SlideShare a Scribd company logo
1 of 93
Download to read offline
พ.ท. มารวย ส่งทานินทร์
16 ธันวาคม 2545
 Mark Twain (Tom Sawyer, Huckleberry Finn)
 Adam Smith (Wealth of the Nation)
 Nicolo Machiavelli (The Prince)
 Charles Dickens (A Tale of Two Cities)
 Sun Tzu (On the Art of War)
 Etc.
 ตาราพิชยสงครามของซุนวู (ทฤษฎี)
ั
 สามก๊ก (ปฏิบติ)
ั

 ไซอิ๋ว (ความคิดสร้างสรรค์)
 รากของต้นไม้ (การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม)
 จบการศึกษาสาขาจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัย

Southern California
 ได้รบปริญญาแพทยศาสตร์บณฑิตจาก The
ั
ั
Royal College of Surgeon
 ปริญญาโทด้านการจัดการทางการแพทย์จาก
Harvard Medicine School และ The Mayo Clinic
 หนู

: สนิฟฟ์ และ สเคอร์รี
 สนิฟฟ์ : ที่มกรูถึงความเปลี่ยนแปลงได้แต่เนิ่น ๆ
ั ้
 สเคอร์รี : ที่รีบลงมือปฏิบติ
ั

สนิฟฟ์

สเคอร์ รี
 มนุษย์จว : เฮม และ ฮอว์
ิ๋
 เฮม :

ที่มกปฏิเสธและต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ั
 ฮอว์ : ที่รูจกปรับตัวได้ทนเวลาเมื่อเห็นว่าความ
้ั
ั
เปลี่ยนแปลงนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่า
เฮม

ฮอว์
 เนยแข็งเปรียบเทียบถึงสิ่งที่ผคนแสวงหาในชีวิต
ู้

อาจหมายถึงงาน ความสัมพันธ์ เงินทอง บ้านหลัง
ใหญ่ อิสรภาพ สุขภาพ ความนับหน้าถือตา
 ทุกคนรูดีว่าเนยแข็งของตนคืออะไร และต่าง
้
แสวงหา เพราะเชื่อว่ามันจะนาความสุขมาให้ เมื่อ
ได้มนมาแล้วเราก็มกจะยึดติดกับมัน และถ้าต้อง
ั
ั
สูญเสียไป เราก็จะทุกข์ทรมาน
 เขาวงกตในเรื่องนี้คือสถานที่ที่คณใช้เวลา
ุ

แสวงหาสิ่งที่คุณต้องการ อาจเป็ นองค์กรที่คณ
ุ
ทางาน ชุมชนที่คณอาศัย หรือความสัมพันธ์ที่
ุ
คุณมีกบผูอื่น
ั ้
 สิ่งมีชีวิตตัวน้อย ๆ สี่ชีวิต วิ่งซอกซอนในเขา

วงกต เพื่อหาเนยแข็งเลี้ยงชีวิต และทาให้
ตนเองมีความสุข
 สนิฟฟ์ และ สเคอร์รี มีสมองธรรมดาเหมือน
หนูทั ่วไป แต่มีสญชาตญาณยอดเยียม
ั
่
 เฮมและฮอว์ ใช้สมองที่มีความเชื่อและอารมณ์
มากมาย เพื่อเสาะแสวงหาเนยแข็งชนิดพิเศษ
 สถานี น. เป็ นสถานีที่มีเนยแข็งมากมาย
 เฮมและฮอว์เหมาเอาว่า เนยแข็งเป็ นของพวก

เขา เขาจึงเขียนผนังเขาวงกตและวาดรูปเนย
แข็งล้อมรอบว่า การมีเนยแข็งทาให้มีความสุข”
 พวกเขายโสในความสาเร็จ จนไม่สนใจว่าอะไร
จะเกิดขึ้น
 อยูมาวันหนึ่ง หนูท้งสองมาถึงสถานี น. พบว่า
่
ั

ไม่มีเนยแข็ง
 พวกมันไม่ได้ตกใจ เพราะเคยสังเกตว่าปริมาณ
เนยแข็งลดน้อยลงทุกวัน พวกมันจึงรีบออกไป
หาเนยแข็งชิ้นใหม่
 วันเดียวกันมนุษย์ท้งคู่มาพบว่าไม่มีเนยแข็ง
ั
 เฮมตะเบ็งเสียง ใครเอาเนยแข็งของฉันไป”
 มนุษย์จวทั้งสองวนเวียนอยูที่สถานีเพื่อดูว่า
ิ๋
่

เนยแข็งนั้นหายไปจริง ๆ หรือไม่
 วันต่อมามนุษย์จวทั้งสอง ก็ตรงไปสถานีโดย
ิ๋
หวังว่าจะเจอเนยแข็งของพวกเขา
 แต่ ไม่มีเนยแข็งอีกแล้ว
 เฮมโวยวาย “ทาไมถึงทากับฉันอย่างนี้”
 ฮอว์พยายามชวนให้เฮมเปลี่ยนแปลง
 แต่เฮมคิดว่าคนอื่นสร้างปั ญหาเขาจึงควรได้รบ
ั

สิ่งชดเชย
 ในขณะที่หนูท้งสองตัวพบสถานี ม. และพบ
ั
เนยแข็งกองมหึมา
 พอเวลานานเข้า ฮอว์ทนไม่ไหวจึงหัวเราะเยาะ

ตัวเอง”’เหอะ ๆ ดูพวกเราซิ เรามัวแต่ทาเรื่อง
เดิมซ้าแล้วซ้าอีก แล้วสงสัยว่าทาไมเหตุการณ์
ไม่ดีข้ ึน ถ้าทาอย่างนี้ไม่เรียกว่าโง่ แล้วจะเรียก
อะไร’
 ฮอว์ได้จนตนาการภาพ ที่น่าเชื่อและสมจริงว่า
ิ

เขาเจอเนยแข็งใหม่และกินอย่างมีความสุข
 แล้วเขาจึงเดินหน้าต่อไปเพื่อหาเนยแข็ง
 เขาเขียนผนังว่า ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงก็อยูไม่รอด”
่
 เขาสงสัยตนเองว่าทาไมจึงไม่ลกแล้วออกหาเนย
ุ
แข็งให้เร็วกว่านี้
 ฮอว์รูว่าสถานการณ์ไม่ได้เลวร้ายอย่างที่เขากลัว
้
 เขาค่อย ๆ นึกออกว่า เนยแข็งไม่ใช่จู่ ๆ ก็

หายไป มันเริ่มลดลงและเก่าไม่อร่อย
เหมือนเดิม
 ถ้าตั้งใจสังเกตก็จะพบว่า มีอะไรเกิดขึ้น
ตลอดเวลา และสามารถคาดการณ์ได้ว่า จะเกิด
การเปลี่ยนแปลง
 ฮอว์เดินไปทางสายใหม่ จังหวะที่เขาเลี้ยวตรงหัว

มุม เขาเจอที่สถานีเนยแข็ง ม.
 เขาพบเนยแข็งกองพะเนินเต็มไปหมด
 จนกระทั ่งเห็นสนิฟฟ์ และสเคอร์รี จึงรูว่าตนเอง
้
ไม่ได้ฝันไป
 ฮอว์เริ่มเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่รูจกหัวเราะเยาะ
้ั

ตัวเองและสิ่งที่ตนเองทาผิดพลาด
 เขาได้เรียนรูคุณค่าของการก้าวเดินต่อไปจาก
้
สนิฟฟ์ และสเคอร์รี ที่ไม่คิดมาก หรือทาให้
เรื่องซับซ้อนจนเกินพอดี
การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้
มีคนคอยเอาเนยแข็งไปเสมอ
คาดหมายการเปลี่ยนแปลง
เตรียมตัวให้พร้อมเมื่อเนยแข็งหายไป
เฝ้ าสังเกตความเปลี่ยนแปลง
จงดมเนยแข็งอยูเสมอ จะได้รูเ้ มื่อมันเริ่มเก่า
่
ปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงให้รวดเร็ว
ละทิ้งเนยแข็งเก่าเร็วเท่าใด ก็จะพบเนยแข็งใหม่เร็วเท่านั้น
จงเปลี่ยนแปลง
ออกตามหาเนยแข็ง
มีความสุขกับการเปลี่ยนแปลง
ดื่มด ่ากับการผจญภัยและมีความสุขกับกับรสชาติของเนยแข็งใหม่
พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และสนุกกับการเปลี่ยนแปลงครั้งแล้วครั้งเล่า
มีคนเอาเนยแข็งไปเสมอ




จะเห็นได้ว่า หนูสองตัวสามารถปรับตัวให้กบสถานการณ์ที่
ั
เปลี่ยนแปลงไปได้ดีกว่า เพราะมันทาเรืองต่าง ๆ ให้ง่ายอยูแล้ว
่
่
แต่สมองที่ล้าเลิศและอารมณ์ของมนุษย์ตวจิว กลับทาให้เรือง
ั ๋
่
ต่าง ๆ ซับซ้อนขึ้น
ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าหนูฉลาดกว่ามนุษย์ เราต่างรูดีว่า มนุษย์
้
มีสติปัญญาที่เหนือกว่าหนูมาก เมื่อสังเกตพฤติกรรมของตัว
ละครทั้งสี่จะพบว่า ทั้งหนูและมนุษย์ตวจิวนั้น แทนด้านต่าง ๆ
ั ๋
ของตัวเรา คือ ด้านที่เรียบง่ายและด้านที่ซบซ้อน จะเห็นได้ว่า
ั
เราจะได้ประโยชน์ ถ้ารูจกใช้ วิธีการที่งายแต่ได้ผล จัดการกับ
้ั
่
ความเปลี่ยนแปลง




พวกที่เป็ นสนิฟฟ์ สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงได้เร็ว จะ
ช่วยปรับวิสยทัศน์ขององค์กรให้ทนสมัย ควรสนับสนุนให้พวกนี้
ั
ั
ชี้ชัดมาเลยว่า ความเปลี่ยนแปลงเป็ นช่องทางให้องค์กร
พัฒนาขึ้นได้อย่างไร
พวกสเคอร์รี ชอบทางานให้ลล่วง ควรสนับสนุนให้ลงมือปฏิบติ
ุ
ั
โดยยึดวิสยทัศน์ใหม่ขององค์กร คอยระวังไม่ให้เข้ารกเข้าพง
ั
เท่านั้น




พวกเฮมเป็ นเสมือนสมอถ่วงความเจริญ พวกนี้สบายจนเคยตัว
หรือไม่ก็กลัวที่จะเปลี่ยนแปลงมาก บางคนเปลี่ยนแปลงได้ก็
ต่อเมื่อพวกเขาเห็นภาพทีน่าเชื่อถือว่า การเปลี่ยนแปลงก่อ
่
ประโยชน์ให้กบพวกเขาอย่างไร การสร้างภาพ ช่วยให้เปลี่ยนเฮม
ั
บางคนให้เป็ นพวกฮอว์
พวกฮอว์อาจจะลังเลในช่วงแรก แต่พวกเขาก็เปิ ดใจรับที่จะเรียนรู ้
สิ่งใหม่ ทาตัวเสียใหม่และปรับตัวได้ทนท่วงที จนช่วยให้องค์กร
ั
ประสบความสาเร็จ พวกฮอว์สามารถหัวเราะเยาะความกลัวของ
ตัวเองได้ แล้วพยายามจินตนาการภาพตัวเองมีความสุขอยูกบเนย
่ ั
แข็ง และสุดท้ายเขาก็จะได้พบสิ่งที่ดีกว่าเดิม
 ประพันธ์โดย S.C.Lunden, H.Paul และ

J.Christensen
 จิระนันท์ พิตรปรีชา แปล
 ดัดแปลงจากคอลัมน์ อ. วรากรณ์ สามโกเศศ
สุทธิพิทกษ์ ในหนังสือพิมพ์มติชน วันที่ 2
ั
สิงหาคม 2544


มีคนจำนวนน้อยในโลกที่ได้ทำงำนที่ตนรักและอยำก
ทำงำนกัน แต่มีคนจำนวนมำกที่ไม่สำมำรถเลื อกงำนได้
แต่ก็มีบำงคนที่สำมำรถสร้ำงควำมชอบในงำนที่ตนต้อง
ทำ (จนได้)
 หนังสื อเล่ มนี้ได้เปิ ดเผยควำมลับในเชิงบริหำรจำกกำร
้
เรียนรูตลำดปลำ เพื่อช่วยให้องค์กรทังหลำยสำมำรถเพิ่ม
้
้
จำนวน “บำงคน” เหล่ำนันให้สูงขึ้น
 ตลาดปลาใหญ่แห่งหนึ่งที่ไม่เหมือนใครในโลก

ที่มีชื่อว่า Pike Place Fish
 ใครที่ได้มาชมแล้ว ต้องแนะนากันต่อ ๆ ไป
เพราะตลาดขายปลาแห่งนี้ต่างจากตลาดอื่น ๆ
ตรงที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวา อุดมไปด้วยความ
สนุกสนานทั้งผูขาย ผูซ้ ือ และผูเยียมชม
้
้
้ ่
 ปรัชญาปลานี้เป็ นวิธีการนาไปปฏิบตที่เป็ น
ั ิ

ประโยชน์ไม่เฉพาะแก่องค์กรธุรกิจและองค์กร
ของรัฐใหญ่เล็กเท่านั้น ยังกินความเป็ นไปถึง
ครอบครัวและห้องเรียนอีกด้วย
 Mary ได้ยายมาทางานที่ Seattle กับสามีได้ไม่ถึง 2
้

ปี สามีก็ตายทิ้งลูกเล็ก ๆ ไว้ 2 คนให้เลี้ยง
 เธอได้งานในบริษัทประกัน และวันหนึ่งเธอก็ถก
ู
มอบหมายให้รบผิดชอบ การทางานบนชั้น 3
ั
 เธอหนักใจเพราะชั้น 3 ไร้ประสิทธิภาพ ทางาน
เชื่องช้า ไม่ตอบสนองลูกค้า ทางานอืดอาดไร้
ชีวิตชีวาเหมือนผีตายซาก (หลุมขยะพิษ)
 Mary พยายามหาหนทางแก้ไขลักษณะที่เป็ นลบ

ของทีมงานของเธอ แต่คิดไม่ออก
 จนวันหนึ่ง ระหว่างหยุดพักเที่ยง เธอเดินหา
อาหารกลางวัน และก็หลงเดินเข้าไปในตลาด
ปลาที่มีชื่อว่า Pike Place Fish
 เธอรูสึกตกใจเมื่อก้าวเข้าไปเห็นคนมากมาย ส่ง
้

เสียงกันเจี๊ยวจ้าว โดยเฉพาะลูกค้าและ
นักท่องเที่ยว หัวเราะกันอย่างสนุกสนาน
 และก็เห็นคนขาย โยนปลาตัวโตข้ามหัวผูคนไป
้
ไกลถึง 10-20 ฟุต ไปยังทีคนเก็บเงิน ทีจบปลา
่
่ ั
อย่างแม่นยา และคนอื่น ๆ ก็ตะโกนพูดอะไรขาขัน
และหัวเราะกันสนุกสนานตลอดเวลา
 ขณะที่เธองุนงงอยู่ ก็มีหนุ่มคนหนึ่งที่ทางานที่

ตลาดเดินมาถามไถ่เธอว่า สงสัยอะไรเกี่ยวกับ
ตลาดนี้บ้าง
 และจากจุดนี้ก็เป็ นจุดเดินเรื่องของคาอธิบาย
เกี่ยวกับตลาด โดยหนุ่มที่มีชื่อว่า Lonnie...
 Mary ไปตลาดอีกหลายครั้งเพื่อปรับทุกข์กบ
ั

Lonnie เรืองงานบนชั้น 3 และวิธีการทางาน
่
ของตลาดปลา
 Lonnie อธิบายว่า ในการทางานนั้น มนุษย์ทุก
คนมีทางเลือกเสมอ ถึงแม้ว่าจะไม่มีทางเลือก
งานได้มากนักก็ตาม ซึ่งทางเลือกนั้นก็คือ การ
เลือกที่จะนาทัศนคติมายังที่ทางาน
 ถึงแม้เราจะเลือกงานไม่ได้ แต่เราก็เลือก

ทัศนคติในการทางานได้
 ซึ่งเราก็ได้เลือกที่จะสร้างสรรค์ที่ทางานของเรา
ให้เป็ นที่ ๆ น่าอยู่ และเลือกที่จะทางานอย่าง
สนุก
 และทัศนคติ (ATTITUDE) นี่แหละคือหัวใจ
สาคัญ ของการทางาน
 แมรีก็เริ่มดาเนินการกับหน่วยงานของเธอ
 ด้วยการบอกเล่า โน้มน้าว และร่วมขอ

ความเห็น เพื่อกระตุนให้เกิดความคิดที่จะเลือก
้
สร้างทัศนคติในการทางาน
 และชักชวนให้ลกน้องไปเยียมชมตลาดด้วย
ู
่
 ปั จจัยที่สองของความสาเร็จก็คือ PLAY หรือการเล่น
 ซึ่งมิได้หมายถึงการเล่นอย่างไร้ความหมาย หากแต่

ว่าจริงจังกับงาน แต่ก็สามารถเล่นสนุกไปในเวลา
เดียวกันได้ในการทางาน
 เช่น โยนปลา พูดจาสนุกสนาน ชวนให้ลกค้าลงมา
ู
ช่วยบรรจุปลาลงถังด้วย จัดเกมส์ให้ลกค้าร่วมเล่น
ู
เช่น แข่งกันโยนปลา และลดราคาเป็ นรางวัล ฯลฯ
 MAKE THEIR DAY (ให้เป็ นวันแห่งการจดจา)

ทาให้ลกค้าหรือนักท่องเที่ยวจาวันที่มาตลาด
ู
แห่งนี้ได้ ไม่ว่าจะผ่านไปนานแค่ไหน
 ซึ่งการเล่นสนุก ให้ลกค้าเข้ามามีส่วนร่วมด้วย
ู
เช่น เข้าไปในห้องเย็นเอาสวิงตักปลาในถัง ทา
ความสะอาดปลา เอามือล้วงเข้าไปในท้องปลา
ตัวใหญ่ ฯลฯ
 BE PRESENT (“อยู”กับลูกค้า) ซึ่งหมายถึง การ
่

ให้ความสนใจอย่างจริงจังต่อสิ่งที่ตนเกี่ยวพันอยู่
 เช่น ให้ความสนใจแก่ลกค้าอย่างจริงจัง “อยู”
ู
่
กับลูกค้าโดยไม่ละทิ้งหรือเหม่อลอย ร่วม
กิจกรรมกับลูกค้า
 Mary ได้รบรางวัลจากบริษทในการสร้างให้ช้น 3
ั
ั
ั

เป็ นหน่วยงานที่ทุกคนอยากทางาน ซึ่งมีผลพลอย
ทาให้เป็ นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ
 และจบลงเมื่อ Mary แต่งงานกับ Lonnie ในที่สุด
 ปรัชญาปลานี้ สามารถนาไปประยุกต์กบ
ั

องค์กร ห้องเรียน และครอบครัวได้เป็ นอย่าง
ดี เพื่อนาพลังและศักยภาพของทุกคนที่
ร่วมกันอยูในองค์กรออกมาเพื่อให้เกิด
่
ประโยชน์มากที่สุด
 เมื่อท่านย่างเข้าที่ทางานแต่ละวัน โปรด เลื อก

(choose) ที่จะทาให้วนนั้นเป็ นวันอันพิเศษ แล้ว
ั
เพื่อนร่วมงานของท่าน พนักงานอื่นที่มาติดต่อกับ
ท่าน และแม้แต่ตวท่านเองก็จะมีความประทับใจ
ั
 หาวิธีทางานอย่างรื่นเริง (play) ท่านสามารถเอา
จริงเอาจังเคร่งเครียดกับงานได้ โดยไม่
เคร่งเครียดกับตัวเอง
 ใส่ใจกับลูกค้าที่มาติดต่องานกับท่าน และเพื่อน

ร่วมงานของท่านอย่างมีสติอยูตลอดเวลา (be
่
present)
 เมื่อท่านรูสึกเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้ากับการ
้
ทางานขึ้นมา ให้ท่านมองหาผูที่ตองการความ
้ ้
ช่วยเหลือ และเป็ นกาลังใจให้เขา (make their
day)






การมีทศนคติที่ดีเกี่ยวกับการร่วมชีวิตด้วยกันของพ่อแม่ลกโดย
ั
ู
พึ่งพาอาศัยกัน รักใคร่กลมเกลียวกัน และยึดถือการอยูรวมกัน
่่
อย่างมีความสุข
และสนุกสนานด้วยการเล่นระหว่างพ่อแม่ลก สอนอบรมอย่าง
ู
จริงจังแต่ก็เต็มไปด้วยเสียงหัวเราะ
พยายามทาให้ชีวิตในวัยเด็กเป็ นความทรงจาที่มีคณค่าแก่ลก
ุ
ู
และ “อยู” กับลูกตลอดตั้งแต่เด็กจนโต (ไปร่วมดูละครที่ลกเล่น
่
ู
ดูกีฬาที่ลกเล่น พูดคุยทากิจกรรมร่วมกับลูก รับส่งลูกไปโรงเรียน
ู
ฯลฯ)






การเลี้ยงดูลกใน “ครอบครัวปลา” เช่นนี้จะทาให้ทุกคนใน
ู
ครอบครัวสนุกสนาน เรียนรูสิ่งที่พ่อแม่สอนอย่างไม่ขมขื่น คิดถึง
้
คาสอนในแง่บวก
เป็ นการปลดปล่อยศักยภาพของทุกคนในครอบครัว
เพื่อสร้างสรรค์ครอบครัวให้เป็ นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ
และนาไปสู่พลเมืองที่มีคณภาพในอนาคต
ุ



สาหรับ “ห้องเรียนปลา” ก็เช่นกัน
ถ้าคุณครูและนักเรียนต่างก็เลือกที่จะนาทัศนคติที่ดีในการสอน
และเรียนรูมาโรงเรียน ก็จะเป็ นการสร้างสรรค์บรรยากาศที่ดีใน
้
การเรียนรู ้ ถึงแม้ครูและนักเรียนต่างก็อาจจะไม่อยากมาโรงเรียน
แต่เมื่อรูว่า ยังไงเสียก็ตองมาแล้วก็สามารถเลือกที่จะมีทศนคติที่
้
้
ั
ดีตอสิ่งที่ตนต้องทาได้
่





การสร้างให้การสอนและการเรียนรูเ้ ป็ นสิ่งสนุกสนานสาหรับครู
และนักเรียน ด้วยการแทรกการเล่นเข้าไปในบทเรียนที่เข้มข้น
จริงจัง ก็จะทาให้นกเรียนเรียนด้วยความสนุก มีความรูสึกด้าน
ั
้
บวกกับการเรียนรู ้
และถ้าครูทาให้การเรียนในโรงเรียนเป็ นสิ่งที่อยากจดจาแล้ว
เด็กก็จะรักการเรียนรูไปตลอดชีวิต
้
และยิงตัวครู “อยู” กับศิษย์ ให้ความสนใจอย่างจริงจังแล้ว
่
่
“โรงเรียนปลา” ก็จะเป็ นสถานที่แห่งการสร้างสรรค์มากกว่าที่
เป็ นอยู่




FISH เป็ นหนังสือแบบ “how to” สาหรับทุกคนที่ตองการ
้
สร้างสรรค์ให้สถานที่ทางานหรือครอบครัว หรือโรงเรียนเป็ น
แหล่งที่ปลดปล่อยศักยภาพของทุกคน ด้วยการสร้างความ
สนุกสนานในสิ่งที่ทุกคนต้องทา
ทัศนคติที่ดี การเล่น การสร้างความทรงจา และการอยูอย่างไม่ละ
่
ทิ้ง หรือ ปรัชญาปลา เป็ นสูตรสูการมีองค์กรที่มีประสิทธิภาพ เป็ น
่
หัวใจของหนังสือภาษาอังกฤษเล่มบาง 107 หน้าเล่มนี้
 ภาพของความเฉื่อยแฉะเรื่อยเปื่ อย
 เช้าชามเย็นชาม ทางานเดิมๆ
 ขาดศรัทธาในตนเอง หมดแรงหมดพลัง

สร้างสรรค์
 ขาดงาน มาสาย กลับก่อนเวลาราชการ
 ระบบราชการเปรียบเสมือนหลุมขยะพิษ
(ในฟิ ช)
1.
2.

3.
4.

5.

โครงสร้าง (ไม่ถึงกลุมเป้ าหมาย)
่
ระเบียบขั้นตอน (เต่าล้านปี / ไดโนเสาร์)
เพื่อส่วนตัวและพรรคพวก (คอร์รปชัน)
ั
ระบบอุปถัมภ์ (แต่งตั้งโยกย้าย)
ความกลัว (เจ้านาย / เพื่อน / ตัวเอง)
 ทางานลงไม่ถึงพื้นที่และกลุมคนเป้ าหมาย
่

ผูดอยโอกาส และคนยากจน
้ ้
 ชอบแต่สร้างภาพพจน์และเต็มไปด้วยผักชี
 เน้นการประชาสัมพันธ์แต่ส่วนดี หลีกเลี่ยงข้อ
วิพากษ์วิจารณ์ที่นาไปสูสิ่งสร้างสรรค์
่
 ยุงยากซับซ้อน ไม่เอื้ออานวยความคิด
่

สร้างสรรค์
 ไม่พฒนาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างจริงจัง
ั
 ความเสื่อมโทรมของน้ า ดิน ป่ า จานวนคน
ยากจนเพิ่มขึ้น
 ไม่มีการแก้ระเบียบราชการให้อานวยต่อการ
ทางาน
 ทาเพื่อส่วนตัวและพรรคพวก ไม่ทาเพื่อ

สาธารณะ
 ไทยมีชื่อเสียงเรื่องคอร์รปชันระดับโลก
ั
 ต้องจ่ายใต้โต๊ะ ตาแหน่งละเท่าไร ?
 ทางานไปเรื่อย ๆ หมดพลังสร้างสรรค์
 การแต่งตั้งโยกย้ายตาแหน่งต่าง ๆ ทาให้ผถูก
ู้

อุปถัมภ์ แสวงหาประโยชน์ให้ผอุปถัมภ์
ู้
 ผูถูกอุปถัมภ์ไม่ทางานเพื่อประชาชนจริง
้
เพราะลาพังตนเองก็ยงเอาตัวไม่รอด ต้องหาผู ้
ั
มีอานาจบารมีมาเป็ นคนอุปถัมภ์
 จึงรับใช้เจ้านายมากกว่าส่วนรวม
 กลัวนาย : ไม่ชอบ ไม่รก ไม่เห็นด้วย จึงไม่กล้า
ั

แสดงความคิดเห็น และทาตามเจ้านายสั ่ง
 กลัวเพื่อน : ว่าเป็ นผีบา ประเทศไทย (องค์กร)
้
ไม่ใช่ของเราคนเดียว ทาให้ขาดความกล้าหาญ
 กลัวตนเอง : ว่าจะพูดคิดอะไรโง่ ๆ ไม่
แสดงออก เฉย ๆ ทาตามระเบียบไปวัน ๆ
กลัวการเปลี่ยนแปลง
 เป็ นการเปลี่ยนแปลงทั้งคน และระบบ ที่จะ

แก้ปัญหาหลุมขยะพิษทั้ง 5
 ข้าราชการควร พร้อมปรับตัวเข้ากับการ

เปลี่ยนแปลง ไม่ยดติดกับวิธีเดิม ๆ ที่เคยทา
ึ
กันมา ที่ยดโครงสร้าง ระบบระเบียบขั้นตอน
ึ
ทาเพื่อตนเอง ยึดเจ้านายเป็ นหลัก ทางานด้วย
ความกลัว
 มาเป็ นข้าราชการพันธุใหม่ จัดความสัมพันธ์
์
กับคนในที่ทางาน เลือกคนเหมาะกับงาน เน้น
พื้นที่และประชาชน มุ่งทางานให้ลลวง
ุ ่
 ทัศนคติเปิ ดใจพูดกัน สื่อสารให้ทุกคนเข้าใจ

และปฏิบติรวมกัน
ั ่
 สร้างแรงจูงใจ ยืนหยัดด้วยศรัทธา
 มีพลังแห่งชีวิต มีอารมณ์ดี สนุกสนานต่อการ
ปฏิบติตอผูอื่นในองค์กร
ั ่ ้
 สร้างสรรค์วนดี ๆ ใส่ใจในการบริการผูอื่น
ั
้
 จัดเวลาทางานใหม่ บริการให้ตรงกลุมเป้ าหมาย
่
 สร้างความประทับใจกับผูอื่น
้

 รับฟั งความเห็น
 เล่นด้วยกันในองค์กรเดือนละครั้ง

 มีสจจะ ทางานถูกต้อง แม่นยา ฉับไว
ั
 มีชีวิตชีวา
 ปลอดสารพิษจากพวกเรากันเอง

 มีภูมิป้องกันนักการเมืองและอานาจ
 กาจัดหลุมขยะพิษทั้ง 5 ให้ลดลง
 Tracy เป็ นคนเรียนหนังสือไม่เก่ง แถมเรียนไม่

จบอีกต่างหาก ได้ทางานใช้แรงงานหลายปี
 ต่อมาทางานกับเรือสินค้าเป็ นเวลา 8 ปี เยือน
ประเทศต่าง ๆ กว่า 80 ประเทศ
 จากนั้นมาทางานเป็ นพนักงานขายของประเภท
เคาะประตูตามบ้าน
 เขาถามพนักงานที่ประสบความสาเร็จ ซึ่งพวก

เขาเหล่านั้นยอมบอกเคล็ดลับให้
 ทาให้ผประพันธ์ประสบความสาเร็จ และได้
ู้
เป็ นผูจดการฝ่ ายขาย
้ั
 ผูประพันธ์มีแนวความคิดว่า ค้นให้พบว่าคนอื่น
้
เขาทาอย่างไรในเรื่องนั้น ๆ แล้วทาตาม
จนกระทั ่งได้ผลลัพธ์แบบเดียวกับพวกเขา”
 เขาได้ศึกษาต่อจนได้รบปริญญาตรี จาก
ั

มหาวิทยาลัย อัลเบอร์ตา ด้านพาณิชยศาสตร์
ปริญญาโทด้านบริหารและการจัดการ จาก
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย แปซิฟิก
 ปั จจุบน เทรซี คือนักพูดมืออาชีพ ผูฝึกอบรม ที่
ั
้
ปรึกษา และประธานบริษัท ไบรอัน เทรซี
อินเตอร์เนชันแนล ซึ่งเป็ นบริษัทให้คาปรึกษา
และจัดฝึ กอบรม อยูที่ แคลิฟอร์เนีย
่
 ถ้าสิ่งแรกที่คุณทาในแต่ละเช้าคือการกินกบเป็ น ๆ

ตัวหนึ่งแล้วละก็ คุณจะสามารถผ่านพ้นวันนั้นไปได้
พร้อมกับความพึงพอใจที่ได้รูว่า การกินกบ อาจจะ
้
เป็ นสิ่งเลวร้ายที่สุดที่จะเกิดขึ้นกับคุณตลอดทั้งวัน
นั้นก็ได้” (กบ ในที่น้ ีคือ งานที่สาคัญที่สุดและ
ยิงใหญ่ที่สุดที่มีทีท่าว่าจะผัดวันประกันพรุงแน่ ๆ
่
่
ถ้าคุณไม่รบทาเสียก่อน และเป็ นงานที่มีผลกระทบ
ี
อย่างแรงต่อชีวิตและผลงานในตอนนั้น)
 ถ้าคุณต้องกินกบสองตัว จงกินตัวที่อปลักษณ์
ั

ที่สุดก่อน” (หมายความว่ามีงานที่รอให้ทาอยู่
สองงาน จงเริ่มงานที่ใหญ่ที่สุด หินที่สุด และ
สาคัญที่สุดก่อน ฝึ กวินยตนเองให้ลงมือทางาน
ั
ทันทีและเพียรทาต่อไป จนกระทั ่งงานนั้น
สาเร็จจึงจะทางานอื่นต่อ)
 ถ้าคุณต้องกินกบเป็ น ๆ มันไม่มีประโยชน์ที่จะ

เอาแต่นั ่งมองนาน ๆ” (ควรสร้างนิสยที่ทางาน
ั
ใหญ่ก่อนที่จะลงมือทางานอื่นและไม่รอช้าด้วย
บุคคลที่ประสบความสาเร็จและมีประสิทธิภาพ
คือ คนที่มุ่งตรงไปยังงานสาคัญก่อน และฝึ ก
วินยตัวเองให้เหนียวแน่นและจดจ่ออยูกบงาน
ั
่ ั
นั้น จนกว่างานจะสาเร็จ)




1.จัดโต๊ะ ตัดสินใจให้แน่นอนว่าคุณต้องการอะไร
ความชัดเจนเป็ นเรื่องสาคัญ เขียนเป้ าหมายและ
จุดประสงค์ของคุณขึ้นมาก่อนที่คณจะเริมลงมือ
ุ
่
2.วางแผนทุกวันไว้ล่วงหน้า คิดบนกระดาษก่อน
ทุกนาทีที่คุณใช้ในการวางแผนงาน สามารถ
ประหยัดเวลาในการปฏิบตงานของคุณได้ 5 –
ั ิ
10 นาที




3.ใช้กฎ 80 / 20 กับทุกอย่าง 20% ของงานที่
้
คุณทา คือตัวผลลัพธ์ 80% ของคุณ จงตังสมาธิ
อยูกบงาน 20% แรกนั้น
่ ั
4.พิจารณาถึงผลที่จะตามมา ดูงานที่สาคัญที่สุด
ของคุณและการจัดลาดับความสาคัญ ซึ่งเป็ นสิ่งที่
สร้างผลลัพธ์รุนแรงที่สุด ทั้งในแง่บวกและแง่ลบ
กับชีวิตและการงานของคุณ จงเพ่งเล็งสิ่งเหล่านี้
ให้มากกว่าอะไรทั้งหมด




5.ฝึ กวิธี ABCDE อย่างต่อเนื่อง ก่อนที่คุณจะลง
มือทางานตามรายการ จงใช้เวลาครูหนึ่งในการ
่
เรียบเรียงมัน ตามคุณค่าและลาดับความสาคัญ
คุณจะได้มั ่นใจว่า คุณกาลังทางานที่สาคัญที่สุด
ของคุณ
6.เน้นที่หวใจของงาน ชี้ชัดและกาหนดหัวใจ
ั
สาคัญเหล่านั้นที่คุณต้องทา เพื่อให้ทางานได้ดี
และพยายามทามันตลอดทั้งวัน




7.เชื่อฟั งกฎแห่งประสิทธิภาพโดยความ
จาเป็ น คุณไม่เคยมีเวลาพอที่จะทาทุกอย่าง
แต่มีเวลาเสมอที่จะทาสิ่งที่สาคัญที่สุด ระบุว่า
มันคืออะไร?
8.เตรียมพร้อมอย่างรอบคอบก่อนเริ่มลงมือ
การเตรียมการล่วงหน้าที่เหมาะสม เป็ นการ
ป้ องกันการปฏิบตที่ไม่ได้เรื่อง
ั ิ




9.ทาการบ้านของคุณ คุณยิงมีความรอบรูและมี
่
้
ความชานาญในงานที่เป็ นหัวใจสาคัญมากเท่าไร
คุณก็ยงทางานนั้นได้เร็วขึ้น และทางานให้แล้ว
ิ่
เสร็จได้เร็วขึ้นมากเท่านั้น
10.ใช้พรสวรรค์ของคุณเป็ นอานาจสูความสาเร็จ
่
พิจารณาว่าคุณถนัดทางานอะไรหรือทางานอะไร
ได้ดี แล้วก็เทใจให้กบงานนั้น ๆ อย่างเต็มที่
ั




้
11.มองหาตัวเหนี่ยวรังการทางานที่สาคัญที่สุด
ของคุณ พิจารณาคอขวดหรือจุดสกัดที่เป็ น
ตัวกาหนดความเร็วในการบรรลุเป้ าหมายที่
้
้
สาคัญที่สุดของคุณ และตังอกตังใจทาให้มนเบา
ั
บางลง
12.เดินตามถังน้ ามันทีละใบ คุณสามารถทางาน
ที่ใหญ่ที่สุดและสลับซับซ้อนมากที่สุดให้ลล่วงได้
ุ
ถ้าคุณทามันทีละก้าว




13.สร้างแรงกดดันให้กบตัวเอง จงสมมุตว่าต้อง
ั
ิ
เดินทางออกนอกเมืองเป็ นเวลาหนึ่งเดือน จง
ทางานเหมือนกับว่าคุณต้องทางานสาคัญทั้งหมด
ของคุณให้แล้วเสร็จ ก่อนคุณออกเดินทาง
14.เพิ่มอานาจส่วนตัวของคุณให้สูงสุด พิจารณา
ช่วงเวลาที่คุณมีพลังกายและพลังความคิดที่สูง
ที่สุดในแต่ละวัน (ทาแล้วไหลลื่น) แล้วทางานที่
สาคัญที่สุดของคุณในช่วงเวลานั้น




15.กระตุนตัวเองให้ลงมือทา จงเป็ นเชียร์ลีดเดอร์
้
ของตัวคุณเอง มองหาแต่สิ่งดี ๆในทุกสถานการณ์
เน้นย้าในวิธีแก้มากกว่าตัวปั ญหา มองโลกในแง่ดี
และสร้างสรรค์
16.ฝึ กนิสยผัดวันประกันพรุงในทางสร้างสรรค์
ั
่
เนื่องจากคุณไม่สามารถทางานทุกอย่างได้ ดังนั้น
คุณจึงต้องเรียนรูที่จะผัดผ่อนงานที่มีค่าต ่าออกไป
้
ก่อน เพื่อที่คุณจะได้มีเวลาพอในการทาเรื่อง
บางอย่างที่สาคัญจริง ๆ




17.ทางานที่ยากที่สุดก่อน เริ่มต้นแต่ละวันด้วย
งานที่ยากที่สุดก่อน งานที่ทาให้คุณต้องทุมเท
่
้
ตัวเองให้กบมัน และจงตังปณิธานแน่วแน่ว่า จะ
ั
อยูกบมันจนเสร็จสมบูรณ์
่ ั
18.แล่และหั ่นงานเป็ นชิ้นเล็ก ๆ ย่อยงานใหญ่ที่
ซับซ้อนลงเป็ นงานชิ้นขนาดพอคา แล้วเริมลงมือ
่
ทางานด้วยการทางานชิ้นเล็ก ๆ ทีละชิ้นก่อน




19.สร้างเวลาชิ้นโต แบ่งงานของคุณออกเป็ น
ช่วงเวลาที่คุณสามารถทุ่มเทสมาธิเป็ น
เวลานาน ๆ กับงานที่สาคัญที่สุดของคุณ
20.สร้างสานึกแห่งความรวดเร็ว สร้างนิสย
ั
เสือปื นไวในงานสาคัญของคุณ ทาตัวให้ได้ชื่อ
ว่า เป็ นคนทาทุกอย่างได้เร็วและทาได้ดี


21.ทางานทุกอย่างทีละก้าว จัดลาดับ
ความสาคัญให้ชดเจน เริ่มต้นทางานที่สาคัญ
ั
ที่สุดก่อนโดยทันที และทาไม่หยุดจนกระทั ่ง
งานเสร็จสมบูรณ์ 100% นี่คือเคล็ดลับที่
แท้จริงสูการทางานที่มีประสิทธิภาพสูงและ
่
การทางานที่ได้ผลสูงสุด
 ทาจนกว่ามันจะเป็ นนิสยที่ติดตัว ซึ่งนิสยการ
ั
ั

บริหารเหล่านี้กลายเป็ นบุคลิกที่ถาวรแล้วละก็
อนาคตคุณจะกว้างไกลไร้ขีดจากัดอย่างแน่นอน
อธิบาย 21วิธี เพื่อหยุดการผัดวันประกันพรุ่งและทางานได้มากขึ้นใช้เวลาที่นอยลง
้
 ผูชนะ เป็ นส่วนหนึ่ง ของการแก้
้
 แต่ผแพ้ เป็ นส่วนหนึ่ง ของปั ญหา
ู้
 ผูชนะ เสนอสิ่งใหม่ ให้ทุกครา
้
 แต่ผแพ้ สรรหา .... คาแก้ตว
ู้
ั
 ผูชนะ มักบอก ฉันขอช่วย
้
 แต่ผแพ้ ไม่เอาด้วย เรื่องปวดหัว
ู้
 ผูชนะ เห็นทางออก แม้มืดมัว
้
 แต่ผแพ้ เฝ้ าแต่กลัว ... เจอทางตัน
ู้
 ผูชนะ รอโอกาสทอง แม้ตองยุง
้
้ ่
 ผูแพ้มุ่ง เห็นแต่ราย ที่หมายนั ่น
้
้
 ผูชนะ ว่าทาได้ ต้องฝ่ าฟั น
้
 ผูแพ้บอก เลิกฝั น ... มันยากไป
้
 The WINNER is always a part of the answer
 The LOSSER is always has a part of the

problem
 The WINNER has a program
 The LOSSER has an excuse
 The WINNER says ‘Let me do it for you’”
 The LOSSER says ‘That’s not my job’”

 The WINNER sees an answer in every problem
 The LOSSER sees a problem in every answer
 The WINNER sees a green near every sand trap
 The LOSSER sees 2 – 3 sand traps near every

green
 The WINNER says ‘It may be difficult, but it’s
possible’
 The LOSSER says ‘It may be possible, but it’s
difficult’”
Don’t Worry, Be Happy !

More Related Content

Viewers also liked (20)

Service management
Service managementService management
Service management
 
Fast track strategy
Fast track strategyFast track strategy
Fast track strategy
 
7 leadership lessons
7 leadership lessons7 leadership lessons
7 leadership lessons
 
Pmk internal assessor 7
Pmk internal assessor 7Pmk internal assessor 7
Pmk internal assessor 7
 
Practical sustainability
Practical sustainabilityPractical sustainability
Practical sustainability
 
Quiet leadership
Quiet leadershipQuiet leadership
Quiet leadership
 
6 powerful communication tips
6 powerful communication tips6 powerful communication tips
6 powerful communication tips
 
Human capital analytics
Human capital analyticsHuman capital analytics
Human capital analytics
 
Management 21 c
Management 21 cManagement 21 c
Management 21 c
 
Learning from spectacular failures
Learning from spectacular failuresLearning from spectacular failures
Learning from spectacular failures
 
Fast track project management
Fast track project managementFast track project management
Fast track project management
 
Inside out
Inside outInside out
Inside out
 
Human centered productivity
Human centered productivityHuman centered productivity
Human centered productivity
 
Work vs life
Work vs lifeWork vs life
Work vs life
 
Project writing
Project writingProject writing
Project writing
 
2014 baldrige comment writing
2014 baldrige comment writing2014 baldrige comment writing
2014 baldrige comment writing
 
Escape the improvement trap
Escape the improvement trapEscape the improvement trap
Escape the improvement trap
 
Pmk internal assessor 1
Pmk internal assessor 1Pmk internal assessor 1
Pmk internal assessor 1
 
Five keys to building hpo
Five keys to building hpoFive keys to building hpo
Five keys to building hpo
 
Decoding leadership
Decoding leadershipDecoding leadership
Decoding leadership
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Frog fish cheese