง
 เป็ นการระบุว่า คุณต้องการอะไร ?
 เพื่อการตั้งเป้ าหมายที่จะเน้นการ
พัฒนาด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะที่
ยังเป็ นปั ญหา
Summarizes what we know about predictable stages in human life and
career. Invites the reader to make notes along the way about similarities in
his/her own experience.


Erikson แบ่งช่วงระยะเวลาของคนเราเป็ น 8 ช่วง โดยมีอายุ
โดยประมาณดังนี้
1. Trust vs. Mistrust (0–1)
2. Autonomy vs. Shame/Doubt (1–2)
3. Initiative vs. Guilt (2–4)
4. Industry vs. Inferiority (4–11)
5. Identity vs. Role Confusion (12–17)
6. Intimacy vs. Isolation (18–30)
7. Generativity vs. Stagnation (30–49)
8. Ego Integrity vs. Despair (50–)






เป็ นการแบ่งโดยอาศัยสมมุตฐานด้านจิตวิทยา
ิ
5 ช่วงแรกเป็ นการพัฒนาระดับต้น
Erikson มีความเชื่อว่าสภาวะแวดล้อมการเลี้ยงดูในวัยเด็ก จะ
ส่งผลต่อพฤติกรรมการแสดงออกในวัยทางาน แสดงถึงความ
เป็ นตัวตนของตนเองของแต่ละบุคคล

Erikson, E. (1950, 1963). Childhood and Society. W.W.
Norton, New York.


0–14: Growth stage
▪ Fantasy substage (age 4–10) is characterized by fantasy, role-playing.
▪ Interests substage (11–12) emphasizes likes.
▪ Capacity substage (13–14) emphasizes abilities.



15–24: Exploration stage
▪ Tentative substage (15–17) is characterized by making tentative choices.
▪ Transaction (18–21) by entering the labor market.
▪ Trial (22–24) by beginning work.



25–44: Establishment stage
▪ Trial substage (25–30) may see a change of occupation.
▪ Stabilization substage (31–44), an effort to settle down.


45–66: Maintenance stage
▪ Holding on to what one has.



65+: Decline stage
▪ Deceleration (65–70) is the beginning of retreat from work.
▪ Retirement (71–), a move out of the career.



Super, D., J. Crites, R. Hummd, H. Moser, P. Overstreet and C.
Warnath (1957). Vocational Development: A Framework for
Research. New York: Teachers College Press.
A discussion of the challenges of defining success with some good examples
and setting up the trade-offs one has to make between wealth, fame, power,
family, love, health, recreation, resonance/flow, material things, etc.
Presents a view of how to merge the static, cross-sectional view with the
dynamic longitudinal view.











ความร ่ารวย?
มีอานาจ?
มีชื่อเสียง?
มีความเชี่ยวชาญ?
การช่วยเหลือเผื่อแผ่?
มีสุขภาพดี?
มีครอบครัวเป็ นสุข?
ได้ช่วยเหลือสังคม?
สบายยามเกษียณ?




When you’re at your best, confident, productive, unaware of time,
not conscious, performing at your best in an easy way, and
learning, how do you feel?
ความสาเร็จ ไม่ใช่แค่บรรลุเป้ าหมายที่ต้งไว้ หรือการมีความสุข
ั
แต่ความสาเร็จคือ ความรูสึกว่าตนเองทาได้ดีที่สุดแล้ว มีความ
้
มั ่นใจในตนเอง มีผลผลิต ลืมเวลา ไม่รูเ้ นื้อรูตว ทางานออกมาดี
้ ั
ที่สุดได้โดยง่าย และมีการเรียนรู ้






ใน 1 อาทิตย์มีอยู่ 168 ชั ่วโมง
การใช้ชีวิตอย่างไรนั้นให้แบ่งออกมาเป็ นแต่ละอาทิตย์ว่า เรา
ทุ่มเทเวลาให้กบสิ่งใดมากน้อยเท่าใด จะเห็นภาพได้กว้างกว่า
ั
การดูว่าเราใช้เวลาในแต่ละวันอย่างไร เพราะจะรวมถึงวันสุด
สัปดาห์ดวย
้
โดยเทียบกับ Balance Wheel เพื่อจะได้ประเมินตนเองว่า ได้ใช้
เวลาในสิ่งใดมากน้อยเพียงใดในแต่ละสัปดาห์
เพราะบุคคลมักจะแนะนาว่าควรใช้เวลาให้สมดุลได้อย่างไร แต่
ไม่มีใครบอกว่าในความเป็ นจริงแล้ว ตนเองใช้เวลาอย่างไร
A diary of an MBA student working horrendous hours in investment banking.





Nelson เป็ นนักวาณิชธนกิจ ที่ทางานรัดตัว จนกระทั ่งไม่มีเวลาให้กบ
ั
สิ่งอื่นใด นอกจากทางานให้สาเร็จในระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งมักเป็ น
การทางานแข่งกับเวลาและเน้นชัยชนะ ทาให้เกิดความเครียดและ
มีอาการหมดแรงเนือง ๆ เนื่องจากใช้ชีวิตที่ไม่สมดุล
ในหนึ่งอาทิตย์เขาทาแต่งานแม้กระทั ่งในวันหยุด มีชีวิตแบบเร่งรีบ
ต้องทางานให้สาเร็จทันเส้นตายอยูเสมอ
่
เขาบอกว่านี่คือความสาเร็จในระยะสั้น เขาไม่ได้ตองการทางานใน
้
ลักษณะนี้ตลอดไป จริง ๆ แล้ว เขาใฝ่ ฝั นที่จะมีครอบครัวที่มี
ความสุข


Investment Banking Division หรือ Corporate Finance Division คนที่
ทางานด้านนี้ พูดง่ายๆ ก็คือที่ปรึกษาทางการเงิน (Financial Advisor
หรือ FA) นั ่นเอง ซึ่งทาหน้าที่ในการให้คาปรึกษาทางการเงินแก่
กิจการในด้านต่างๆ เช่น
1. การระดมทุน ออกหุนกู ้ (debentures) หรือออกหุนทุน ซึ่งหุนทุนก็
้
้
้
อาจเป็ นการเสนอขายให้กบประชาชนเป็ นครั้งแรก (IPO) ผ่านตลาด
ั
หลักทรัพย์ ซึ่งในการขาย IPO นี้มักจะทาเป็ น Underwriter ด้วยคือ
เป็ นผูรบประกันการจัดจาหน่ายหุน หรือการออกขายเพิ่มทุนเพิ่มเติม
้ั
้
เป็ น public offering หรือ right offering หรือเป็ นการเพิ่มทุนขายกับ
กลุมนักลงทุนโดยเฉพาะเจาะจง (private placement)
่


2. การซื้อขายหรือรวมกิจการ (Mergers & Acquisitions หรือ
M&A) ซึ่งจะทาหน้าที่เป็ นตัวกลางในการทา due diligence คือการ
ตรวจสอบสถานะทางการเงินและธุรกิจของกิจการ ช่วยในการทา
valuation ของกิจการที่จะทาการซื้อขายและแนะนาว่าควรซื้อขาย
ที่ราคาใด ช่วยในการเจรจาต่อรองต่างๆ รวมถึงเป็ นตัวกลางใน
การประสานงานทางานร่วมกับที่ปรึกษากฎหมาย ผูสอบบัญชี ผู ้
้
ประเมินราคาและหน่วยงานของรัฐ เป็ นต้น
3. การปรับโครงสร้างหนี้ debt restructuring
4. หน้าที่ให้คาปรึกษาทางการเงินอื่นๆ อีกมากมาย


จริงๆ แล้ว คนที่จะทางานทางด้านนี้จะจบจากสาขาใดก็ได้ แต่
ขอให้มีความรูทางด้านการเงินและบัญชี เข้าใจและวิเคราะห์งบ
้
การเงินเป็ น ทา financial modeling ได้ ทาให้ผที่มาทางานด้านนี้
ู้
ส่วนใหญ่จะจบมาทางสายการเงิน บัญชี วิศวะ เศรษฐศาสตร์เป็ น
ส่วนใหญ่ เพราะเกี่ยวข้องกับตัวเลข ซึ่งหากจบปริญญาตรี ก็จะ
เริมทางานโดยมีตาแหน่งเป็ น Analyst ซึ่งต้องทางานทุกอย่าง
่
ตั้งแต่รวบรวมข้อมูลของบริษทและข้อมูลสาธารณะ ทา financial
ั
models ทา due diligence รับผิดชอบทา presentation ให้กบพี่ๆ
ั
เพื่อไป present ลูกค้า และงาน admin อีกมากมาย


สาหรับผูที่ไม่ได้จบในสาขาดังกล่าวข้างต้น ก็สามารถทางานด้าน
้
นี้โดยเรียน MBA เพิ่มเติม สาหรับในต่างประเทศ วาณิชธนากร
เหล่านี้จะจบ MBA จากมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลก เช่น Harvard,
Stanford, Wharton, Chicago, Columbia etc เพื่อที่จะเข้าไปทางาน
Investment Bank ชั้นนาของโลกเช่น Goldman Sachs, Morgan
Stanley, Merrill Lynch เพราะบริษทพวกนี้เขาไปสัมภาษณ์งานถึง
ั
มหาวิทยาลัยเลย…


มีหลายคนจบปริญญาตรีทางด้านกฎหมาย หรือ ศิลปศาสตร์
และมาเรียนต่อ MBA เพราะพวกฝรั ่งส่วนใหญ่เก่ง แม้ไม่ได้จบ
ทางด้านตัวเลขโดยตรง ก็สามารถที่จะเรียนรูและนามา
้
ประยุกต์ใช้ได้ ซึ่งเมื่อจบ MBA จะเริ่มงานในตาแหน่ง Associate
ทางาน 3 ปี ก็จะได้ปรับเป็ น Vice President, อีก 3 ปี ปรับเป็ น
Director และอีก 3 ปี ปรับเป็ น Managing Director (MD) ซึ่งส่วน
ใหญ่จะมี career path แบบนี้หากยังแสดงผลงานอยู่ บางคนปรับ
เร็วหรือช้ากว่านี้ก็ข้ ึนอยูกบความสามารถส่วนตัว
่ ั


สาหรับผลตอบแทนมีมูลค่ามากมายมหาศาลแลกกับชีวิตส่วนตัว
ที่สูญเสียไป เพราะทางานหนักมาก อาจต้องอยูทางานถึงเที่ยงคืน
่
ทุกวันรวมเสาร์อาทิตย์ หรือวันไหนที่ตองไปนาเสนองานลูกค้า
้
(pitching) อาจต้องทางานจนถึงเช้าไม่ได้หลับนอนกันเลยทีเดียว
เพราะธุรกิจนี้มีการแข่งขันกันสูง สาหรับเงินเดือนระดับ
Associate จะเริมที่ไม่ต ่ากว่า 1 แสนเหรียญสหรัฐต่อปี บวก Sign
่
on bonus และ bonus ปลายปี เข้าไปอีกก็ไม่ต ่ากว่า 5 แสนบาทต่อ
เดือน สาหรับระดับ MD ฐานเงินเดือนก็ไม่ต ่ากว่า 1 ล้านเหรียญ
ต่อปี และ Bonus อีก 1-3 ล้านเหรียญ ก็จะได้รายได้ไม่ต ่ากว่า
70 ล้านบาทต่อปี





ถ้าจาไม่ผิด ปี ที่แล้วปี เดียว ประธาน Goldman Sachs ได้
ผลตอบแทนทั้งปี ไม่ต ่ากว่า 30 ล้านเหรียญ ชีวิตความเป็ นอยูจง
่ึ
หรูหรา มีบานใหญ่โต รถราคาแพง เครืองบินเจ็ตส่วนตัว เพราะ
้
่
มีเงินเยอะมากแต่จะไม่ค่อยมีเวลาให้กบครอบครัว เพราะงาน
ั
หนักมากและมีความกดดันสูง หากไม่ perform ก็จะโดนไล่ออก
เมื่อใดก็ได้
ข้อมูลเพิ่มเติมมีมากมายใน internet หรือเข้าไปที่ website ของ
IB ที่กล่าวมา คุณก็จะได้ขอมูลมหาศาล
้
สาหรับในเมืองไทย ผลตอบแทนก็มากมายแต่ไม่เท่ากับที่ได้รบ
ั
ในต่างประเทศ IB แนวหน้าก็ ภัทร ทิสโก้
An Iranian workaholic puts job ahead of self and family and nearly pays the
price with his life as he falls asleep while driving and has a horrendous
wreck.






ในปี ค.ศ. 1993 Hassan ในวัย 37 ปี ฉายา The Golden Boy ดารง
ตาแหน่ง Chief Financial Officer ของ Iran Office Machines Center
Co. Ltd. ในอิหร่าน ประสบอุบตเหตุทางรถยนต์ เนื่องจากหลับใน
ั ิ
เขารับผิดชอบเรืองการเงินทุกอย่างในบริษท ไม่เคยลางาน มักจะ
่
ั
มาถึงบริษทก่อนใครในเวลา 7 โมงเช้าและออกจากบริษทเป็ นคน
ั
ั
สุดท้ายในเวลา 3 ทุ่มครึ่ง เขาเป็ นคนทางานต้องสมบูรณ์แบบ
ถึงแม้อายุยงน้อย แต่เขาเป็ นความดันโลหิตสูงและเป็ นภูมิแพ้ มี
ั
อาการปวดศีรษะและปวดหลัง
วันรุงขึ้นหลังประสบอุบตเหตุ ประธานบริษทเชื่อว่าเกิดจากทางาน
่
ั ิ
ั
หนักเกินไป จึงสั ่งให้เขาพักร้อน 2 สัปดาห์
Current member of the Japanese Diet who began as an investment banker in
Europe and New York and then became the most popular of all 605 mayors
in Japan and is a part of the reform movement in Japan.




Iwakuni เกิดที่เมือง Osaka ประเทศญี่ปุ่น ปี ค.ศ. 1936 ในช่วง
สงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อเขาอายุได้ 7 ขวบ บิดาได้เสียชีวิต ทา
ให้เขาต้องทางานหนัก เพื่อช่วยเหลือมารดาและน้องสาวอีกหนึ่ง
คน ต่อมาเขาและครอบครัวได้ยายไปอยูที่เมือง Izumo
้
่
เขาเป็ นคนขยันและตั้งใจเล่าเรียนจนกระทั ่งสามารถสอบเข้า
มหาวิทยาลัยโตเกียว ซึ่งเป็ นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของญี่ปุ่น




Iwakuni ทางานที่ Nikko และได้รบคาสั ่งให้ไปทางานที่ New York
ั
ในขณะที่เขาไม่สนทัดในการพูดภาษาอังกฤษ แต่เห็น
ั
ความสาคัญของภาษา จึงมุมานะเรียนภาษาจนเก่ง ต่อมาได้ยาย
้
ไปทางานที่ London และมีส่วนสาคัญในการเปิ ดสาขาที่ Paris
เขามีภรรยาที่สนับสนุนเขาทุกเรือง ในปี ค.ศ. 1977 เขาได้รบ
่
ั
คาสั ่งให้ทางานที่ Tokyo ทาให้มีปัญหาเพราะเขามีบุตรสาว 2 คน
กาลังศึกษาใน London ทาให้เขาตัดสินใจลาออกจาก Nikko





Iwakuni ได้เข้าทางานกับ Morgan Stanley ทาให้เขาและภรรยา
ต้องกลับญี่ปุ่นโดยให้ลกสาวศึกษาต่อที่ London
ู
ในปี ค.ศ. 1984 เขาได้ทางานกับ Merrill Lynch ที่ New York
และต่อมาได้เลื่อนตาแหน่งเป็ นประธานบริษท Merrill Lynch
ั
Japan ที่เป็ นชาวญีปุ่นเป็ นคนแรก
่
ในปี ค.ศ. 1988 เขาได้รบโทรศัพท์จากเพื่อนให้สมัครเป็ น
ั
นายกเทศมนตรีของเมือง Izumo





Iwakuni ได้สมัครและได้รบเลือกตั้งเป็ นนายกเทศมนตรีของเมือง
ั
Izumo ในปี ค.ศ. 1989
เมื่อเข้ารับตาแหน่ง เขาได้ปรับเปลี่ยนการบริหารเทศบาลใหม่
โดยเน้นการให้บริการให้ตรงกับความต้องการของประชาชน เช่น
ลดการรับสินบน พัฒนากระบวนการบริการให้กบประชาชนโดย
ั
มีกาหนดเวลาที่แล้วเสร็จอย่างชัดเจน การทางานบริการนอก
เวลาราชการ การเปิ ดสาขาในศูนย์การค้าในวันหยุด เป็ นต้น
ที่สาคัญ เขายังยึดในขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีของญีปุ่นอย่าง
่
เหนียวแน่น




้
Iwakuni เป็ นคนรักธรรมชาติ เขาจัดตังหมอต้นไม้ “Tree Doctors”
เพื่อดูแลรักษาต้นไม้ในเมืองให้มีสภาพที่ดี มีระบบการกาจัดขยะ
ที่มีประสิทธิภาพ มีการส่งเสริมกลุมแม่บาน พบปะเด็กนักเรียน
่
้
บ่อย ๆ เพื่อพูดถึงอนาคตของเมือง มีการเซ็นสัญญาเป็ นเมืองพี่
เมืองน้องกับเมือง Santa Clara, California ฯลฯ
เขาได้รบความสนใจจากผูคนทั ่วทั้งประเทศ ในปี ค.ศ. 1993
ั
้
เขาได้รบเลือกตั้งเป็ นนายกเทศมนตรีซ้ าด้วยคะแนนร้อยละ 87
ั
และตั้งใจเป็ นนายกเทศมนตรีแค่ 2 สมัย เพราะเขาบอกว่าเป็ น
เวลาที่เหมาะสมที่โครงการต่าง ๆ สาเร็จแล้วด้วยดี



ในปี ค.ศ. 1994 เมือง Izumo ได้รบเลือกเป็ นเมืองที่ดีที่สุดใน
ั
ญี่ปุ่นเป็ นปี ที่สองติดต่อกัน
ในปี ค.ศ. 1996 Iwakuni ได้ตดสินใจลงเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภา
ั
ของญี่ปุ่น (สภา Diet) ในเขต Setagaya-ku ของเมือง Tokyo และ
ได้รบเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงท่วมท้น
ั
A free spirit entrepreneur who has successfully
introduced a new product through GNC, lost large
amounts of weight, become a fitness nut, and is
able to resist the outside-in pressures of society
to do things her own way.






Fisher เกิดในเมืองเล็ก ๆ ชื่อว่า Ririe มลรัฐ Idaho หล่อนเป็ นคน
รักอิสระเสรี และมักท้าทายกับขนบธรรมเนียมประเพณีเก่า ๆ ที่
เคยยึดถือกันมา
เมื่อจบชั้นมัธยมในปี ค.ศ. 1987 ได้แต่งงานกับเพื่อนชายที่
เรียนมาด้วยกัน และอีก 2 ปี ถัดมาได้หย่ากับสามีคนแรกตอน
เรียนอยูมหาวิทยาลัยชั้นปี ที่ 2 แล้วย้ายออกจาก Idaho
่
ในปี ค.ศ. 1996 ได้แต่งงานกับสามีใหม่ที่ทางานเกี่ยวกับการ
ผลิตสารตั้งต้นที่เป็ น เอ็นไซม์ สาหรับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมใน
ร้าน GNC






การได้เข้ามาอยูในวงการอาหารเสริม ทาให้ Fisher พัฒนาสูตร
่
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมร่วมกันกับการออกกาลังกาย เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตที่ดีของสุภาพสตรี
ต่อมาหล่อนขอแยกทางกับสามีคนที่สอง ซึ่งจากกันด้วยดี โดย
หล่อนเป็ นคนถือลิขสิทธิ์สูตรอาหารเสริม และเรืองราวการดูแล
่
สุขภาพของตนเองไว้ได้
การเลือก เป็ นหนทางการใช้ชีวิตของหล่อนเอง




ในปี ค.ศ.1996 Fisher ออกผลิตภัณฑ์ตวใหม่รวมกับ Mel Rich
ั
่
เจ้าของบริษท Bodyonics Pinnacle ชื่อ Estrolean จาหน่ายในร้าน
ั
GNC โดยหล่อนเป็ นคนดูแลเรื่องการประชาสัมพันธ์ที่ใช้ตนเอง
เป็ นต้นแบบ
Fisher ได้พบกับหนุ่มที่เพิ่งจบปริญญาเอกจาก Harvard ที่ Hawaii
ขณะที่เตรียมการวางแผนออกผลิตภัณฑ์ หล่อนคบกับชายคนนี้
ได้ 3 ปี แล้ว เขาก็ยงไม่ขอแต่งงานสักที
ั
A professor balances getting tenure, teaching, writing, consulting, serving on
committees, having two kids, managing a long-distance marriage and her
health. And then is asked to do more.






Erika Hayes เกิดในปี ค.ศ. 1969 ที่ Bermuda แล้วอพยพมาอยูที่
่
Pennsylvania ในปี ค.ศ. 1971 เมื่ออายุได้ 5 ขวบ บิดาและมารดา
ได้แยกทางกันโดยต่างคนต่างมีค่ใหม่ โดย Erika อยูกบมารดาและ
ู
่ ั
บิดาใหม่ ที่ Missouri
หล่อนเป็ นคนเรียนหนังสือเก่ง ในปี สุดท้ายของชั้นมัธยม ได้รบ
ั
เลือกเป็ นประธานรุน และได้เรียนต่อที่ Pomona College ที่
่
Claremont, California ในสาขาจิตวิทยา และเรียนต่อในด้าน
organizational psychology ที่ University of Michigan จนได้รบ
ั
ปริญญาเอก
หล่อนได้รบฉายาจากเพือน ๆ ว่า “แสงอรุณ”(Sun Shine)
ั
่






Erika เริ่มทาการสอนที่ Tulane University เมือง New Orleans,
Louisiana เป็ นเวลา 3 ปี และสอนที่ Emory University เมือง
Atlanta, Georgia เป็ นเวลาอีก 3 ปี
วันหนึ่งขณะรอเครืองบินที่ Dallas/Fort Worth International
่
Airport หล่อนได้พบกับ Jimmie James ผูซึ่งทางานกับบริษท
้
ั
Exxon และมีพานักที่เมือง Houston, Texas
ทั้งคู่ได้ตดต่อกันทางโทรศัพท์ทางไกลและเรียนรูกนและกันมาก
ิ
้ั
ขึ้น




ทั้งสองได้แต่งงานกันเมื่อปี ค.ศ. 2000 ที่เมือง Houston โดยต่าง
ฝ่ ายต่างอยูกนคนละเมือง หล่อนอยูที่ Atlanta ขณะที่เขาอยู่
่ ั
่
Baton Rouge มีโอกาสพบกันตอนสุดสัปดาห์
ภายหลังแต่งงานได้ 3 ปี ฝ่ ายสามียายที่ทางานไปยัง Washington,
้
D.C. ภรรยาจึงย้ายไปที่ Northern Virginia เพื่อจะได้อยูใกล้กน
่
ั




ต่อมาทั้งคู่มีบุตรชาย 1 คน และบุตรสาวอีก 1 คน ในขณะที่ฝ่าย
สามีตองเปลี่ยนสถานที่ทางานบ่อย ๆ ทาให้ท้งคู่ไม่ได้ใช้ชีวิต
้
ั
ร่วมกัน ยกเว้นช่วงสุดสัปดาห์ ที่จะอยูดวยกันอย่างพร้อมหน้า
่ ้
การที่ท้งคู่ตางคนต่างประกอบอาชีพ จึงทาให้ชีวิตการเป็ นอยูไม่
ั ่
่
ปกตินก แต่ชีวิตคู่แบบนี้ก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ั
A description of the early life and formative events in the life of Donna
Dubinsky, founder of Palm and one of America’s most influential women.





Dubinsky เติบโตในแถบ southwest Michigan เมือง Benton
Harbor ที่บิดาของหล่อนทางานในโรงงานเหล็ก มีมารดาเป็ น
แม่บาน
้
หล่อนจบการศึกษาที่ Yale University เมือง New Haven,
Connecticut แล้วเข้าทางานที่ธนาคาร Philadelphia National Bank
ต่อมาในปี ค.ศ. 1979 หลังจากทางานในธนาคารได้ 2 ปี หล่อน
ได้เข้าศึกษาต่อที่ Harvard Business School







ในปี ค.ศ. 1981 ขณะที่ Dubinsky เรียนเทอมสุดท้ายที่ Harvard
Business School บริษทคอมพิวเตอร์ Apple ได้มาตั้งโต๊ะรับสมัคร
ั
งานวิศวกรทีมหาวิทยาลัย
่
หล่อนได้สมัครด้วยโดยบอกว่า บริษทคงต้องการคนที่เข้าใจ
ั
ลูกค้า หล่อนคือคนคนนั้น ทาให้ได้รบการว่าจ้างเป็ นฝ่ าย
ั
ช่วยเหลือลูกค้า
ต่อมาหล่อนได้เลื่อนขึ้นเป็ นหัวหน้าฝ่ ายขาย
ในปี ค.ศ. 1987 หล่อนได้รวมมือกับ Campbell ในการตั้งบริษท
่
ั
ลูกของ Apple คือ Claris แต่แล้ว Apple ได้ควบรวมกิจการของ
Claris เข้าด้วยกัน ทาให้หล่อนลาออกจาก Apple




ในปี ค.ศ. 1992 Dubinsky ได้รบการติดต่อกับจาก Bruce
ั
Dunlevie ของบริษท Palm Computing เพื่อเสนอให้หล่อนดารง
ั
ตาแหน่ง CEO
ขณะเดียวกัน Bill Campbell ที่เคยทางานที่ Claris ร่วมกันมา
สนใจในตัวหล่อนและอยากได้มาร่วมทีมที่ GO Corporation ด้วย
เช่นกัน

(ผลสุ ดท้ าย หล่ อนเลือกทางานที่ Palm Computing)
Describes Mr. Norris’ childhood, career advancement, rise to the top spot,
lifestyle issues, indictment, imprisonment, and subsequent successes.




Edward T. Norris เกิดในตระกูลตารวจ พ่อของเขาเปลี่ยนจาก
อาชีพขายเนื้อมาเป็ นตารวจเมื่ออายุ 32 ปี พ่อของเขาสอนให้
ทางานหนักและรูจกรับผิดชอบตนเอง
้ั
Norris เริ่มอาชีพตารวจในเขตที่ยากลาบากที่สุดคือ Times Square
ทาให้เขามีประสบการณ์ในการเป็ นตารวจมากมาย





หลังจากเป็ นตารวจใน New York ได้ 20 ปี เขาได้มารับงานเป็ นผู ้
บัญชาการตารวจที่ Baltimore ในปี ค.ศ. 2000
Norris บริหารกิจการตารวจโดยอาศัยตัวชี้วัดต่าง ๆ ที่มีการ
ตั้งเป้ าหมาย และทาให้ได้ตามเป้ าหมาย ผลทาให้อาชญากรรม
ลดลงเป็ นที่ชื่นชมของชาวเมือง
เขาเป็ นคนที่ชอบพูดแสดงออก ทาให้เป็ นจุดสนใจของ
สาธารณชนและสื่อแขนงต่าง ๆ




ในปี ค.ศ. 2002 เขาถูกข้อกล่าวหาว่าใช้เงินในกองทุนตารวจ
อย่างผิดวัตถุประสงค์ เป็ นเพราะเขาละเลยในการนาใบเสร็จมา
แสดงในการใช้เงิน เช่น การพาลูกน้องตารวจไปดูเกมส์เบสบอล
การสั ่งตัดชุดตารวจ รวมถึงการแจกเครื่องหมาย เครื่องแต่งกาย
ของตารวจลูกน้อง
ต่อมาศาลตัดสินว่ามีความผิดให้ปรับเขาเป็ นเงิน $10,000
เหรียญ จาคุก 6 เดือน กักบริเวณ 6 เดือน และให้ทางานบาเพ็ญ
ประโยชน์สาธารณะอีก 500 ชั ่วโมง





เมื่อต้องโทษในเรือนจา เขาพยายามพรางตัวไม่ให้นกโทษจาเขา
ั
ได้ และได้รบความลาบากเช่นเดียวกับนักโทษคนอื่น ๆ
ั
เมื่อครบ 6 เดือน เขาถูกกักบริเวณในบ้าน ที่ ฟลอริดา
ระหว่างนั้น ชาวเมือง Baltimore ยังคงคิดถึงเขา และคิดว่าเขาถูก
ใส่ไคล้ จึงเรียกร้องให้สถานีวิทยุ FM 105.7 โทรศัพท์ตดต่อกับ
ิ
เขาเพื่อให้เขาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการกับ
อาชญากรรมของเมือง ปรากฎว่ามีผสนใจฟั งมาก ทางสถานีจง
ู้
ึ
ออกรายการสัมภาษณ์สดทุกวันช่วงเทียงถึงบ่ายโมง และมี
่
ชาวเมืองโทรศัพท์มาให้กาลังใจเขาเป็ นจานวนมาก






หลังครบการกักบริเวณแล้ว เขาได้ไปบาเพ็ญสาธารณะประโยชน์
ที่สถานรับเลี้ยงคนพิการ ในเมือง Baltimore
รายการทางสถานีวิทยุ FM 105.7 ที่เขาจัดอยูได้รบความนิยม
่ ั
มาก ทาให้รายการต้องเปลี่ยนชื่อเป็ น The Ed Norris Show และ
เพิ่มเวลาออกอากาศเป็ นวันละ 4 ชั ่วโมง จาก 10.00 – 14.00
น. โดยมี Norris เป็ นผูดาเนินรายการสด
้
มีผฟังโทรศัพท์เข้ามาในรายการเพื่อให้เขาแสดงความคิดเห็นใน
ู้
ฐานะที่เป็ นตารวจมาก่อน และเขาได้นาเสนอข่าวทีน่าสนใจด้วย
่
Norris ได้รางวัล City Beat’s “best talk-show host”
An American who just became partner in Japan in a wellknown global consulting firm decides to take some time
off to regain his health and figure out the meaning of life
by cycling across the entire United States.





บิดาและมารดาของ Shill พบกันบนรถไฟ บิดาของเขาเป็ นพล
ทหารเรือจากครอบครัวที่ยากจนใน Mississippi ในขณะที่มารดา
ของเขามาจากครอบครัวผูมีอนจะกินใน Connecticut
้ ั
Walter Shill เกิดในปี ค.ศ. 1960 เป็ นบุตรคนโตของพี่นอง 6 คน
้
เขาแต่งงานในปี ค.ศ. 1979
Shill จบการศึกษาจาก Virginia Tech และ the University of
Virginia เขาศึกษาต่อด้านการบริหารธุรกิจที่ the Darden Graduate
School of Business at the University of Virginia





Shill เข้าทางานกับบริษท McKinsey ที่ Cleveland ต่อมาปี ค.ศ.
ั
1989 บริษทส่งเขาทางานที่ประเทศญี่ปุ่น
ั
เขาทางานทีญี่ปุ่นได้ 4 ปี น้ าหนักเพิ่มขึ้น 70 ปอนด์ เขารูสึก
่
้
อ่อนล้าและไม่ได้ใกล้ชิดกับครอบครัว เมื่อภรรยาเตือนเรือง
่
สุขภาพ ทาให้เขาสนใจการออกกาลังกาย ทาให้เขามีสุขภาพดีข้ ึน
ในปี ค.ศ. 1995 บริษทสั ่งย้ายเขาให้กลับมาทางานที่อเมริกา
ั
เขาจึงมีความคิดว่าจะปั นจักรยานแบบฉายเดียวจากมหาสมุทร
่
่
ด้านหนึ่งไปยังมหาสมุทรอีกด้านหนึ่งของอเมริกา ซึ่งทั้ง
ครอบครัวและบริษทไม่ขดข้อง
ั
ั



ในปี ค.ศ. 1997 เขาได้วางแผนการเดินทางจากชายฝั งตะวันตก
่
ถึงด้านตะวันออก
เมื่อเริมเดินทาง เขาประสบอุปสรรคมากมาย ไม่ว่าจะเป็ นลมฟ้ า
่
อากาศ ภูมิประเทศ สภาพของจักรยาน แต่การเดินทางทาให้เขา
ได้รบประสบการณ์ที่ดี ๆ จากคนที่คาดไม่ถึง เช่น ผูที่มีลกษณะ
ั
้ ั
ท่าทางเป็ นคนบ้านป่ า แต่มีจตใจงดงาม ช่วยเป็ นภาระหาที่พก
ิ
ั
ช่วยบอกทาง มีคนคืนกระเปาสตางค์ทเขาทาหล่นโดยไม่ขอรับ
๋
ี่
รางวัล บางคนเลี้ยงกาแฟ เลี้ยงอาหาร ฯลฯ ทาให้เขามีทศนคติ
ั
ในการมองผูคนต่างออกไป
้





จากการที่ได้พบกับผูคนระหว่างทาง ทาให้เขาวางแผนในการใช้
้
ชีวิตกับครอบครัวให้มากขึ้น
ทาให้เขามองเห็นอาการบ้างานของผูอื่นได้
้
แล้วเขาจะรักษาบรรยากาศของการเดินทาง คือ การค้นหา
ความหมาย ได้เห็น ได้กลิ่น รูสึก ถึงโลกรอบๆ ตัวเรา ได้อย่างไร?
้

(ในทีสุด เขากลับมาใช้ ชีวิตแบบเดิมคือเป็ นทีปรึกษา และมีนาหนักตัวเพิมขึน)
่
่
้
่ ้
The senior strategy officer for Marriott Corporation describes his life and
career including his hobbies, lifestyle, typical week, relationships, and family.







มารดาของ Tom Curren แต่งงานกับบิดาของเขาสมัยสงครามโลก
บิดาเขาเข้าร่วมสงครามและเมื่อกลับจากสงครามบิดาได้เลิกกับ
มารดาของเขา
มารดาเขาแต่งงานใหม่เมื่อเขามีอายุได้ 10 ปี และหลังแต่งงาน
ใหม่เขามีนองอีก 3 คน บิดาใหม่มีลกสาวติดมาอีก 1 คน
้
ู
ตอนเป็ นเด็ก Tom เป็ นเด็กค่อนข้างเงียบและเก็บตัว เรียน
หนังสือไม่เก่งนัก จนกระทั ่งได้เรียนในมหาวิทยาลัย Trinity
College ที่ Hartford
เขาจบ MBA จาก Wharton ในปี ค.ศ. 1967 และสมัครเป็ น
ทหารเรือในปี ค.ศ. 1968 -1971




เขาทางานกับ McKinsey ประมาณ 4 ปี ก่อนที่จะมาทางานกับ
Marriott ในตาแหน่ง Director of Corporate Planning ในปี ค.ศ.
1977 และต่อมาได้เลื่อนขั้นเป็ นรองประธานบริษท
ั
หน้าที่ของเขาคือผูวางแผนยุทธศาสตร์ให้กบบริษท และเป็ นผู ้
้
ั
ั
คัดเลือกบุคลากร โดยมีหลัก 3 ประการคือ
 ผูที่มีความสามารถในการวิเคราะห์แบบบูรณาการ
้
 ผูที่มีมุมมองเรื่องการตลาด
้
 ผูที่มีค่านิยมเข้าได้กบบริษัท
้
ั






เขาเป็ นคนจริงจังกับงาน ชอบทุมสุดตัว สนใจในผลลัพธ์มาก ยึด
่
มั ่นในหลักการมากกว่ารายละเอียด และมีความมุ่งมั ่นสูความ
่
เป็ นเลิศ
เขาสนใจในการเรียนรูโดยใช้เวลาดึก ๆ ในการอ่านหนังสือ เข้า
้
อบรมการสัมนาเรืองผูนาอยูบ่อย ๆ หรือพูดคุยกับที่ปรึกษา
่ ้
่
เขาแต่งงาน 2 หน โดยในหนแรกเขาคิดว่าเขายังไม่มีความ
มุ่งมั ่นเท่ากับการแต่งงานหนที่สอง
ข้อดีของ Tom คือเขาไม่ชอบแข่งขันและไม่สนใจการเมืองใน
องค์กร แต่ชอบทางานเป็ นทีม และชอบฝึ กอบรมบุคลากร
Mrs. Curren describes her husband and their relationship and lifestyle. Her
children also comment.





Judy Moore มีบิดาเป็ นนักบวชนิกาย Lutheran จบการศึกษาจาก
Pomona College ในสาขา sociology
แต่งงานครั้งแรกกับ Allen Moore มีบุตร 2 คน ก่อนแยกทางกัน
หลังแต่งงานได้ 9 ปี จึงตัดสินใจเรียนต่อ MBA ที่ Stanford และ
เข้าทางานที่ Marriott ได้ 4 ปี จึงลาออก
หล่อนพบกับ Tom ในปี ค.ศ. 1978 ก่อนเรียน MBA ไม่นานนัก
และแต่งงานกันอีก 6 ปี ถัดมา





หล่อนและ Tom เป็ นคนจริงจังกับชีวิตมาก ไม่ยอมทาอะไรครึ่ง
ๆ กลาง ๆ ต่างคนต่างมีกิจกรรมของตนเองแน่นไปหมด
เขาทั้งสองพยายามที่จะรับประทานอาหารเย็นด้วยกัน แต่กบลูก
ั
ทั้ง 2 คนของ Tom แล้ว เป็ นสิ่งที่ปฏิบตได้ยาก เนื่องจากลูก ๆ
ั ิ
อาศัยที่ New York แต่เขาทั้งสองอยูที่ Washington DC
่
หล่อนบรรยายถึง Tom ว่า เป็ นคนชอบมองอะไรเป็ นนามธรรม
มองภาพสูงและมองภาพรวม และยึดมั ่นในความคิดตนเอง มัก
ขุ่นเคืองถ้าไม่ได้ดั ่งใจ เขาควรมองอะไรที่เป็ นรูปธรรมบ้าง




หล่อนคิดว่า ทั้งคู่ควรจะมีการสื่อสารกันให้มากกว่านี้
บางทีหล่อนคิดว่าเขาไม่ได้ต้งใจฟั งในสิ่งที่หล่อนต้องการจะบอก
ั
และทั้งสองคนควรจะมีแง่คิดว่าเป็ น “เรา” มากกว่าเป็ น ฉัน หรือ
เธอ

(ต่ อมาทั้งสองได้ หย่าร้ างกัน Tom แต่ งงานใหม่

Judy

ยังคงสถานะโสด)
A successful Ameritech executive wrestles with whether to cancel a family
vacation in order to participate in a very important corporate restructuring.





Jackie เกิดที่เมือง Cleveland, Ohio ในปี ค.ศ.1947 เป็ นบุตรสาว
คนเดียวของ Jack และ Gladys Dudek
หล่อนจบการศึกษาจาก Muskingum College ที่ southern Ohio ใน
ปี ค.ศ. 1969 สาขา communication และ psychology และในปี
เดียวกันได้แต่งงานกับ Jack ต่อมาเขาได้ไปรบในสงคราม
เวียตนามในปี ค.ศ. 1970 เป็ นเวลา 2 ปี
หล่อนจึงต้องหางานทาที่ Ohio Bell โดยทาหน้าที่รบคาสั ่งจาก
ั
ลูกค้าและออกใบเสร็จ ย้ายไปทางานที่ Bell of Pennsylvania และ
ต่อมาย้ายทาหน้าที่ฝ่ายขายที่ Ohio Bell





การจัดองค์กรใหม่ของ Bell โดยรวมงาน 7 มลรัฐเข้าด้วยกันเป็ น
บริษทใหม่คือ Ameritech และในปี ค.ศ. 1986 ทาให้หล่อนได้
ั
เลื่อนชั้นเป็ นประธานบริษท Bell Communications ซึ่งเป็ นฝ่ าย
ั
ขายของ Ohio Bell
ในปี ค.ศ. 1988 หล่อนรับตาแหน่งใหม่เป็ น Chief Financial
Officer ที่ สานักงานใหญ่ของ Ameritech ที่ Chicago, Illinois
และในปี 1989 หล่อนและครอบครัวย้ายมาที่ Chicago สามี
หล่อนคือ Jack ได้เข้าทางานที่ Ameritech ในแผนก Information
Technology Department ด้วย




ในปี ค.ศ. 1991 Jackie ย้ายไปอยูฝ่ายการตลาด ในปลายปี นั้น
่
หล่อนและครอบครัววางแผนท่องเทียวยุโรปในเดือนกรกฎาคม
่
ในปี ค.ศ. 1992 โดยชาระเงินไว้ล่วงหน้าเรียบร้อยแล้ว
ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1992 Ameritech มีแผนปรับปรุงองค์กร
ใหม่ และหล่อนมีสวนสาคัญต่อการวางแผนนี้ด้วย มีผแนะนาว่า
่
ู้
หล่อนควรยกเลิกแผนการเดินทางท่องเที่ยว

(หล่อนตัดสินไปเที่ยวกับครอบครัว โดยใช้ teleconferences ติดต่อ
กับการสัมนา และต่อมาได้เลื่อนเป็ นประธาน Ohio Bell)
Bob Johnson, just retired CEO of Honeywell
Aerospace, has money, fame, power, and is
facing a divorce and an uncertain future. Beset
with Attention Deficit Disorder (ADD) and
Obsessive Compulsive Disorder (OCD), he has
learned to manage his career well. He’s offered
a job in Dubai to establish a new aerospace
industry there, but it will disrupt his intended
retirement, family and new house-building.






Robert Johnson เติบโตที่ Zanesville, Ohio ที่มีบิดา(ชาวสวีเดน)
ทางานที่ General Electric (GE) ส่วนมารดาเป็ นชาวเยอรมัน เขา
ถูกเลี้ยงดูให้มีระเบียบวินย
ั
เขาเป็ นเด็กที่ค่อนข้างดื้อ มีอาการโรค Attention Deficit Disorder
(ADD) คือไม่ชอบอยูนิ่ง และอาการโรค Obsessive Compulsive
่
Disorder (OCD) คือจมดิ่งกับสิ่งนั้นไม่ปล่อยวาง เขามักกังขาว่า
ทาไมต้องมีกฎระเบียบด้วย
เพื่อนของเขาบอกว่า เขาเป็ นคนมองโลกในแง่ดี ไม่จมอยูใน
่
ความทุกข์นาน





เขาเล่าเรียนที่ Miami University ที่ Oxford, Ohio ด้านวิศวกรรมได้
2 ปี แล้วเปลี่ยนสาขามาเรียนด้านธุรกิจจนจบในปี ค.ศ. 1969
เขาเริ่มทางานที่ GE Aircraft Engines (GEAE) ในแผนกบัญชีและ
วิเคราะห์การเงิน
เขาแต่งงานกับ Dede ในปี ค.ศ. 1972 มีบุตรสาว 2 คน
บุตรชาย 1 คน
ในปี ค.ศ. 1982 ได้ยายไปรับตาแหน่งที่ สิงคโปร์ เพื่อฟื้ นฟู
้
กิจการซ่อมเครืองยนต์ของ GE aircraft จากขาดทุนมาเป็ นเติบโต
่
ถึง 7 เท่า เขาทาสาเร็จก่อนเวลาเป้ าหมายที่วางไว้





Johnson ทางานกับ GE ได้ 24 ปี จึงลาออกเพื่อหางานที่ทาทายกว่า
้
AAR เป็ นบริษทเกี่ยวกับการบินอวกาศ ที่ Johnson รับหน้าที่เป็ นรอง
ั
ประธานและผูจดการทั ่วไป เพียงระยะเวลา 13 เดือนที่เขาทางาน
้ั
ด้วย ราคาหุนของบริษทเพิ่มจาก หุนละ 2 เซ็นต์ เป็ น 49 เซ็นต์
้
ั
้
ต่อมาเขาได้รวมงานกับ Larry Bossidy ที่ AlliedSignal ในสาขาการ
่
บินอวกาศ และเขาทาได้สาเร็จตามเป้ าหมายก่อนเวลา จนในปี
ค.ศ. 1988 เขาได้รบตาแหน่งเป็ น president และ CEO ของ
ั
AlliedSignal’s aerospace marketing, sales, and service business






ในปี ค.ศ. 1999 บริษท AlliedSignal ควบรวมกับ Honeywell และ
ั
เปลี่ยนชื่อเป็ น Honeywell International เขาได้รบตาแหน่งเป็ น CEO
ั
ของ aerospace operations มีสานักงานใหญ่ที่ Phoenix ซึ่งเติบโต
อย่างมั ่นคงจนกระทั ่งเขาเกษียณในปี ค.ศ. 2006
เขากล่าวว่า ที่เขาทาสาเร็จมาโดยตลอดนั้นไม่ได้เกิดจากตัวเขา แต่
เป็ นผูปฏิบตงานที่ออกแบบกระบวนงานใหม่ ให้สอดคล้องกับความ
้ ั ิ
ต้องการของลูกค้า
เขามีวิธีการทางาน 3 ประการคือ ให้ความช่วยเหลือผูรวมงาน
้่
รวบรวมบุคลากรที่เกี่ยวข้องทางานเป็ นทีม และการมุ่งเน้นทีลกค้า
่ ู





เขาเป็ นคนคิดเร็วทาเร็ว และจับประเด็นสาคัญได้เร็ว
ในการเผชิญกับเรืองราวต่าง ๆ เขาใช้ ADD ให้เป็ นประโยชน์คือ
่
มองทุกประเด็นหรือทุกมุมมองที่เกี่ยวข้องกับเรืองนั้นอย่าง
่
กว้างขวางและรวดเร็ว จนกระทั ่งเจอประเด็นสาคัญของปั ญหา
ของเรืองนั้น ๆ จากนั้นเขาใช้ OCD จับประเด็นสาคัญที่พบแล้ว
่
เจาะลึกลงในรายละเอียดจนกระทั ่งพบหนทางในการแก้ปัญหา
คนที่เป็ น ADD มักนอนไม่หลับเพราะสมองแล่นตลอดเวลา คน
เป็ น OCD มักหมกมุ่นอยูกบสิ่งนั้นอย่างไม่ปล่อยวาง และขาดการ
่ ั
พักผ่อน




เมื่ออายุได้ 56 ปี เขาได้รบการผ่าตัดเส้นเลือดไปเลี้ยงหัวใจ 3
ั
เส้นเพราะเกิดการอุดตัน ซึ่งเกิดจากการตรวจพบในกาตรวจ
ร่างกายประจาปี คาว่าซิปเปอร์ คือรอยแผลเป็ นบนหน้าอกจาก
การผ่าตัดทรวงอก และอาจมีรอยที่แขนหรือที่ขา ทีเป็ นบริเวณที่
่
แพทย์เลาะเส้นเลือดบริเวณนั้นมาใช้แทนหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง
หัวใจที่อุดตัน
การทางานแบบ 24/7 คือมุ่งแต่ทางานทาให้ชีวิตครอบครัวมี
ปั ญหา ภรรยาขอแยกทางหลังจากที่ลก ๆ โตหมดแล้ว และทั้ง
ู
สองไม่มีเยือใยเหลือให้กนอีก
่
ั






ประการแรก เขารูสึกว่าเขาไม่รูจะดารงชีวิตปกติในสังคมอย่างไร
้
้
เพราะเมื่อยังมีตาแหน่งหน้าที่อยู่ จะมีเลขานุการคอยจัดการให้
ทุกสิ่งทุกอย่าง เมื่อมาอยูคนเดียว จึงต้องเรียนรูใหม่ที่จะทาด้วย
่
้
ตนเอง
เขารูสึกว่าลูกน้องจะมาคบหาสมาคมกับเขามีจานวนน้อยลงเรือย
้
่
ๆ เพราะเขาเหล่านั้นสนใจแต่นายใหม่
เขาห่างเหินจากภรรยาเรือย ๆ และไม่ได้ตดต่อกันอีก
่
ิ
สุดท้ายเขารูสึกเดียวดาย
้
An intimate view of the former CEO of Puget Sound Power and Light, Seattle
Washington, including discussions of how he managed his career and his
marriage and family life. Includes a comment by his wife about how
sometimes she thinks he doesn’t even SEE her needs.




Clawson เกิดในปี ค.ศ. 1899 ที่ Providence, Utah เขาเป็ นบุตร
คนที่สองของพี่นองทั้งหมด 10 คน เป็ นชาย 8 หญิง 2
้
บิดาของเขาต้องทางานหนัก มารดาไม่รูหนังสือ แต่ก็เลี้ยงลูกด้วย
้
ความรักความเมตตา
เขาชอบอ่านหนังสือ และเป็ นเด็กเรียนดี ตอนปิ ดเทอม เขาต้อง
ทางานในโรงงานน้ าตาล หัวหน้าคนงานคือ Campbell แนะนาเขา
ว่า งานเขียนหนังสือเบากว่างานใช้แรง และได้ค่าจ้างดีกว่าด้วย
ทาให้เขามุมานะในการเรียนยิงขึ้น
่






ในปี ค.ศ. 1920 เขาเรียนที่มหาวิทยาลัย Utah State เป็ นปี สุดท้าย
ทีแรกเขาตั้งใจเป็ นครูสอนหนังสือ หรือเป็ นทนายความ แต่มีผู ้
แนะนาให้เรียนต่อด้านธุรกิจ เขาจึงสมัครเรียนที่ Harvard Business
School และได้รบการตอบรับ ระหว่างรอเปิ ดเทอม เขายืมหนังสือ
ั
ด้านธุรกิจที่พี่ชายใช้ มาศึกษาล่วงหน้า ทาให้เขาเรียนได้ดีเยียม
่
เขาต้องส่งตัวเองเรียนด้วยการทางานในหน้าร้อนและทางานใน
ห้องสมุด ทาให้เขามีโอกาสทราบถึงหนังสือทางธุรกิจที่นกศึกษาใช้
ั
ในการเรียน และมีเวลาศึกษาล่วงหน้า
เมื่อเรียนจบได้เข้าทางานเป็ นผูตรวจประเมินของบริษท Stone and
้
ั
Webber




ในปี ค.ศ. 1928 บริษท Stone and Webber ส่งเขาให้ทาหน้าที่
ั
ตรวจประเมินที่ Seattle รับผิดชอบชายฝั งทะเลด้านตะวันตก
่
ทั้งหมด รวมทั้งบริษท Puget Sound Power and Light Company
ั
(PSPL) ทาให้เขาและครอบครัวตัดสินใจย้ายมาอยูที่ Seattle
่
ต่อมาเขาได้มาทางานให้กบ PSPL ในตาแหน่งผูตรวจประเมิน
ั
้
อาวุโสของบริษท เมื่อมีอายุได้ 37 ปี และอีก 2 ปี ถัดมา เขา
ั
ได้รบหน้าที่เป็ นฝ่ ายดูแลการเงินของบริษท
ั
ั
Jack มีหลักในการบริหารเงินตราดังนี้
 1. ถือเงินสดให้พอเพียงเผื่อไว้เกิดกรณีฉุกเฉิน
 2. ทาประกันชีวิตไว้ให้มากเท่าที่สามารถทาได้
 3. ปกป้ องภรรยาและบุตรด้วยมีสินทรัพย์ที่น่าเชื่อถือ
 4. ลงทุนในสินทรัพย์เผื่อเกษียณไว้โดยไม่ตองพึ่งพาเงินบานาญ
้
ลักษณะบริษทที่เขาจะลงทุนด้วยมีดงนี้
ั
ั
 1. อุตสาหกรรมที่มีพ้ ืนฐานแข็งแรง
 2. บริษทหน้าใหม่ที่บริหารอย่างมุ่งมั ่น
ั
 3. มีแนวโน้มการเจริญเติบโตที่ดี
 4. ผลตอบแทนสูงจากมีผลประกอบการที่ดี




ในราว ค.ศ. 1955 ขณะที่ Jack และประธานบริษท เดินทาง
ั
ธุรกิจไปยังชายฝั งตะวันออก มีสถาบันการเงินแนะนาประธาน
่
บริษทว่า เพื่ออนาคตและราคาหุนที่ดีของบริษท ควรมีการ
ั
้
ั
วางแผนสืบทอดตาแหน่งด้วย
ในปี ต่อมา Jack ได้รบการแต่งตั้งเป็ นประธานและผูบริหารสูงสุด
ั
้
ของ PSPL เขาเป็ นคนทางานหนัก และมักนารายงานกลับมาอ่าน
ต่อที่บานเป็ นประจา และใช้เวลาเช้ามืดในราวตีสี่ตีหา ใคร่
้
้
ครวญหาหนทางในการแก้ปัญหา




ในปี ค.ศ. 1965 Jack เกษียณจากบริษท แต่ยงนั ่งเป็ นฝ่ าย
ั
ั
กรรมการบริหาร และให้คาปรึกษากับบริษทด้านการปรับปรุง
ั
การบริหารอีก 5 ปี
ภรรยาของเขากล่าวว่า Jack เป็ นคนที่เรียนรูได้เร็วและมีความ
้
เชื่อมั ่นในตนเองสูง หล่อนอยากให้เขาสนใจในความรูสึกของ
้
ผูคนบ้าง บางทีหล่อนรูสึกว่าเขาให้ความสนใจกับหล่อนน้อยไป
้
้
หน่อย
Author’s comments and suggestions on how to integrate all of this.




โดยมาก เรามักได้เรียนรูจากผูบริหารว่า เขาเหล่านั้นมีแนวทางใน
้
้
การบริหารงานอย่างไร แต่มกไม่ค่อยทราบเกี่ยวกับการบริหารชีวิต
ั
ครอบครัวให้เกิดความสมดุลอย่างไร
หนังสือเล่มนี้ให้เราศึกษาชีวิตแต่ละบุคคลผ่านเลนส์ 3 รูปแบบคือ
1.) ทัศนคติชีวิต (Balance Wheel) นั ่นคือวงล้อสมดุล 2.) ช่วงเวลา
ชีวิต (Chapter in Life) คือการพัฒนาด้านจิตวิทยาของช่วงอายุ
โดยเฉพาะการเลี้ยงดูเวลาเด็กที่สงผลตอนเป็ นผูใหญ่ และ 3.)
่
้
ความหมายของความสาเร็จ (Nature of Success) ซึ่งแต่ละคนจะให้
ความหมายที่แตกต่างกันออกไปและมุ่งเน้นไปสูสิ่งนั้น
่
หนังสืออ้างอิง
– นวโกวาท (หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี) สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงแต่ง
มหามกุฎราชวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 76/2533 จานวน 200,000 เล่ม ราคา 10 บาท
สุขของคฤหัสถ์ 4 อย่าง
 1.สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์
 2.สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค
 3.สุขเกิดแต่ความไม่ตองเป็ นหนี้
้
 4.สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ

(นวโกวาท หน้าที่ 71)
ประโยชน์เกิดแต่การถือโภคทรัพย์ 5 อย่าง
 1.เลี้ ยงตัว มารดา บิดา บุตร ภริยา บ่าวไพร่ ให้เป็ นสุข
 2.เลี้ ยงเพื่อนฝูงให้เป็ นสุข
 3.บาบัดอันตรายที่เกิดแต่เหตุตาง ๆ
่
 4.ทาพลี 5 อย่างคือ
 ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ

 อติถิพลี ต้อนรับแขก
 ปุพพเปตพลี ทาบุญอุทิศให้ผตาย
ู้
 ราชพลี ถวายเป็ นหลวง มีภาษีอากรเป็ นต้น

 เทวตาพลี ทาบุญอุทิศให้เทวดา



5.บริจาคทานในสมณพราหม์ผประพฤติชอบ
ู้
(นวโกวาท หน้าที่ 73)
ความปราถนาของบุคคลในโลกที่ได้สมหมายด้วยยาก 4 อย่าง
 1.ขอสมบัตจงเกิดมีแก่เราโดยทางที่ชอบ
ิ
 2.ขอยศจงเกิดแก่เราและญาติพวกพ้อง
 3.ขอเราจงรักษาอายุให้ยนนาน
ื
 4.เมื่อสิ้นชีพแล้ว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค์

(นวโกวาท หน้าที่ 71)
ทิฏฐธัมมิกตถประโยชน์ คือประโยชน์ในปั จจุบน 4 อย่าง
ั
ั
 1.อุฏฐาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั ่นในการประกอบกิจ เครื่อง
เลี้ยงชีวิตก็ดี ในการศึกษาเล่าเรียนก็ดี ในการทาธุระหน้าที่ของตนก็ดี
 2.อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา คือรักษาทรัพย์ที่แสวงหามา
ได้ดวยความหมั ่น ไม่ให้เป็ นอันตรายก็ดี รักษาการงานของตน ไม่ให้
้
เสื่อมเสียไปก็ดี
 3.กัลยาณมิตตา ความมีเพื่อนเป็ นคนดี ไม่คบคนชั ่ว
 4.สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ที่หาได้ ไม่ให้
ฝื ดเคืองนัก ไม่ให้ฟูมฟายนัก
(นวโกวาท หน้าที่ 67)
สัมปรายิกตถประโยชน์ คือ ประโยชน์ภายหน้า 4 อย่าง
ั
 1.สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือเชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ เช่นเชื่อว่า
ทาดีได้ดี ทาชั ่วได้ชั ่ว เป็ นต้น
 2.สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล คือรักษากายวาจาเรียบร้อยดี ไม่มีโทษ
 3.จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน เป็ นการเฉลี่ยสุขให้กบ
ั
ผูอื่น
้
 4.ปั ญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปั ญญา รูจกบาป บุญ คุณ โทษ
้ั
ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ เป็ นต้น
(นวโกวาท หน้าที่ 67-68)
จักร 4
 1.ปฏิรูปเทสวาสะ อยูในประเทศอันสมควร
่
 2.สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ
 3.อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ
 4.ปุพเพกตปุญญตา ความเป็ นผูได้ทาความดีไว้ในปางก่อน
้
ธรรม 4 อย่างนี้ ดุจล้อรถนาไปสูความเจริญ
่

(นวโกวาท หน้าที่ 34)
พละ คือธรรมเป็ นกาลัง 5 อย่าง
 1.สัทธา ความเชื่อ
 2.วิรยะ ความเพียร
ิ
 3.สติ ความระลึกได้
 4.สมาธิ ความตั้งใจมั ่น
 5.ปั ญญา ความรอบรู ้
อินทรีย ์ 5 ก็เรียก เพราะเป็ นใหญ่ในกิจของตน
(นวโกวาท หน้าที่ 45)
อิทธิบาท คือคุณเครืองทาให้สาเร็จความประสงค์ 4 อย่าง
่
 1.ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
 2.วิรยะ เพียรประกอบในสิ่งนั้น
ิ
 3.จิตตะ เอาใจฝั กใฝ่ ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ
 4.วิมงสา หมั ่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น
ั
คุณ 4 อย่างนี้ มีบริบูรณ์แล้ว อาจชักนาบุคคลให้ถึงสิ่งที่ตอง
้
ประสงค์ซึ่งไม่เหลือวิสย
ั
(นวโกวาท หน้าที่ 36)
สังคหวัตถุ 4 อย่าง
 1.ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผอื่นทีควรให้ปัน
ู้ ่
 2.ปิ ยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน
 3.อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็ นประโยชน์ตอผูอื่น
่ ้
 4.สมานัตตตา ความเป็ นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว
คุณทั้ง 4 อย่างนี้ เป็ นเครืองยึดเหนี่ยวใจของผูอื่นไว้ได้
่
้

(นวโกวาท หน้าที่ 71)
พรหมวิหาร 4
 1.เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็ นสุข
 2.กรุณา ความสงสาร คิดจะช่วยให้พนทุกข์
้
 3.มุทิตา ความพลอยยินดี เมื่อผูอื่นได้ดี
้
 4.อุเบกขา ความวางเฉย ไม่ดีใจไม่เสียใจเมื่อผูอื่นถึงความวิบติ
้
ั
4 อย่างนี้ เป็ นเครืองอยูของท่านผูใหญ่
่
่
้

(นวโกวาท หน้าที่ 38)
ทิศ 6
 1.ปุรตถิมทิส คือทิศเบื้องหน้า มารดาบิดา
ั
 2.ทักขิณทิส คือทิศเบื้องขวา อาจารย์
 3.ปั จฉิมทิส คือทิศเบื้องหลัง ภรรยา
 4.อุตตรทิส คือทิศเบื้องซ้าย มิตร
 5.เหฎฐิมทิส คือทิศเบื้องต ่า บ่าว
 6.อุปริมทิส คือทิศเบื้องบน สมณพราหมณ์
(นวโกวาท หน้าที่ 75-79)
บุตรพึงบารุงด้วยสถาน 5
 1.ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ
 2.ทากิจของท่าน
 3.ดารงวงศ์สกุล
 4.ประพฤติตนให้เป็ นคนควรรับทรัพย์มรดก
 5.เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน
บิดามารดาได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์บุตรด้วยสถาน 5
ั
 1.ห้ามไม่ให้ทาความชั ่ว
 2.ให้ต้งอยูในความดี
ั ่
 3.ให้ศึกษาศิลปวิทยา
 4.หาภรรยาที่สมควรให้
 5.มอบทรัพย์ให้ในสมัย
ศิษย์พึงบารุงด้วยสถาน 5
 1.ด้วยลุกขึ้นยืนรับ
 2.ด้วยเข้าไปยืนคอยรับใช้
 3.ด้วยเชื่อฟั ง
 4.ด้วยอุปัฏฐาก
 5.ด้วยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ
อาจารย์ได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์ศิษย์ดวยสถาน 5
ั
้
 1.แนะนาดี
 2.ให้เรียนดี
 3.บอกศิลปให้ส้ ินเชิง ไม่ปิดบังอาพราง
 4.ยกย่องให้ปรากฏในเพือนฝูง
่
 5.ทาความป้ องกันในทิศทั้งหลาย (คือจะไปทางทิศไหนก็ไม่อด
อยาก)
สามีพึงบารุงด้วยสถาน 5
 1.ด้วยยกย่องนับถือว่าเป็ นภรรยา
 2.ด้วยไม่ดหมิ่น
ู
 3.ด้วยไม่ประพฤติล่วงใจ
 4.ด้วยมอบความเป็ นใหญ่ให้
 5.ด้วยให้เครืองแต่งตัว
่
ภรรยาได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์สามีดวยสถาน 5
ั
้
 1.จัดการงานดี
 2.สงเคราะห์คนข้างเคียงของผัวดี
 3.ไม่ประพฤติล่วงใจผัว
 4.รักษาทรัพย์ที่ผวหามาไว้ได้
ั
 5.ขยันไม่เกียจคร้านในการงานทั้งปวง
กุลบุตรพึงบารุงด้วยสถาน 5
 1.ด้วยให้ปัน
 2.ด้วยเจรจาถ้อยคาไพเราะ
 3.ด้วยประพฤติประโยชน์
 4.ด้วยความเป็ นผูมีตนเสมอ
้
 5.ด้วยไม่แกล้งกล่าวให้คลาดจากความเป็ นจริง
มิตรได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน 5
ั
 1.รักษามิตรผูประมาทแล้ว
้
 2.รักษาทรัพย์ของมิตรผูประมาทแล้ว
้
 3.เมื่อมีภย เอาเป็ นที่พึ่งพานักได้
ั
 4.ไม่ละทิ้งในยามวิบติ
ั
 5.นับถือตลอดถึงวงศ์ของมิตร
นายพึงบารุงด้วยสถาน 5
 1.ด้วยจัดการงานให้ทาตามสมควรแก่กาลัง
 2.ด้วยให้อาหารและรางวัล
 3.ด้วยรักษาพยาบาลเวลาเจ็บไข้
 4.ด้วยแจกของที่มีรสแปลกประหลาดให้กิน
 5.ด้วยปล่อยในสมัย
บ่าวได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์นายด้วยสถาน 5
ั
 1.ลุกขึ้นทาการงานก่อนนาย
 2.เลิกการงานทีหลังนาย
 3.ถือเอาแต่ของที่นายให้
 4.ทาการงานให้ดีข้ ึน
 5.นาคุณของนายไปสรรเสริญในที่น้น ๆ
ั
กุลบุตรพึงบารุงด้วยสถาน 5
 1.ด้วยกายกรรม คือทาอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา
 2.ด้วยวจีกรรม คือพูดอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา
 3.ด้วยมโนกรรม คือคิดอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา
 4.ด้วยความเป็ นผูไม่ปิดประตู คือมิได้หามเข้าบ้านเรือน
้
้
 5.ด้วยให้อามิสทาน
สมณพราหม์ได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน
ั
5
 1.ห้ามไม่ให้กระทาชั ่ว
 2.ให้ต้งอยูในความดี
ั ่
 3.อนุเคราะห์ดวยน้ าใจอันงาม
้
 4.ทาสิ่งที่เคยฟั งแล้วให้แจ่ม
 5.บอกทางสวรรค์ให้
สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง Balancing your life

More Related Content

Viewers also liked

แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
maruay songtanin
 
โครงร่างองค์กร - PMK internal assessor 2
โครงร่างองค์กร - PMK internal assessor 2  โครงร่างองค์กร - PMK internal assessor 2
โครงร่างองค์กร - PMK internal assessor 2
maruay songtanin
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
maruay songtanin
 
โลกราบเรียบ World is flat
โลกราบเรียบ World is flat โลกราบเรียบ World is flat
โลกราบเรียบ World is flat
maruay songtanin
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
maruay songtanin
 
10 จุดบอดของผู้นำ Leaders' 10 top blind spots
10 จุดบอดของผู้นำ Leaders' 10 top blind spots 10 จุดบอดของผู้นำ Leaders' 10 top blind spots
10 จุดบอดของผู้นำ Leaders' 10 top blind spots
maruay songtanin
 
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
maruay songtanin
 
Gen Y กับการบริหารจัดการ Generation Y
Gen Y กับการบริหารจัดการ Generation Y Gen Y กับการบริหารจัดการ Generation Y
Gen Y กับการบริหารจัดการ Generation Y
maruay songtanin
 
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
maruay songtanin
 
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
maruay songtanin
 
การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium
maruay songtanin
 
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
maruay songtanin
 
กินกบ ขายปลา หาเนยแข็ง Frog fish cheese
กินกบ ขายปลา หาเนยแข็ง Frog fish cheese กินกบ ขายปลา หาเนยแข็ง Frog fish cheese
กินกบ ขายปลา หาเนยแข็ง Frog fish cheese
maruay songtanin
 
ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้ Leadership the hard way
ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้ Leadership the hard wayผู้นำที่ไม่ยอมแพ้ Leadership the hard way
ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้ Leadership the hard way
maruay songtanin
 
การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง BCM (Business Continuity Management)
การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง BCM (Business Continuity Management)การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง BCM (Business Continuity Management)
การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง BCM (Business Continuity Management)
maruay songtanin
 
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
maruay songtanin
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
maruay songtanin
 
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
maruay songtanin
 
องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (HPO)
องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (HPO)  องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (HPO)
องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (HPO)
maruay songtanin
 
รากฟันเทียมในยุคศตวรรษใหม่ Dental implant in the new millennium
รากฟันเทียมในยุคศตวรรษใหม่ Dental implant in the new millennium รากฟันเทียมในยุคศตวรรษใหม่ Dental implant in the new millennium
รากฟันเทียมในยุคศตวรรษใหม่ Dental implant in the new millennium
maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
 
โครงร่างองค์กร - PMK internal assessor 2
โครงร่างองค์กร - PMK internal assessor 2  โครงร่างองค์กร - PMK internal assessor 2
โครงร่างองค์กร - PMK internal assessor 2
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
 
โลกราบเรียบ World is flat
โลกราบเรียบ World is flat โลกราบเรียบ World is flat
โลกราบเรียบ World is flat
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
 
10 จุดบอดของผู้นำ Leaders' 10 top blind spots
10 จุดบอดของผู้นำ Leaders' 10 top blind spots 10 จุดบอดของผู้นำ Leaders' 10 top blind spots
10 จุดบอดของผู้นำ Leaders' 10 top blind spots
 
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
 
Gen Y กับการบริหารจัดการ Generation Y
Gen Y กับการบริหารจัดการ Generation Y Gen Y กับการบริหารจัดการ Generation Y
Gen Y กับการบริหารจัดการ Generation Y
 
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
คู่มือผู้ตรวจประเมิน - PMK internal assessor 9
 
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
 
การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium
 
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
 
กินกบ ขายปลา หาเนยแข็ง Frog fish cheese
กินกบ ขายปลา หาเนยแข็ง Frog fish cheese กินกบ ขายปลา หาเนยแข็ง Frog fish cheese
กินกบ ขายปลา หาเนยแข็ง Frog fish cheese
 
ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้ Leadership the hard way
ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้ Leadership the hard wayผู้นำที่ไม่ยอมแพ้ Leadership the hard way
ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้ Leadership the hard way
 
การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง BCM (Business Continuity Management)
การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง BCM (Business Continuity Management)การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง BCM (Business Continuity Management)
การบริหารธุรกิจอย่างต่อเนื่อง BCM (Business Continuity Management)
 
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
 
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
 
องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (HPO)
องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (HPO)  องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (HPO)
องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (HPO)
 
รากฟันเทียมในยุคศตวรรษใหม่ Dental implant in the new millennium
รากฟันเทียมในยุคศตวรรษใหม่ Dental implant in the new millennium รากฟันเทียมในยุคศตวรรษใหม่ Dental implant in the new millennium
รากฟันเทียมในยุคศตวรรษใหม่ Dental implant in the new millennium
 

Similar to สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง Balancing your life

การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
maruay songtanin
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
maruay songtanin
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
การพัฒนาความสุข (Ha)
การพัฒนาความสุข (Ha)การพัฒนาความสุข (Ha)
การพัฒนาความสุข (Ha)Suradet Sriangkoon
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
Pakjira Prlopburi
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
Kongkrit Pimpa
 
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
maruay songtanin
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allKruKaiNui
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
kanwan0429
 
T01 080156
T01 080156T01 080156
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
maruay songtanin
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
Engaging & Leading A Multi Generation Workforce
Engaging & Leading A Multi Generation WorkforceEngaging & Leading A Multi Generation Workforce
Engaging & Leading A Multi Generation Workforce
Monthon Sorakraikitikul
 
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58 OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
DrDanai Thienphut
 

Similar to สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง Balancing your life (20)

การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
การจัดการตนเอง Drucker - Managing Oneself.pptx
 
พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
การพัฒนาความสุข (Ha)
การพัฒนาความสุข (Ha)การพัฒนาความสุข (Ha)
การพัฒนาความสุข (Ha)
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
ทำไมองค์กรไม่เรียนรู้ Why organizations don’t learn
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 
T01 080156
T01 080156T01 080156
T01 080156
 
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
ตัวตน ครอบครัว การงาน และชุมชน Work + home + community + self
 
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
2แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
Engaging & Leading A Multi Generation Workforce
Engaging & Leading A Multi Generation WorkforceEngaging & Leading A Multi Generation Workforce
Engaging & Leading A Multi Generation Workforce
 
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58 OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
OD การพัฒนาองค์การ วันที่ 4- 5 กย58
 

More from maruay songtanin

๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
maruay songtanin
 
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
 
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 

สมดุลชีวิต: การงาน ครอบครัว และตัวเอง Balancing your life

  • 2. The single most common challenge people everywhere face was balancing work, family and personal life.” James G S Clawson University of Virginia, USA จัดพิมพ์โดย World Scientific Publishing Co. Pte. Ltd., 2010
  • 3.   "Leadership is about managing energy, first in yourself and then in those around you.“ "Hope is not a strategy.“
  • 4.    เป็ นรองศาสตราจารย์ที่ the Darden Graduate School of Business, University of Virginia, สอนวิชา MBA, Executive Education, และ Doctoral programs. ได้รบรางวัล David L. Bradford Educator of the Year 2009, ั OBTC เขายังสอนที่ the Harvard Business School, Northeastern University, the International University of Japan, และอีกหลาย แห่งใน Europe, Africa, Australia, Asia, และ North America
  • 5.     การศึกษา 1979 Harvard University Graduate School of Business Administration, Boston, MA, Doctor of Business Administration (DBA). Thesis: Developmental Aspects of Superior-Subordinate Relationships 1973 Brigham Young University, Provo, UT, Master of Business Administration (MBA). Major: Marketing 1971 Stanford University, Stanford, CA, Bachelor of Arts with Great Distinction (BA). Major: Japanese Language and Literature
  • 6.   หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงการดาเนินชีวิตของผูบริหาร ว่าแต่ละบุคคล ้ มีการบริหารจัดการชีวิตของตนอย่างไร เพื่อให้ประสบ ความสาเร็จ ผูประพันธ์ได้รวบรวมชีวประวัตบุคคลต่าง ๆ โดยการพูดคุย ้ ิ สัมภาษณ์ ประมาณ 20 ราย ถึงประวัตในวัยเด็ก ชีวิตการทางาน ิ ชีวิตครอบครัว และแนวคิดด้านต่าง ๆ ในเรื่องความสาเร็จ และ แง่คิดของการใช้ชีวิต
  • 7. ในตอนท้ายของทุกบท จะมีคาถามในเรื่องแง่คิดต่างๆ ของบุคคลที่ ได้ศึกษา เช่น  วิเคราะห์ว่าเหตุใดบุคคลนั้น ๆ จึงตัดสินใจเช่นนั้น  อะไรเป็ นแรงบันดาลใจ  เขาอยูในช่วงวงจรใดของชีวิต ่  วิเคราะห์บุคคลผูน้นโดยใช้ Balance Wheel ้ ั  ได้เรียนรูอะไรจากกรณีศึกษานั้น ๆ ้
  • 8. Explores the challenges of balancing one’s work, family and personal life and introduces a “Balance Wheel” framework for doing that.
  • 9.   อะไรคือสิ่งท้าทายที่สุดในชีวิตของคุณ ? ระดับของปั ญหาแบ่งได้เป็ น  ระดับสังคม  ระดับองค์กร  ระดับกลุ่มงาน  ระดับบุคคล   ที่ว่านั้นเป็ นประเด็นปั ญหาเร่งด่วน หรือ ปั ญหาในระยะยาว ? เป็ นการระบุปัญหา เพื่อจะได้แก้ไขได้ตรงจุด
  • 10.   0 = zero development 10 = world class development (maximum potential of human race) เช่น ด้าน physical คือ นักกีฬาเหรียญทองโอลิมปิ ค ด้าน professional คือได้รบรางวัล ั โนเบลหรือเป็ นประธานาธิบดี ประเทศมหาอานาจ ด้าน financial คือมหาเศรษฐีระดับ 5 คนแรกของโลก
  • 11.  การประเมินตนเอง ณ เวลา ปั จจุบน ั  สามารถประเมินได้ทุกปี เพื่อหา ช่องว่างในการพัฒนาสู่ จุดมุ่งหมายในชีวิต 12 ประการ ว่าต้องพัฒนาด้านใดเพิ่มขึ้น  เพื่อจะได้มีชีวิตอย่างสมดุล ไม่ สุดโต่งไปด้านใดด้านหนึ่ง
  • 12.  บางมิตยงมีช่องว่าง บางมิตไม่มี ิ ั ิ ช่องว่าง  เป็ นการระบุว่า คุณต้องการอะไร ?  เพื่อการตั้งเป้ าหมายที่จะเน้นการ พัฒนาด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะที่ ยังเป็ นปั ญหา
  • 13. Summarizes what we know about predictable stages in human life and career. Invites the reader to make notes along the way about similarities in his/her own experience.
  • 14.  Erikson แบ่งช่วงระยะเวลาของคนเราเป็ น 8 ช่วง โดยมีอายุ โดยประมาณดังนี้ 1. Trust vs. Mistrust (0–1) 2. Autonomy vs. Shame/Doubt (1–2) 3. Initiative vs. Guilt (2–4) 4. Industry vs. Inferiority (4–11) 5. Identity vs. Role Confusion (12–17) 6. Intimacy vs. Isolation (18–30) 7. Generativity vs. Stagnation (30–49) 8. Ego Integrity vs. Despair (50–)
  • 15.     เป็ นการแบ่งโดยอาศัยสมมุตฐานด้านจิตวิทยา ิ 5 ช่วงแรกเป็ นการพัฒนาระดับต้น Erikson มีความเชื่อว่าสภาวะแวดล้อมการเลี้ยงดูในวัยเด็ก จะ ส่งผลต่อพฤติกรรมการแสดงออกในวัยทางาน แสดงถึงความ เป็ นตัวตนของตนเองของแต่ละบุคคล Erikson, E. (1950, 1963). Childhood and Society. W.W. Norton, New York.
  • 16.  0–14: Growth stage ▪ Fantasy substage (age 4–10) is characterized by fantasy, role-playing. ▪ Interests substage (11–12) emphasizes likes. ▪ Capacity substage (13–14) emphasizes abilities.  15–24: Exploration stage ▪ Tentative substage (15–17) is characterized by making tentative choices. ▪ Transaction (18–21) by entering the labor market. ▪ Trial (22–24) by beginning work.  25–44: Establishment stage ▪ Trial substage (25–30) may see a change of occupation. ▪ Stabilization substage (31–44), an effort to settle down.
  • 17.  45–66: Maintenance stage ▪ Holding on to what one has.  65+: Decline stage ▪ Deceleration (65–70) is the beginning of retreat from work. ▪ Retirement (71–), a move out of the career.  Super, D., J. Crites, R. Hummd, H. Moser, P. Overstreet and C. Warnath (1957). Vocational Development: A Framework for Research. New York: Teachers College Press.
  • 18. A discussion of the challenges of defining success with some good examples and setting up the trade-offs one has to make between wealth, fame, power, family, love, health, recreation, resonance/flow, material things, etc. Presents a view of how to merge the static, cross-sectional view with the dynamic longitudinal view.
  • 20.
  • 21.   When you’re at your best, confident, productive, unaware of time, not conscious, performing at your best in an easy way, and learning, how do you feel? ความสาเร็จ ไม่ใช่แค่บรรลุเป้ าหมายที่ต้งไว้ หรือการมีความสุข ั แต่ความสาเร็จคือ ความรูสึกว่าตนเองทาได้ดีที่สุดแล้ว มีความ ้ มั ่นใจในตนเอง มีผลผลิต ลืมเวลา ไม่รูเ้ นื้อรูตว ทางานออกมาดี ้ ั ที่สุดได้โดยง่าย และมีการเรียนรู ้
  • 22.     ใน 1 อาทิตย์มีอยู่ 168 ชั ่วโมง การใช้ชีวิตอย่างไรนั้นให้แบ่งออกมาเป็ นแต่ละอาทิตย์ว่า เรา ทุ่มเทเวลาให้กบสิ่งใดมากน้อยเท่าใด จะเห็นภาพได้กว้างกว่า ั การดูว่าเราใช้เวลาในแต่ละวันอย่างไร เพราะจะรวมถึงวันสุด สัปดาห์ดวย ้ โดยเทียบกับ Balance Wheel เพื่อจะได้ประเมินตนเองว่า ได้ใช้ เวลาในสิ่งใดมากน้อยเพียงใดในแต่ละสัปดาห์ เพราะบุคคลมักจะแนะนาว่าควรใช้เวลาให้สมดุลได้อย่างไร แต่ ไม่มีใครบอกว่าในความเป็ นจริงแล้ว ตนเองใช้เวลาอย่างไร
  • 23.
  • 24. A diary of an MBA student working horrendous hours in investment banking.
  • 25.    Nelson เป็ นนักวาณิชธนกิจ ที่ทางานรัดตัว จนกระทั ่งไม่มีเวลาให้กบ ั สิ่งอื่นใด นอกจากทางานให้สาเร็จในระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งมักเป็ น การทางานแข่งกับเวลาและเน้นชัยชนะ ทาให้เกิดความเครียดและ มีอาการหมดแรงเนือง ๆ เนื่องจากใช้ชีวิตที่ไม่สมดุล ในหนึ่งอาทิตย์เขาทาแต่งานแม้กระทั ่งในวันหยุด มีชีวิตแบบเร่งรีบ ต้องทางานให้สาเร็จทันเส้นตายอยูเสมอ ่ เขาบอกว่านี่คือความสาเร็จในระยะสั้น เขาไม่ได้ตองการทางานใน ้ ลักษณะนี้ตลอดไป จริง ๆ แล้ว เขาใฝ่ ฝั นที่จะมีครอบครัวที่มี ความสุข
  • 26.  Investment Banking Division หรือ Corporate Finance Division คนที่ ทางานด้านนี้ พูดง่ายๆ ก็คือที่ปรึกษาทางการเงิน (Financial Advisor หรือ FA) นั ่นเอง ซึ่งทาหน้าที่ในการให้คาปรึกษาทางการเงินแก่ กิจการในด้านต่างๆ เช่น 1. การระดมทุน ออกหุนกู ้ (debentures) หรือออกหุนทุน ซึ่งหุนทุนก็ ้ ้ ้ อาจเป็ นการเสนอขายให้กบประชาชนเป็ นครั้งแรก (IPO) ผ่านตลาด ั หลักทรัพย์ ซึ่งในการขาย IPO นี้มักจะทาเป็ น Underwriter ด้วยคือ เป็ นผูรบประกันการจัดจาหน่ายหุน หรือการออกขายเพิ่มทุนเพิ่มเติม ้ั ้ เป็ น public offering หรือ right offering หรือเป็ นการเพิ่มทุนขายกับ กลุมนักลงทุนโดยเฉพาะเจาะจง (private placement) ่
  • 27.  2. การซื้อขายหรือรวมกิจการ (Mergers & Acquisitions หรือ M&A) ซึ่งจะทาหน้าที่เป็ นตัวกลางในการทา due diligence คือการ ตรวจสอบสถานะทางการเงินและธุรกิจของกิจการ ช่วยในการทา valuation ของกิจการที่จะทาการซื้อขายและแนะนาว่าควรซื้อขาย ที่ราคาใด ช่วยในการเจรจาต่อรองต่างๆ รวมถึงเป็ นตัวกลางใน การประสานงานทางานร่วมกับที่ปรึกษากฎหมาย ผูสอบบัญชี ผู ้ ้ ประเมินราคาและหน่วยงานของรัฐ เป็ นต้น 3. การปรับโครงสร้างหนี้ debt restructuring 4. หน้าที่ให้คาปรึกษาทางการเงินอื่นๆ อีกมากมาย
  • 28.  จริงๆ แล้ว คนที่จะทางานทางด้านนี้จะจบจากสาขาใดก็ได้ แต่ ขอให้มีความรูทางด้านการเงินและบัญชี เข้าใจและวิเคราะห์งบ ้ การเงินเป็ น ทา financial modeling ได้ ทาให้ผที่มาทางานด้านนี้ ู้ ส่วนใหญ่จะจบมาทางสายการเงิน บัญชี วิศวะ เศรษฐศาสตร์เป็ น ส่วนใหญ่ เพราะเกี่ยวข้องกับตัวเลข ซึ่งหากจบปริญญาตรี ก็จะ เริมทางานโดยมีตาแหน่งเป็ น Analyst ซึ่งต้องทางานทุกอย่าง ่ ตั้งแต่รวบรวมข้อมูลของบริษทและข้อมูลสาธารณะ ทา financial ั models ทา due diligence รับผิดชอบทา presentation ให้กบพี่ๆ ั เพื่อไป present ลูกค้า และงาน admin อีกมากมาย
  • 29.  สาหรับผูที่ไม่ได้จบในสาขาดังกล่าวข้างต้น ก็สามารถทางานด้าน ้ นี้โดยเรียน MBA เพิ่มเติม สาหรับในต่างประเทศ วาณิชธนากร เหล่านี้จะจบ MBA จากมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลก เช่น Harvard, Stanford, Wharton, Chicago, Columbia etc เพื่อที่จะเข้าไปทางาน Investment Bank ชั้นนาของโลกเช่น Goldman Sachs, Morgan Stanley, Merrill Lynch เพราะบริษทพวกนี้เขาไปสัมภาษณ์งานถึง ั มหาวิทยาลัยเลย…
  • 30.  มีหลายคนจบปริญญาตรีทางด้านกฎหมาย หรือ ศิลปศาสตร์ และมาเรียนต่อ MBA เพราะพวกฝรั ่งส่วนใหญ่เก่ง แม้ไม่ได้จบ ทางด้านตัวเลขโดยตรง ก็สามารถที่จะเรียนรูและนามา ้ ประยุกต์ใช้ได้ ซึ่งเมื่อจบ MBA จะเริ่มงานในตาแหน่ง Associate ทางาน 3 ปี ก็จะได้ปรับเป็ น Vice President, อีก 3 ปี ปรับเป็ น Director และอีก 3 ปี ปรับเป็ น Managing Director (MD) ซึ่งส่วน ใหญ่จะมี career path แบบนี้หากยังแสดงผลงานอยู่ บางคนปรับ เร็วหรือช้ากว่านี้ก็ข้ ึนอยูกบความสามารถส่วนตัว ่ ั
  • 31.  สาหรับผลตอบแทนมีมูลค่ามากมายมหาศาลแลกกับชีวิตส่วนตัว ที่สูญเสียไป เพราะทางานหนักมาก อาจต้องอยูทางานถึงเที่ยงคืน ่ ทุกวันรวมเสาร์อาทิตย์ หรือวันไหนที่ตองไปนาเสนองานลูกค้า ้ (pitching) อาจต้องทางานจนถึงเช้าไม่ได้หลับนอนกันเลยทีเดียว เพราะธุรกิจนี้มีการแข่งขันกันสูง สาหรับเงินเดือนระดับ Associate จะเริมที่ไม่ต ่ากว่า 1 แสนเหรียญสหรัฐต่อปี บวก Sign ่ on bonus และ bonus ปลายปี เข้าไปอีกก็ไม่ต ่ากว่า 5 แสนบาทต่อ เดือน สาหรับระดับ MD ฐานเงินเดือนก็ไม่ต ่ากว่า 1 ล้านเหรียญ ต่อปี และ Bonus อีก 1-3 ล้านเหรียญ ก็จะได้รายได้ไม่ต ่ากว่า 70 ล้านบาทต่อปี
  • 32.    ถ้าจาไม่ผิด ปี ที่แล้วปี เดียว ประธาน Goldman Sachs ได้ ผลตอบแทนทั้งปี ไม่ต ่ากว่า 30 ล้านเหรียญ ชีวิตความเป็ นอยูจง ่ึ หรูหรา มีบานใหญ่โต รถราคาแพง เครืองบินเจ็ตส่วนตัว เพราะ ้ ่ มีเงินเยอะมากแต่จะไม่ค่อยมีเวลาให้กบครอบครัว เพราะงาน ั หนักมากและมีความกดดันสูง หากไม่ perform ก็จะโดนไล่ออก เมื่อใดก็ได้ ข้อมูลเพิ่มเติมมีมากมายใน internet หรือเข้าไปที่ website ของ IB ที่กล่าวมา คุณก็จะได้ขอมูลมหาศาล ้ สาหรับในเมืองไทย ผลตอบแทนก็มากมายแต่ไม่เท่ากับที่ได้รบ ั ในต่างประเทศ IB แนวหน้าก็ ภัทร ทิสโก้
  • 33. An Iranian workaholic puts job ahead of self and family and nearly pays the price with his life as he falls asleep while driving and has a horrendous wreck.
  • 34.    ในปี ค.ศ. 1993 Hassan ในวัย 37 ปี ฉายา The Golden Boy ดารง ตาแหน่ง Chief Financial Officer ของ Iran Office Machines Center Co. Ltd. ในอิหร่าน ประสบอุบตเหตุทางรถยนต์ เนื่องจากหลับใน ั ิ เขารับผิดชอบเรืองการเงินทุกอย่างในบริษท ไม่เคยลางาน มักจะ ่ ั มาถึงบริษทก่อนใครในเวลา 7 โมงเช้าและออกจากบริษทเป็ นคน ั ั สุดท้ายในเวลา 3 ทุ่มครึ่ง เขาเป็ นคนทางานต้องสมบูรณ์แบบ ถึงแม้อายุยงน้อย แต่เขาเป็ นความดันโลหิตสูงและเป็ นภูมิแพ้ มี ั อาการปวดศีรษะและปวดหลัง วันรุงขึ้นหลังประสบอุบตเหตุ ประธานบริษทเชื่อว่าเกิดจากทางาน ่ ั ิ ั หนักเกินไป จึงสั ่งให้เขาพักร้อน 2 สัปดาห์
  • 35. Current member of the Japanese Diet who began as an investment banker in Europe and New York and then became the most popular of all 605 mayors in Japan and is a part of the reform movement in Japan.
  • 36.   Iwakuni เกิดที่เมือง Osaka ประเทศญี่ปุ่น ปี ค.ศ. 1936 ในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อเขาอายุได้ 7 ขวบ บิดาได้เสียชีวิต ทา ให้เขาต้องทางานหนัก เพื่อช่วยเหลือมารดาและน้องสาวอีกหนึ่ง คน ต่อมาเขาและครอบครัวได้ยายไปอยูที่เมือง Izumo ้ ่ เขาเป็ นคนขยันและตั้งใจเล่าเรียนจนกระทั ่งสามารถสอบเข้า มหาวิทยาลัยโตเกียว ซึ่งเป็ นมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของญี่ปุ่น
  • 37.   Iwakuni ทางานที่ Nikko และได้รบคาสั ่งให้ไปทางานที่ New York ั ในขณะที่เขาไม่สนทัดในการพูดภาษาอังกฤษ แต่เห็น ั ความสาคัญของภาษา จึงมุมานะเรียนภาษาจนเก่ง ต่อมาได้ยาย ้ ไปทางานที่ London และมีส่วนสาคัญในการเปิ ดสาขาที่ Paris เขามีภรรยาที่สนับสนุนเขาทุกเรือง ในปี ค.ศ. 1977 เขาได้รบ ่ ั คาสั ่งให้ทางานที่ Tokyo ทาให้มีปัญหาเพราะเขามีบุตรสาว 2 คน กาลังศึกษาใน London ทาให้เขาตัดสินใจลาออกจาก Nikko
  • 38.    Iwakuni ได้เข้าทางานกับ Morgan Stanley ทาให้เขาและภรรยา ต้องกลับญี่ปุ่นโดยให้ลกสาวศึกษาต่อที่ London ู ในปี ค.ศ. 1984 เขาได้ทางานกับ Merrill Lynch ที่ New York และต่อมาได้เลื่อนตาแหน่งเป็ นประธานบริษท Merrill Lynch ั Japan ที่เป็ นชาวญีปุ่นเป็ นคนแรก ่ ในปี ค.ศ. 1988 เขาได้รบโทรศัพท์จากเพื่อนให้สมัครเป็ น ั นายกเทศมนตรีของเมือง Izumo
  • 39.    Iwakuni ได้สมัครและได้รบเลือกตั้งเป็ นนายกเทศมนตรีของเมือง ั Izumo ในปี ค.ศ. 1989 เมื่อเข้ารับตาแหน่ง เขาได้ปรับเปลี่ยนการบริหารเทศบาลใหม่ โดยเน้นการให้บริการให้ตรงกับความต้องการของประชาชน เช่น ลดการรับสินบน พัฒนากระบวนการบริการให้กบประชาชนโดย ั มีกาหนดเวลาที่แล้วเสร็จอย่างชัดเจน การทางานบริการนอก เวลาราชการ การเปิ ดสาขาในศูนย์การค้าในวันหยุด เป็ นต้น ที่สาคัญ เขายังยึดในขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีของญีปุ่นอย่าง ่ เหนียวแน่น
  • 40.   ้ Iwakuni เป็ นคนรักธรรมชาติ เขาจัดตังหมอต้นไม้ “Tree Doctors” เพื่อดูแลรักษาต้นไม้ในเมืองให้มีสภาพที่ดี มีระบบการกาจัดขยะ ที่มีประสิทธิภาพ มีการส่งเสริมกลุมแม่บาน พบปะเด็กนักเรียน ่ ้ บ่อย ๆ เพื่อพูดถึงอนาคตของเมือง มีการเซ็นสัญญาเป็ นเมืองพี่ เมืองน้องกับเมือง Santa Clara, California ฯลฯ เขาได้รบความสนใจจากผูคนทั ่วทั้งประเทศ ในปี ค.ศ. 1993 ั ้ เขาได้รบเลือกตั้งเป็ นนายกเทศมนตรีซ้ าด้วยคะแนนร้อยละ 87 ั และตั้งใจเป็ นนายกเทศมนตรีแค่ 2 สมัย เพราะเขาบอกว่าเป็ น เวลาที่เหมาะสมที่โครงการต่าง ๆ สาเร็จแล้วด้วยดี
  • 41.   ในปี ค.ศ. 1994 เมือง Izumo ได้รบเลือกเป็ นเมืองที่ดีที่สุดใน ั ญี่ปุ่นเป็ นปี ที่สองติดต่อกัน ในปี ค.ศ. 1996 Iwakuni ได้ตดสินใจลงเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภา ั ของญี่ปุ่น (สภา Diet) ในเขต Setagaya-ku ของเมือง Tokyo และ ได้รบเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงท่วมท้น ั
  • 42. A free spirit entrepreneur who has successfully introduced a new product through GNC, lost large amounts of weight, become a fitness nut, and is able to resist the outside-in pressures of society to do things her own way.
  • 43.    Fisher เกิดในเมืองเล็ก ๆ ชื่อว่า Ririe มลรัฐ Idaho หล่อนเป็ นคน รักอิสระเสรี และมักท้าทายกับขนบธรรมเนียมประเพณีเก่า ๆ ที่ เคยยึดถือกันมา เมื่อจบชั้นมัธยมในปี ค.ศ. 1987 ได้แต่งงานกับเพื่อนชายที่ เรียนมาด้วยกัน และอีก 2 ปี ถัดมาได้หย่ากับสามีคนแรกตอน เรียนอยูมหาวิทยาลัยชั้นปี ที่ 2 แล้วย้ายออกจาก Idaho ่ ในปี ค.ศ. 1996 ได้แต่งงานกับสามีใหม่ที่ทางานเกี่ยวกับการ ผลิตสารตั้งต้นที่เป็ น เอ็นไซม์ สาหรับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมใน ร้าน GNC
  • 44.    การได้เข้ามาอยูในวงการอาหารเสริม ทาให้ Fisher พัฒนาสูตร ่ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมร่วมกันกับการออกกาลังกาย เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตที่ดีของสุภาพสตรี ต่อมาหล่อนขอแยกทางกับสามีคนที่สอง ซึ่งจากกันด้วยดี โดย หล่อนเป็ นคนถือลิขสิทธิ์สูตรอาหารเสริม และเรืองราวการดูแล ่ สุขภาพของตนเองไว้ได้ การเลือก เป็ นหนทางการใช้ชีวิตของหล่อนเอง
  • 45.   ในปี ค.ศ.1996 Fisher ออกผลิตภัณฑ์ตวใหม่รวมกับ Mel Rich ั ่ เจ้าของบริษท Bodyonics Pinnacle ชื่อ Estrolean จาหน่ายในร้าน ั GNC โดยหล่อนเป็ นคนดูแลเรื่องการประชาสัมพันธ์ที่ใช้ตนเอง เป็ นต้นแบบ Fisher ได้พบกับหนุ่มที่เพิ่งจบปริญญาเอกจาก Harvard ที่ Hawaii ขณะที่เตรียมการวางแผนออกผลิตภัณฑ์ หล่อนคบกับชายคนนี้ ได้ 3 ปี แล้ว เขาก็ยงไม่ขอแต่งงานสักที ั
  • 46. A professor balances getting tenure, teaching, writing, consulting, serving on committees, having two kids, managing a long-distance marriage and her health. And then is asked to do more.
  • 47.    Erika Hayes เกิดในปี ค.ศ. 1969 ที่ Bermuda แล้วอพยพมาอยูที่ ่ Pennsylvania ในปี ค.ศ. 1971 เมื่ออายุได้ 5 ขวบ บิดาและมารดา ได้แยกทางกันโดยต่างคนต่างมีค่ใหม่ โดย Erika อยูกบมารดาและ ู ่ ั บิดาใหม่ ที่ Missouri หล่อนเป็ นคนเรียนหนังสือเก่ง ในปี สุดท้ายของชั้นมัธยม ได้รบ ั เลือกเป็ นประธานรุน และได้เรียนต่อที่ Pomona College ที่ ่ Claremont, California ในสาขาจิตวิทยา และเรียนต่อในด้าน organizational psychology ที่ University of Michigan จนได้รบ ั ปริญญาเอก หล่อนได้รบฉายาจากเพือน ๆ ว่า “แสงอรุณ”(Sun Shine) ั ่
  • 48.    Erika เริ่มทาการสอนที่ Tulane University เมือง New Orleans, Louisiana เป็ นเวลา 3 ปี และสอนที่ Emory University เมือง Atlanta, Georgia เป็ นเวลาอีก 3 ปี วันหนึ่งขณะรอเครืองบินที่ Dallas/Fort Worth International ่ Airport หล่อนได้พบกับ Jimmie James ผูซึ่งทางานกับบริษท ้ ั Exxon และมีพานักที่เมือง Houston, Texas ทั้งคู่ได้ตดต่อกันทางโทรศัพท์ทางไกลและเรียนรูกนและกันมาก ิ ้ั ขึ้น
  • 49.   ทั้งสองได้แต่งงานกันเมื่อปี ค.ศ. 2000 ที่เมือง Houston โดยต่าง ฝ่ ายต่างอยูกนคนละเมือง หล่อนอยูที่ Atlanta ขณะที่เขาอยู่ ่ ั ่ Baton Rouge มีโอกาสพบกันตอนสุดสัปดาห์ ภายหลังแต่งงานได้ 3 ปี ฝ่ ายสามียายที่ทางานไปยัง Washington, ้ D.C. ภรรยาจึงย้ายไปที่ Northern Virginia เพื่อจะได้อยูใกล้กน ่ ั
  • 50.   ต่อมาทั้งคู่มีบุตรชาย 1 คน และบุตรสาวอีก 1 คน ในขณะที่ฝ่าย สามีตองเปลี่ยนสถานที่ทางานบ่อย ๆ ทาให้ท้งคู่ไม่ได้ใช้ชีวิต ้ ั ร่วมกัน ยกเว้นช่วงสุดสัปดาห์ ที่จะอยูดวยกันอย่างพร้อมหน้า ่ ้ การที่ท้งคู่ตางคนต่างประกอบอาชีพ จึงทาให้ชีวิตการเป็ นอยูไม่ ั ่ ่ ปกตินก แต่ชีวิตคู่แบบนี้ก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ั
  • 51. A description of the early life and formative events in the life of Donna Dubinsky, founder of Palm and one of America’s most influential women.
  • 52.    Dubinsky เติบโตในแถบ southwest Michigan เมือง Benton Harbor ที่บิดาของหล่อนทางานในโรงงานเหล็ก มีมารดาเป็ น แม่บาน ้ หล่อนจบการศึกษาที่ Yale University เมือง New Haven, Connecticut แล้วเข้าทางานที่ธนาคาร Philadelphia National Bank ต่อมาในปี ค.ศ. 1979 หลังจากทางานในธนาคารได้ 2 ปี หล่อน ได้เข้าศึกษาต่อที่ Harvard Business School
  • 53.     ในปี ค.ศ. 1981 ขณะที่ Dubinsky เรียนเทอมสุดท้ายที่ Harvard Business School บริษทคอมพิวเตอร์ Apple ได้มาตั้งโต๊ะรับสมัคร ั งานวิศวกรทีมหาวิทยาลัย ่ หล่อนได้สมัครด้วยโดยบอกว่า บริษทคงต้องการคนที่เข้าใจ ั ลูกค้า หล่อนคือคนคนนั้น ทาให้ได้รบการว่าจ้างเป็ นฝ่ าย ั ช่วยเหลือลูกค้า ต่อมาหล่อนได้เลื่อนขึ้นเป็ นหัวหน้าฝ่ ายขาย ในปี ค.ศ. 1987 หล่อนได้รวมมือกับ Campbell ในการตั้งบริษท ่ ั ลูกของ Apple คือ Claris แต่แล้ว Apple ได้ควบรวมกิจการของ Claris เข้าด้วยกัน ทาให้หล่อนลาออกจาก Apple
  • 54.   ในปี ค.ศ. 1992 Dubinsky ได้รบการติดต่อกับจาก Bruce ั Dunlevie ของบริษท Palm Computing เพื่อเสนอให้หล่อนดารง ั ตาแหน่ง CEO ขณะเดียวกัน Bill Campbell ที่เคยทางานที่ Claris ร่วมกันมา สนใจในตัวหล่อนและอยากได้มาร่วมทีมที่ GO Corporation ด้วย เช่นกัน (ผลสุ ดท้ าย หล่ อนเลือกทางานที่ Palm Computing)
  • 55. Describes Mr. Norris’ childhood, career advancement, rise to the top spot, lifestyle issues, indictment, imprisonment, and subsequent successes.
  • 56.   Edward T. Norris เกิดในตระกูลตารวจ พ่อของเขาเปลี่ยนจาก อาชีพขายเนื้อมาเป็ นตารวจเมื่ออายุ 32 ปี พ่อของเขาสอนให้ ทางานหนักและรูจกรับผิดชอบตนเอง ้ั Norris เริ่มอาชีพตารวจในเขตที่ยากลาบากที่สุดคือ Times Square ทาให้เขามีประสบการณ์ในการเป็ นตารวจมากมาย
  • 57.    หลังจากเป็ นตารวจใน New York ได้ 20 ปี เขาได้มารับงานเป็ นผู ้ บัญชาการตารวจที่ Baltimore ในปี ค.ศ. 2000 Norris บริหารกิจการตารวจโดยอาศัยตัวชี้วัดต่าง ๆ ที่มีการ ตั้งเป้ าหมาย และทาให้ได้ตามเป้ าหมาย ผลทาให้อาชญากรรม ลดลงเป็ นที่ชื่นชมของชาวเมือง เขาเป็ นคนที่ชอบพูดแสดงออก ทาให้เป็ นจุดสนใจของ สาธารณชนและสื่อแขนงต่าง ๆ
  • 58.   ในปี ค.ศ. 2002 เขาถูกข้อกล่าวหาว่าใช้เงินในกองทุนตารวจ อย่างผิดวัตถุประสงค์ เป็ นเพราะเขาละเลยในการนาใบเสร็จมา แสดงในการใช้เงิน เช่น การพาลูกน้องตารวจไปดูเกมส์เบสบอล การสั ่งตัดชุดตารวจ รวมถึงการแจกเครื่องหมาย เครื่องแต่งกาย ของตารวจลูกน้อง ต่อมาศาลตัดสินว่ามีความผิดให้ปรับเขาเป็ นเงิน $10,000 เหรียญ จาคุก 6 เดือน กักบริเวณ 6 เดือน และให้ทางานบาเพ็ญ ประโยชน์สาธารณะอีก 500 ชั ่วโมง
  • 59.    เมื่อต้องโทษในเรือนจา เขาพยายามพรางตัวไม่ให้นกโทษจาเขา ั ได้ และได้รบความลาบากเช่นเดียวกับนักโทษคนอื่น ๆ ั เมื่อครบ 6 เดือน เขาถูกกักบริเวณในบ้าน ที่ ฟลอริดา ระหว่างนั้น ชาวเมือง Baltimore ยังคงคิดถึงเขา และคิดว่าเขาถูก ใส่ไคล้ จึงเรียกร้องให้สถานีวิทยุ FM 105.7 โทรศัพท์ตดต่อกับ ิ เขาเพื่อให้เขาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการกับ อาชญากรรมของเมือง ปรากฎว่ามีผสนใจฟั งมาก ทางสถานีจง ู้ ึ ออกรายการสัมภาษณ์สดทุกวันช่วงเทียงถึงบ่ายโมง และมี ่ ชาวเมืองโทรศัพท์มาให้กาลังใจเขาเป็ นจานวนมาก
  • 60.     หลังครบการกักบริเวณแล้ว เขาได้ไปบาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ ที่สถานรับเลี้ยงคนพิการ ในเมือง Baltimore รายการทางสถานีวิทยุ FM 105.7 ที่เขาจัดอยูได้รบความนิยม ่ ั มาก ทาให้รายการต้องเปลี่ยนชื่อเป็ น The Ed Norris Show และ เพิ่มเวลาออกอากาศเป็ นวันละ 4 ชั ่วโมง จาก 10.00 – 14.00 น. โดยมี Norris เป็ นผูดาเนินรายการสด ้ มีผฟังโทรศัพท์เข้ามาในรายการเพื่อให้เขาแสดงความคิดเห็นใน ู้ ฐานะที่เป็ นตารวจมาก่อน และเขาได้นาเสนอข่าวทีน่าสนใจด้วย ่ Norris ได้รางวัล City Beat’s “best talk-show host”
  • 61. An American who just became partner in Japan in a wellknown global consulting firm decides to take some time off to regain his health and figure out the meaning of life by cycling across the entire United States.
  • 62.    บิดาและมารดาของ Shill พบกันบนรถไฟ บิดาของเขาเป็ นพล ทหารเรือจากครอบครัวที่ยากจนใน Mississippi ในขณะที่มารดา ของเขามาจากครอบครัวผูมีอนจะกินใน Connecticut ้ ั Walter Shill เกิดในปี ค.ศ. 1960 เป็ นบุตรคนโตของพี่นอง 6 คน ้ เขาแต่งงานในปี ค.ศ. 1979 Shill จบการศึกษาจาก Virginia Tech และ the University of Virginia เขาศึกษาต่อด้านการบริหารธุรกิจที่ the Darden Graduate School of Business at the University of Virginia
  • 63.    Shill เข้าทางานกับบริษท McKinsey ที่ Cleveland ต่อมาปี ค.ศ. ั 1989 บริษทส่งเขาทางานที่ประเทศญี่ปุ่น ั เขาทางานทีญี่ปุ่นได้ 4 ปี น้ าหนักเพิ่มขึ้น 70 ปอนด์ เขารูสึก ่ ้ อ่อนล้าและไม่ได้ใกล้ชิดกับครอบครัว เมื่อภรรยาเตือนเรือง ่ สุขภาพ ทาให้เขาสนใจการออกกาลังกาย ทาให้เขามีสุขภาพดีข้ ึน ในปี ค.ศ. 1995 บริษทสั ่งย้ายเขาให้กลับมาทางานที่อเมริกา ั เขาจึงมีความคิดว่าจะปั นจักรยานแบบฉายเดียวจากมหาสมุทร ่ ่ ด้านหนึ่งไปยังมหาสมุทรอีกด้านหนึ่งของอเมริกา ซึ่งทั้ง ครอบครัวและบริษทไม่ขดข้อง ั ั
  • 64.   ในปี ค.ศ. 1997 เขาได้วางแผนการเดินทางจากชายฝั งตะวันตก ่ ถึงด้านตะวันออก เมื่อเริมเดินทาง เขาประสบอุปสรรคมากมาย ไม่ว่าจะเป็ นลมฟ้ า ่ อากาศ ภูมิประเทศ สภาพของจักรยาน แต่การเดินทางทาให้เขา ได้รบประสบการณ์ที่ดี ๆ จากคนที่คาดไม่ถึง เช่น ผูที่มีลกษณะ ั ้ ั ท่าทางเป็ นคนบ้านป่ า แต่มีจตใจงดงาม ช่วยเป็ นภาระหาที่พก ิ ั ช่วยบอกทาง มีคนคืนกระเปาสตางค์ทเขาทาหล่นโดยไม่ขอรับ ๋ ี่ รางวัล บางคนเลี้ยงกาแฟ เลี้ยงอาหาร ฯลฯ ทาให้เขามีทศนคติ ั ในการมองผูคนต่างออกไป ้
  • 65.    จากการที่ได้พบกับผูคนระหว่างทาง ทาให้เขาวางแผนในการใช้ ้ ชีวิตกับครอบครัวให้มากขึ้น ทาให้เขามองเห็นอาการบ้างานของผูอื่นได้ ้ แล้วเขาจะรักษาบรรยากาศของการเดินทาง คือ การค้นหา ความหมาย ได้เห็น ได้กลิ่น รูสึก ถึงโลกรอบๆ ตัวเรา ได้อย่างไร? ้ (ในทีสุด เขากลับมาใช้ ชีวิตแบบเดิมคือเป็ นทีปรึกษา และมีนาหนักตัวเพิมขึน) ่ ่ ้ ่ ้
  • 66. The senior strategy officer for Marriott Corporation describes his life and career including his hobbies, lifestyle, typical week, relationships, and family.
  • 67.     มารดาของ Tom Curren แต่งงานกับบิดาของเขาสมัยสงครามโลก บิดาเขาเข้าร่วมสงครามและเมื่อกลับจากสงครามบิดาได้เลิกกับ มารดาของเขา มารดาเขาแต่งงานใหม่เมื่อเขามีอายุได้ 10 ปี และหลังแต่งงาน ใหม่เขามีนองอีก 3 คน บิดาใหม่มีลกสาวติดมาอีก 1 คน ้ ู ตอนเป็ นเด็ก Tom เป็ นเด็กค่อนข้างเงียบและเก็บตัว เรียน หนังสือไม่เก่งนัก จนกระทั ่งได้เรียนในมหาวิทยาลัย Trinity College ที่ Hartford เขาจบ MBA จาก Wharton ในปี ค.ศ. 1967 และสมัครเป็ น ทหารเรือในปี ค.ศ. 1968 -1971
  • 68.   เขาทางานกับ McKinsey ประมาณ 4 ปี ก่อนที่จะมาทางานกับ Marriott ในตาแหน่ง Director of Corporate Planning ในปี ค.ศ. 1977 และต่อมาได้เลื่อนขั้นเป็ นรองประธานบริษท ั หน้าที่ของเขาคือผูวางแผนยุทธศาสตร์ให้กบบริษท และเป็ นผู ้ ้ ั ั คัดเลือกบุคลากร โดยมีหลัก 3 ประการคือ  ผูที่มีความสามารถในการวิเคราะห์แบบบูรณาการ ้  ผูที่มีมุมมองเรื่องการตลาด ้  ผูที่มีค่านิยมเข้าได้กบบริษัท ้ ั
  • 69.     เขาเป็ นคนจริงจังกับงาน ชอบทุมสุดตัว สนใจในผลลัพธ์มาก ยึด ่ มั ่นในหลักการมากกว่ารายละเอียด และมีความมุ่งมั ่นสูความ ่ เป็ นเลิศ เขาสนใจในการเรียนรูโดยใช้เวลาดึก ๆ ในการอ่านหนังสือ เข้า ้ อบรมการสัมนาเรืองผูนาอยูบ่อย ๆ หรือพูดคุยกับที่ปรึกษา ่ ้ ่ เขาแต่งงาน 2 หน โดยในหนแรกเขาคิดว่าเขายังไม่มีความ มุ่งมั ่นเท่ากับการแต่งงานหนที่สอง ข้อดีของ Tom คือเขาไม่ชอบแข่งขันและไม่สนใจการเมืองใน องค์กร แต่ชอบทางานเป็ นทีม และชอบฝึ กอบรมบุคลากร
  • 70. Mrs. Curren describes her husband and their relationship and lifestyle. Her children also comment.
  • 71.    Judy Moore มีบิดาเป็ นนักบวชนิกาย Lutheran จบการศึกษาจาก Pomona College ในสาขา sociology แต่งงานครั้งแรกกับ Allen Moore มีบุตร 2 คน ก่อนแยกทางกัน หลังแต่งงานได้ 9 ปี จึงตัดสินใจเรียนต่อ MBA ที่ Stanford และ เข้าทางานที่ Marriott ได้ 4 ปี จึงลาออก หล่อนพบกับ Tom ในปี ค.ศ. 1978 ก่อนเรียน MBA ไม่นานนัก และแต่งงานกันอีก 6 ปี ถัดมา
  • 72.    หล่อนและ Tom เป็ นคนจริงจังกับชีวิตมาก ไม่ยอมทาอะไรครึ่ง ๆ กลาง ๆ ต่างคนต่างมีกิจกรรมของตนเองแน่นไปหมด เขาทั้งสองพยายามที่จะรับประทานอาหารเย็นด้วยกัน แต่กบลูก ั ทั้ง 2 คนของ Tom แล้ว เป็ นสิ่งที่ปฏิบตได้ยาก เนื่องจากลูก ๆ ั ิ อาศัยที่ New York แต่เขาทั้งสองอยูที่ Washington DC ่ หล่อนบรรยายถึง Tom ว่า เป็ นคนชอบมองอะไรเป็ นนามธรรม มองภาพสูงและมองภาพรวม และยึดมั ่นในความคิดตนเอง มัก ขุ่นเคืองถ้าไม่ได้ดั ่งใจ เขาควรมองอะไรที่เป็ นรูปธรรมบ้าง
  • 74. A successful Ameritech executive wrestles with whether to cancel a family vacation in order to participate in a very important corporate restructuring.
  • 75.    Jackie เกิดที่เมือง Cleveland, Ohio ในปี ค.ศ.1947 เป็ นบุตรสาว คนเดียวของ Jack และ Gladys Dudek หล่อนจบการศึกษาจาก Muskingum College ที่ southern Ohio ใน ปี ค.ศ. 1969 สาขา communication และ psychology และในปี เดียวกันได้แต่งงานกับ Jack ต่อมาเขาได้ไปรบในสงคราม เวียตนามในปี ค.ศ. 1970 เป็ นเวลา 2 ปี หล่อนจึงต้องหางานทาที่ Ohio Bell โดยทาหน้าที่รบคาสั ่งจาก ั ลูกค้าและออกใบเสร็จ ย้ายไปทางานที่ Bell of Pennsylvania และ ต่อมาย้ายทาหน้าที่ฝ่ายขายที่ Ohio Bell
  • 76.    การจัดองค์กรใหม่ของ Bell โดยรวมงาน 7 มลรัฐเข้าด้วยกันเป็ น บริษทใหม่คือ Ameritech และในปี ค.ศ. 1986 ทาให้หล่อนได้ ั เลื่อนชั้นเป็ นประธานบริษท Bell Communications ซึ่งเป็ นฝ่ าย ั ขายของ Ohio Bell ในปี ค.ศ. 1988 หล่อนรับตาแหน่งใหม่เป็ น Chief Financial Officer ที่ สานักงานใหญ่ของ Ameritech ที่ Chicago, Illinois และในปี 1989 หล่อนและครอบครัวย้ายมาที่ Chicago สามี หล่อนคือ Jack ได้เข้าทางานที่ Ameritech ในแผนก Information Technology Department ด้วย
  • 77.   ในปี ค.ศ. 1991 Jackie ย้ายไปอยูฝ่ายการตลาด ในปลายปี นั้น ่ หล่อนและครอบครัววางแผนท่องเทียวยุโรปในเดือนกรกฎาคม ่ ในปี ค.ศ. 1992 โดยชาระเงินไว้ล่วงหน้าเรียบร้อยแล้ว ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1992 Ameritech มีแผนปรับปรุงองค์กร ใหม่ และหล่อนมีสวนสาคัญต่อการวางแผนนี้ด้วย มีผแนะนาว่า ่ ู้ หล่อนควรยกเลิกแผนการเดินทางท่องเที่ยว (หล่อนตัดสินไปเที่ยวกับครอบครัว โดยใช้ teleconferences ติดต่อ กับการสัมนา และต่อมาได้เลื่อนเป็ นประธาน Ohio Bell)
  • 78. Bob Johnson, just retired CEO of Honeywell Aerospace, has money, fame, power, and is facing a divorce and an uncertain future. Beset with Attention Deficit Disorder (ADD) and Obsessive Compulsive Disorder (OCD), he has learned to manage his career well. He’s offered a job in Dubai to establish a new aerospace industry there, but it will disrupt his intended retirement, family and new house-building.
  • 79.    Robert Johnson เติบโตที่ Zanesville, Ohio ที่มีบิดา(ชาวสวีเดน) ทางานที่ General Electric (GE) ส่วนมารดาเป็ นชาวเยอรมัน เขา ถูกเลี้ยงดูให้มีระเบียบวินย ั เขาเป็ นเด็กที่ค่อนข้างดื้อ มีอาการโรค Attention Deficit Disorder (ADD) คือไม่ชอบอยูนิ่ง และอาการโรค Obsessive Compulsive ่ Disorder (OCD) คือจมดิ่งกับสิ่งนั้นไม่ปล่อยวาง เขามักกังขาว่า ทาไมต้องมีกฎระเบียบด้วย เพื่อนของเขาบอกว่า เขาเป็ นคนมองโลกในแง่ดี ไม่จมอยูใน ่ ความทุกข์นาน
  • 80.     เขาเล่าเรียนที่ Miami University ที่ Oxford, Ohio ด้านวิศวกรรมได้ 2 ปี แล้วเปลี่ยนสาขามาเรียนด้านธุรกิจจนจบในปี ค.ศ. 1969 เขาเริ่มทางานที่ GE Aircraft Engines (GEAE) ในแผนกบัญชีและ วิเคราะห์การเงิน เขาแต่งงานกับ Dede ในปี ค.ศ. 1972 มีบุตรสาว 2 คน บุตรชาย 1 คน ในปี ค.ศ. 1982 ได้ยายไปรับตาแหน่งที่ สิงคโปร์ เพื่อฟื้ นฟู ้ กิจการซ่อมเครืองยนต์ของ GE aircraft จากขาดทุนมาเป็ นเติบโต ่ ถึง 7 เท่า เขาทาสาเร็จก่อนเวลาเป้ าหมายที่วางไว้
  • 81.    Johnson ทางานกับ GE ได้ 24 ปี จึงลาออกเพื่อหางานที่ทาทายกว่า ้ AAR เป็ นบริษทเกี่ยวกับการบินอวกาศ ที่ Johnson รับหน้าที่เป็ นรอง ั ประธานและผูจดการทั ่วไป เพียงระยะเวลา 13 เดือนที่เขาทางาน ้ั ด้วย ราคาหุนของบริษทเพิ่มจาก หุนละ 2 เซ็นต์ เป็ น 49 เซ็นต์ ้ ั ้ ต่อมาเขาได้รวมงานกับ Larry Bossidy ที่ AlliedSignal ในสาขาการ ่ บินอวกาศ และเขาทาได้สาเร็จตามเป้ าหมายก่อนเวลา จนในปี ค.ศ. 1988 เขาได้รบตาแหน่งเป็ น president และ CEO ของ ั AlliedSignal’s aerospace marketing, sales, and service business
  • 82.    ในปี ค.ศ. 1999 บริษท AlliedSignal ควบรวมกับ Honeywell และ ั เปลี่ยนชื่อเป็ น Honeywell International เขาได้รบตาแหน่งเป็ น CEO ั ของ aerospace operations มีสานักงานใหญ่ที่ Phoenix ซึ่งเติบโต อย่างมั ่นคงจนกระทั ่งเขาเกษียณในปี ค.ศ. 2006 เขากล่าวว่า ที่เขาทาสาเร็จมาโดยตลอดนั้นไม่ได้เกิดจากตัวเขา แต่ เป็ นผูปฏิบตงานที่ออกแบบกระบวนงานใหม่ ให้สอดคล้องกับความ ้ ั ิ ต้องการของลูกค้า เขามีวิธีการทางาน 3 ประการคือ ให้ความช่วยเหลือผูรวมงาน ้่ รวบรวมบุคลากรที่เกี่ยวข้องทางานเป็ นทีม และการมุ่งเน้นทีลกค้า ่ ู
  • 83.    เขาเป็ นคนคิดเร็วทาเร็ว และจับประเด็นสาคัญได้เร็ว ในการเผชิญกับเรืองราวต่าง ๆ เขาใช้ ADD ให้เป็ นประโยชน์คือ ่ มองทุกประเด็นหรือทุกมุมมองที่เกี่ยวข้องกับเรืองนั้นอย่าง ่ กว้างขวางและรวดเร็ว จนกระทั ่งเจอประเด็นสาคัญของปั ญหา ของเรืองนั้น ๆ จากนั้นเขาใช้ OCD จับประเด็นสาคัญที่พบแล้ว ่ เจาะลึกลงในรายละเอียดจนกระทั ่งพบหนทางในการแก้ปัญหา คนที่เป็ น ADD มักนอนไม่หลับเพราะสมองแล่นตลอดเวลา คน เป็ น OCD มักหมกมุ่นอยูกบสิ่งนั้นอย่างไม่ปล่อยวาง และขาดการ ่ ั พักผ่อน
  • 84.   เมื่ออายุได้ 56 ปี เขาได้รบการผ่าตัดเส้นเลือดไปเลี้ยงหัวใจ 3 ั เส้นเพราะเกิดการอุดตัน ซึ่งเกิดจากการตรวจพบในกาตรวจ ร่างกายประจาปี คาว่าซิปเปอร์ คือรอยแผลเป็ นบนหน้าอกจาก การผ่าตัดทรวงอก และอาจมีรอยที่แขนหรือที่ขา ทีเป็ นบริเวณที่ ่ แพทย์เลาะเส้นเลือดบริเวณนั้นมาใช้แทนหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง หัวใจที่อุดตัน การทางานแบบ 24/7 คือมุ่งแต่ทางานทาให้ชีวิตครอบครัวมี ปั ญหา ภรรยาขอแยกทางหลังจากที่ลก ๆ โตหมดแล้ว และทั้ง ู สองไม่มีเยือใยเหลือให้กนอีก ่ ั
  • 85.     ประการแรก เขารูสึกว่าเขาไม่รูจะดารงชีวิตปกติในสังคมอย่างไร ้ ้ เพราะเมื่อยังมีตาแหน่งหน้าที่อยู่ จะมีเลขานุการคอยจัดการให้ ทุกสิ่งทุกอย่าง เมื่อมาอยูคนเดียว จึงต้องเรียนรูใหม่ที่จะทาด้วย ่ ้ ตนเอง เขารูสึกว่าลูกน้องจะมาคบหาสมาคมกับเขามีจานวนน้อยลงเรือย ้ ่ ๆ เพราะเขาเหล่านั้นสนใจแต่นายใหม่ เขาห่างเหินจากภรรยาเรือย ๆ และไม่ได้ตดต่อกันอีก ่ ิ สุดท้ายเขารูสึกเดียวดาย ้
  • 86. An intimate view of the former CEO of Puget Sound Power and Light, Seattle Washington, including discussions of how he managed his career and his marriage and family life. Includes a comment by his wife about how sometimes she thinks he doesn’t even SEE her needs.
  • 87.    Clawson เกิดในปี ค.ศ. 1899 ที่ Providence, Utah เขาเป็ นบุตร คนที่สองของพี่นองทั้งหมด 10 คน เป็ นชาย 8 หญิง 2 ้ บิดาของเขาต้องทางานหนัก มารดาไม่รูหนังสือ แต่ก็เลี้ยงลูกด้วย ้ ความรักความเมตตา เขาชอบอ่านหนังสือ และเป็ นเด็กเรียนดี ตอนปิ ดเทอม เขาต้อง ทางานในโรงงานน้ าตาล หัวหน้าคนงานคือ Campbell แนะนาเขา ว่า งานเขียนหนังสือเบากว่างานใช้แรง และได้ค่าจ้างดีกว่าด้วย ทาให้เขามุมานะในการเรียนยิงขึ้น ่
  • 88.    ในปี ค.ศ. 1920 เขาเรียนที่มหาวิทยาลัย Utah State เป็ นปี สุดท้าย ทีแรกเขาตั้งใจเป็ นครูสอนหนังสือ หรือเป็ นทนายความ แต่มีผู ้ แนะนาให้เรียนต่อด้านธุรกิจ เขาจึงสมัครเรียนที่ Harvard Business School และได้รบการตอบรับ ระหว่างรอเปิ ดเทอม เขายืมหนังสือ ั ด้านธุรกิจที่พี่ชายใช้ มาศึกษาล่วงหน้า ทาให้เขาเรียนได้ดีเยียม ่ เขาต้องส่งตัวเองเรียนด้วยการทางานในหน้าร้อนและทางานใน ห้องสมุด ทาให้เขามีโอกาสทราบถึงหนังสือทางธุรกิจที่นกศึกษาใช้ ั ในการเรียน และมีเวลาศึกษาล่วงหน้า เมื่อเรียนจบได้เข้าทางานเป็ นผูตรวจประเมินของบริษท Stone and ้ ั Webber
  • 89.   ในปี ค.ศ. 1928 บริษท Stone and Webber ส่งเขาให้ทาหน้าที่ ั ตรวจประเมินที่ Seattle รับผิดชอบชายฝั งทะเลด้านตะวันตก ่ ทั้งหมด รวมทั้งบริษท Puget Sound Power and Light Company ั (PSPL) ทาให้เขาและครอบครัวตัดสินใจย้ายมาอยูที่ Seattle ่ ต่อมาเขาได้มาทางานให้กบ PSPL ในตาแหน่งผูตรวจประเมิน ั ้ อาวุโสของบริษท เมื่อมีอายุได้ 37 ปี และอีก 2 ปี ถัดมา เขา ั ได้รบหน้าที่เป็ นฝ่ ายดูแลการเงินของบริษท ั ั
  • 90. Jack มีหลักในการบริหารเงินตราดังนี้  1. ถือเงินสดให้พอเพียงเผื่อไว้เกิดกรณีฉุกเฉิน  2. ทาประกันชีวิตไว้ให้มากเท่าที่สามารถทาได้  3. ปกป้ องภรรยาและบุตรด้วยมีสินทรัพย์ที่น่าเชื่อถือ  4. ลงทุนในสินทรัพย์เผื่อเกษียณไว้โดยไม่ตองพึ่งพาเงินบานาญ ้ ลักษณะบริษทที่เขาจะลงทุนด้วยมีดงนี้ ั ั  1. อุตสาหกรรมที่มีพ้ ืนฐานแข็งแรง  2. บริษทหน้าใหม่ที่บริหารอย่างมุ่งมั ่น ั  3. มีแนวโน้มการเจริญเติบโตที่ดี  4. ผลตอบแทนสูงจากมีผลประกอบการที่ดี
  • 91.   ในราว ค.ศ. 1955 ขณะที่ Jack และประธานบริษท เดินทาง ั ธุรกิจไปยังชายฝั งตะวันออก มีสถาบันการเงินแนะนาประธาน ่ บริษทว่า เพื่ออนาคตและราคาหุนที่ดีของบริษท ควรมีการ ั ้ ั วางแผนสืบทอดตาแหน่งด้วย ในปี ต่อมา Jack ได้รบการแต่งตั้งเป็ นประธานและผูบริหารสูงสุด ั ้ ของ PSPL เขาเป็ นคนทางานหนัก และมักนารายงานกลับมาอ่าน ต่อที่บานเป็ นประจา และใช้เวลาเช้ามืดในราวตีสี่ตีหา ใคร่ ้ ้ ครวญหาหนทางในการแก้ปัญหา
  • 92.   ในปี ค.ศ. 1965 Jack เกษียณจากบริษท แต่ยงนั ่งเป็ นฝ่ าย ั ั กรรมการบริหาร และให้คาปรึกษากับบริษทด้านการปรับปรุง ั การบริหารอีก 5 ปี ภรรยาของเขากล่าวว่า Jack เป็ นคนที่เรียนรูได้เร็วและมีความ ้ เชื่อมั ่นในตนเองสูง หล่อนอยากให้เขาสนใจในความรูสึกของ ้ ผูคนบ้าง บางทีหล่อนรูสึกว่าเขาให้ความสนใจกับหล่อนน้อยไป ้ ้ หน่อย
  • 93. Author’s comments and suggestions on how to integrate all of this.
  • 94.   โดยมาก เรามักได้เรียนรูจากผูบริหารว่า เขาเหล่านั้นมีแนวทางใน ้ ้ การบริหารงานอย่างไร แต่มกไม่ค่อยทราบเกี่ยวกับการบริหารชีวิต ั ครอบครัวให้เกิดความสมดุลอย่างไร หนังสือเล่มนี้ให้เราศึกษาชีวิตแต่ละบุคคลผ่านเลนส์ 3 รูปแบบคือ 1.) ทัศนคติชีวิต (Balance Wheel) นั ่นคือวงล้อสมดุล 2.) ช่วงเวลา ชีวิต (Chapter in Life) คือการพัฒนาด้านจิตวิทยาของช่วงอายุ โดยเฉพาะการเลี้ยงดูเวลาเด็กที่สงผลตอนเป็ นผูใหญ่ และ 3.) ่ ้ ความหมายของความสาเร็จ (Nature of Success) ซึ่งแต่ละคนจะให้ ความหมายที่แตกต่างกันออกไปและมุ่งเน้นไปสูสิ่งนั้น ่
  • 95.
  • 96. หนังสืออ้างอิง – นวโกวาท (หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี) สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงแต่ง มหามกุฎราชวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 76/2533 จานวน 200,000 เล่ม ราคา 10 บาท
  • 97. สุขของคฤหัสถ์ 4 อย่าง  1.สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์  2.สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค  3.สุขเกิดแต่ความไม่ตองเป็ นหนี้ ้  4.สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ (นวโกวาท หน้าที่ 71)
  • 98. ประโยชน์เกิดแต่การถือโภคทรัพย์ 5 อย่าง  1.เลี้ ยงตัว มารดา บิดา บุตร ภริยา บ่าวไพร่ ให้เป็ นสุข  2.เลี้ ยงเพื่อนฝูงให้เป็ นสุข  3.บาบัดอันตรายที่เกิดแต่เหตุตาง ๆ ่  4.ทาพลี 5 อย่างคือ  ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ  อติถิพลี ต้อนรับแขก  ปุพพเปตพลี ทาบุญอุทิศให้ผตาย ู้  ราชพลี ถวายเป็ นหลวง มีภาษีอากรเป็ นต้น  เทวตาพลี ทาบุญอุทิศให้เทวดา  5.บริจาคทานในสมณพราหม์ผประพฤติชอบ ู้ (นวโกวาท หน้าที่ 73)
  • 99. ความปราถนาของบุคคลในโลกที่ได้สมหมายด้วยยาก 4 อย่าง  1.ขอสมบัตจงเกิดมีแก่เราโดยทางที่ชอบ ิ  2.ขอยศจงเกิดแก่เราและญาติพวกพ้อง  3.ขอเราจงรักษาอายุให้ยนนาน ื  4.เมื่อสิ้นชีพแล้ว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค์ (นวโกวาท หน้าที่ 71)
  • 100. ทิฏฐธัมมิกตถประโยชน์ คือประโยชน์ในปั จจุบน 4 อย่าง ั ั  1.อุฏฐาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั ่นในการประกอบกิจ เครื่อง เลี้ยงชีวิตก็ดี ในการศึกษาเล่าเรียนก็ดี ในการทาธุระหน้าที่ของตนก็ดี  2.อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา คือรักษาทรัพย์ที่แสวงหามา ได้ดวยความหมั ่น ไม่ให้เป็ นอันตรายก็ดี รักษาการงานของตน ไม่ให้ ้ เสื่อมเสียไปก็ดี  3.กัลยาณมิตตา ความมีเพื่อนเป็ นคนดี ไม่คบคนชั ่ว  4.สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ที่หาได้ ไม่ให้ ฝื ดเคืองนัก ไม่ให้ฟูมฟายนัก (นวโกวาท หน้าที่ 67)
  • 101. สัมปรายิกตถประโยชน์ คือ ประโยชน์ภายหน้า 4 อย่าง ั  1.สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือเชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ เช่นเชื่อว่า ทาดีได้ดี ทาชั ่วได้ชั ่ว เป็ นต้น  2.สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล คือรักษากายวาจาเรียบร้อยดี ไม่มีโทษ  3.จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน เป็ นการเฉลี่ยสุขให้กบ ั ผูอื่น ้  4.ปั ญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปั ญญา รูจกบาป บุญ คุณ โทษ ้ั ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ เป็ นต้น (นวโกวาท หน้าที่ 67-68)
  • 102. จักร 4  1.ปฏิรูปเทสวาสะ อยูในประเทศอันสมควร ่  2.สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ  3.อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ  4.ปุพเพกตปุญญตา ความเป็ นผูได้ทาความดีไว้ในปางก่อน ้ ธรรม 4 อย่างนี้ ดุจล้อรถนาไปสูความเจริญ ่ (นวโกวาท หน้าที่ 34)
  • 103. พละ คือธรรมเป็ นกาลัง 5 อย่าง  1.สัทธา ความเชื่อ  2.วิรยะ ความเพียร ิ  3.สติ ความระลึกได้  4.สมาธิ ความตั้งใจมั ่น  5.ปั ญญา ความรอบรู ้ อินทรีย ์ 5 ก็เรียก เพราะเป็ นใหญ่ในกิจของตน (นวโกวาท หน้าที่ 45)
  • 104. อิทธิบาท คือคุณเครืองทาให้สาเร็จความประสงค์ 4 อย่าง ่  1.ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น  2.วิรยะ เพียรประกอบในสิ่งนั้น ิ  3.จิตตะ เอาใจฝั กใฝ่ ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ  4.วิมงสา หมั ่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ั คุณ 4 อย่างนี้ มีบริบูรณ์แล้ว อาจชักนาบุคคลให้ถึงสิ่งที่ตอง ้ ประสงค์ซึ่งไม่เหลือวิสย ั (นวโกวาท หน้าที่ 36)
  • 105. สังคหวัตถุ 4 อย่าง  1.ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผอื่นทีควรให้ปัน ู้ ่  2.ปิ ยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน  3.อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็ นประโยชน์ตอผูอื่น ่ ้  4.สมานัตตตา ความเป็ นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว คุณทั้ง 4 อย่างนี้ เป็ นเครืองยึดเหนี่ยวใจของผูอื่นไว้ได้ ่ ้ (นวโกวาท หน้าที่ 71)
  • 106. พรหมวิหาร 4  1.เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็ นสุข  2.กรุณา ความสงสาร คิดจะช่วยให้พนทุกข์ ้  3.มุทิตา ความพลอยยินดี เมื่อผูอื่นได้ดี ้  4.อุเบกขา ความวางเฉย ไม่ดีใจไม่เสียใจเมื่อผูอื่นถึงความวิบติ ้ ั 4 อย่างนี้ เป็ นเครืองอยูของท่านผูใหญ่ ่ ่ ้ (นวโกวาท หน้าที่ 38)
  • 107. ทิศ 6  1.ปุรตถิมทิส คือทิศเบื้องหน้า มารดาบิดา ั  2.ทักขิณทิส คือทิศเบื้องขวา อาจารย์  3.ปั จฉิมทิส คือทิศเบื้องหลัง ภรรยา  4.อุตตรทิส คือทิศเบื้องซ้าย มิตร  5.เหฎฐิมทิส คือทิศเบื้องต ่า บ่าว  6.อุปริมทิส คือทิศเบื้องบน สมณพราหมณ์ (นวโกวาท หน้าที่ 75-79)
  • 108. บุตรพึงบารุงด้วยสถาน 5  1.ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ  2.ทากิจของท่าน  3.ดารงวงศ์สกุล  4.ประพฤติตนให้เป็ นคนควรรับทรัพย์มรดก  5.เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน
  • 109. บิดามารดาได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์บุตรด้วยสถาน 5 ั  1.ห้ามไม่ให้ทาความชั ่ว  2.ให้ต้งอยูในความดี ั ่  3.ให้ศึกษาศิลปวิทยา  4.หาภรรยาที่สมควรให้  5.มอบทรัพย์ให้ในสมัย
  • 110. ศิษย์พึงบารุงด้วยสถาน 5  1.ด้วยลุกขึ้นยืนรับ  2.ด้วยเข้าไปยืนคอยรับใช้  3.ด้วยเชื่อฟั ง  4.ด้วยอุปัฏฐาก  5.ด้วยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ
  • 111. อาจารย์ได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์ศิษย์ดวยสถาน 5 ั ้  1.แนะนาดี  2.ให้เรียนดี  3.บอกศิลปให้ส้ ินเชิง ไม่ปิดบังอาพราง  4.ยกย่องให้ปรากฏในเพือนฝูง ่  5.ทาความป้ องกันในทิศทั้งหลาย (คือจะไปทางทิศไหนก็ไม่อด อยาก)
  • 112. สามีพึงบารุงด้วยสถาน 5  1.ด้วยยกย่องนับถือว่าเป็ นภรรยา  2.ด้วยไม่ดหมิ่น ู  3.ด้วยไม่ประพฤติล่วงใจ  4.ด้วยมอบความเป็ นใหญ่ให้  5.ด้วยให้เครืองแต่งตัว ่
  • 113. ภรรยาได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์สามีดวยสถาน 5 ั ้  1.จัดการงานดี  2.สงเคราะห์คนข้างเคียงของผัวดี  3.ไม่ประพฤติล่วงใจผัว  4.รักษาทรัพย์ที่ผวหามาไว้ได้ ั  5.ขยันไม่เกียจคร้านในการงานทั้งปวง
  • 114. กุลบุตรพึงบารุงด้วยสถาน 5  1.ด้วยให้ปัน  2.ด้วยเจรจาถ้อยคาไพเราะ  3.ด้วยประพฤติประโยชน์  4.ด้วยความเป็ นผูมีตนเสมอ ้  5.ด้วยไม่แกล้งกล่าวให้คลาดจากความเป็ นจริง
  • 115. มิตรได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน 5 ั  1.รักษามิตรผูประมาทแล้ว ้  2.รักษาทรัพย์ของมิตรผูประมาทแล้ว ้  3.เมื่อมีภย เอาเป็ นที่พึ่งพานักได้ ั  4.ไม่ละทิ้งในยามวิบติ ั  5.นับถือตลอดถึงวงศ์ของมิตร
  • 116. นายพึงบารุงด้วยสถาน 5  1.ด้วยจัดการงานให้ทาตามสมควรแก่กาลัง  2.ด้วยให้อาหารและรางวัล  3.ด้วยรักษาพยาบาลเวลาเจ็บไข้  4.ด้วยแจกของที่มีรสแปลกประหลาดให้กิน  5.ด้วยปล่อยในสมัย
  • 117. บ่าวได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์นายด้วยสถาน 5 ั  1.ลุกขึ้นทาการงานก่อนนาย  2.เลิกการงานทีหลังนาย  3.ถือเอาแต่ของที่นายให้  4.ทาการงานให้ดีข้ ึน  5.นาคุณของนายไปสรรเสริญในที่น้น ๆ ั
  • 118. กุลบุตรพึงบารุงด้วยสถาน 5  1.ด้วยกายกรรม คือทาอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา  2.ด้วยวจีกรรม คือพูดอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา  3.ด้วยมโนกรรม คือคิดอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา  4.ด้วยความเป็ นผูไม่ปิดประตู คือมิได้หามเข้าบ้านเรือน ้ ้  5.ด้วยให้อามิสทาน
  • 119. สมณพราหม์ได้รบบารุงฉะนี้แล้ว ย่อมอนุเคราะห์กุลบุตรด้วยสถาน ั 5  1.ห้ามไม่ให้กระทาชั ่ว  2.ให้ต้งอยูในความดี ั ่  3.อนุเคราะห์ดวยน้ าใจอันงาม ้  4.ทาสิ่งที่เคยฟั งแล้วให้แจ่ม  5.บอกทางสวรรค์ให้