SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร5
ปีการศึกษา2562
ชื่อโครงงาน
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวกนกรัตน์ ศักดิ์เหลือง เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวกนกรัตน์ศักดิ์เหลืองเลขที่ 36
คาชี้แจงให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
โรคความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
Hypertension
ประเภทโครงงาน สื่อและพัฒนาการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงานนางสาวกนกรัตน์ ศักดิ์เหลือง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม .....
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ส่วนใหญ่ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจะไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
เราเรียกว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ
แต่จะมีผู้ป่วยจานวนหนึ่งที่ทราบสาเหตุของการมีความดันโลหิตสูง เช่น เป็นโรคไต เป็นโรคลูปัส
หรือกาลังใช้ยาบางชนิด เป็นต้น โรคความดันโลหิตสูงมีอยู่ 2ชนิด ได้แก่1.ชนิดไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด (primary
high blood pressure หรือ essential high blood pressure)
คือความดันโลหิตสูงที่ไม่ทราบสาเหตุของการเกิดที่แน่ชัด 2.ชนิดทราบสาเหตุ (secondary high blood pressure)
คือ ความดันโลหิตสูงที่สัมพันธ์กับโรคอื่นๆ ที่เป็น เช่น โรคไต หรือ เกิดจากยาบางชนิดที่คุณใช้อยู่
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง ได้แก่
อายุมากขึ้นจะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากขึ้น
มีประวัติครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคนี้มีโอกาสพบได้ในคนในครอบครัวเดียวกัน
เป็นคนแอฟริกันแคริบเบียน (Afro-Caribbean) หรือ เอเชียใต้ รับประทานอาหารที่มีไขมันสูงเป็นประจา
รับประทานเกลือ มีเกลือในอาหารที่รับประทานสูงเป็นประจา ขาดการออกกาลังกาย น้าหนักเกิน อ้วน
สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป ความเครียด โรคอื่นๆ เช่น โรคเบาหวาน และโรคไต
มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มโอกาสในการเป็นโรคความดันโลหิตสูงดังนั้นเราจึงหาแนวทางการป้องกันโรคและเ
ตรียมพร้อมรับมือกับโรคร้ายที่จะเข้ามา เพื่อสุขภาพและอายุให้ยืนยาวต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อรณรงค์ให้ทุกคนเกิดความตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากโรคนี้
2. เพื่อให้ทุกคนเห็นความสาคัญของการดูแลสุขภาพ
3. เพื่อให้ทุกคนได้รับความรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคนี้
ขอบเขตโครงงาน
1.สาเหตุการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
2.อาการของโรคความดันโลหิตสูง
3.ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง
4.ปัจจัยเสี่ยง
5.การเตรียมตัวก่อนวัดความดันโลหิต
6.การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคความดันโลหิตสูง
1.สาเหตุการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุของการเป็นโรคความดันโลหิตสูงยังไม่ทราบแน่ชัด
แต่ส่วนใหญ่จะพบโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไป และผู้ที่มีอาการป่วยบางประเภท เช่น
อาการป่วยเกี่ยวกับสมอง ต่อมหมวกไต และต่อมไร้ท่อบางประเภท รวมทั้งโรคเรื้อรังอื่น ๆ
ที่ทาให้หัวใจทางานหนักขึ้น เช่นโรคโลหิตจางอย่างรุนแรง เบาหวาน เป็นต้น
2.อาการของโรคความดันโลหิตสูง
ปกติแล้วผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมักไม่ปรากฏอาการใด ๆให้ทราบ อาจพบอาการปวดศีรษะ มึนงง
เวียนศีรษะ เหนื่อยง่ายผิดปกติ อาจมีอาการแน่นหน้าอก หรือนอนไม่หลับ สูญเสียความจา สับสน มึนงง
ซึ่งล้วนเป็นอาการเล็ก ๆ น้อย ๆนั่นจึงทาให้คนไม่เอะใจ จึงไม่ได้รับการรักษา
และควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในระดับเหมาะสม ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงตามมาได้
3.ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ 2กรณีคือ
1. ภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงโดยตรง คือ
- ภาวะหัวใจวาย ที่เกิดจากหัวใจทางานหนักขึ้น ทาให้ผนังหัวใจหนาตัว เกิดหัวใจโต
และหัวใจวายตามมา
- หลอดเลือดในสมองแตก หรือตีบตัน
2. ภาวะแทรกซ้อนจากหลอดเลือดแดงตีบหรือตัน เช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง
ซึ่งจะส่งผลให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ รวมทั้งหลอดเลือดสมองตีบ เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต
ไตวายเรื้อรังจากการที่เลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอได้
รวมทั้งอาการตาบอดที่เมื่อเป็นโรคความดันโลหิตสูงอาจทาให้หลอดเลือดแดงในตาค่อย ๆเสื่อมลง
จนอาจมีเลือดออกที่จอตา ทาให้ประสาทตาเสื่อมจนตาบอดได้
ทั้งนี้ มีข้อมูลทางการแพทย์ระบุว่า
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงหากไม่ได้การรักษาอาจเสี่ยงต่อการเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจวาย 60-75%,
เสียชีวิตจากเส้นเลือดในสมองอุดตัน หรือแตกราว 20-30% และเสียชีวิตจากไตวายเรื้อรัง 5-10%
4.ปัจจัยเสี่ยง
- พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม พบว่า คนประมาณ 30-40% ที่บิดามารดาเป็นโรคความดันโลหิตสูง
จะมีแนวโน้มเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้มากกว่า คนที่ไม่มีประวัติในครอบครัว
- ความเครียด หากคนมีความเครียดสูง อาจทาให้ความดันโลหิตสูงไปด้วย
- อายุ โดยปกติเมื่ออายุมากขึ้น ความดันโลหิตจะสูงขึ้นตามไปด้วย แต่สาหรับโรคความดันโลหิตสูง
มักพบในผู้ที่อายุ 40-50ปีขึ้นไป แต่ในอายุต่ากว่านี้ก็สามารถพบได้เช่นกัน
- เพศ มักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังวัยหมดประจาเดือน
- รูปร่าง มักพบในผู้ที่มีภาวะน้าหนักเกิน หรือคนอ้วนมากกว่าคนผอม
- เชื้อชาติ มักพบในคนอเมริกัน เชื้อสายแอฟริกา หรือกลุ่มผิวสี
- พฤติกรรมการกิน ผู้ที่ชอบทานเค็ม ทานเกลือ มักมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าคนปกติ
- สภาพภูมิศาสตร์ ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองมักมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้ที่อยู่อาศัยในชนบท เพราะมีความเครียด
และสภาพแวดล้อมที่วุ่นวายรบกวนจิตใจอารมณ์มากกว่า
5.การเตรียมตัวก่อนวัดความดันโลหิต
- ก่อนวัดความดันประมาณ 30 นาที ไม่ควรดื่มกาแฟ เครื่องดื่มบารุงกาลังที่มีคาเฟอีน
หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ออกกาลังกาย ไม่เครียด ไม่โกรธ
- นั่งพักก่อนวัดความดันประมาณ 5-15นาที
- หากปวดปัสสาวะควรปัสสาวะก่อนวัดความดัน
- ไม่ควรพูดคุยขณะวัดความดัน
6.การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคความดันโลหิตสูง
1. ควบคุมน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงหากมีน้าหนักตัวมากเกินไปควรลดน้าหนักโดยหลีกเลี่ยงอาหารที่ให้พลังงานสูง
เช่น อาหารที่มีไขมันและน้าตาลสูง ขนมหวาน น้าอัดลม กาแฟเย็น อาหารทอด อาหารชุบแป้งทอด กะทิ เป็นต้น
2. หลีกเลี่ยงเกลืออาหารหมักดอง และอาหารตากแห้ง
เช่น เต้าเจี้ยว เต้าหู้ยี้ ผักกาดดอง หอยดอง ปลาร้า ปลาเค็ม กุ้งแห้ง ปลาหมึกแห้ง ไส้กรอก เบคอน แฮม
อาหารทานเล่นที่มีเกลือเยอะ เช่น มันฝรั่งทอด ถั่วทอดใส่เกลือ ไม่เติมเกลือ น้าปลา
ซอสปรุงรสที่มีรสเค็มในอาหาร
ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงไม่ควรรับประทานเกลือเกินวันละ 6 กรัม หรือประมาณ 1ช้อนชา
หรือเท่ากับน้าปลาประมาณ 4ช้อนชาหรือซีอิ้ว 5ช้อนชา
3. ออกกาลังกายสม่าเสมอ
เช่น เดินเร็วๆ วิ่งเหยาะๆว่ายน้า เต้นแอโรบิค หรือเล่นกีฬาที่ชอบ ครั้งละ 30นาที 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์
หรืออาจเปลี่ยนกิจกรรมที่ทาอยู่เป็นการออกกาลังกาย เช่นทางานบ้าน เดินไปตลาด ซักผ้า
ลดการใช้เครื่องทุ่นแรง เช่น เดินขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟท์ เป็นต้น
4. ไม่สูบบุหรี่หรือยาเส้น
5. ไม่ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อื่นๆ หรือดื่มในปริมาณน้อยแต่ไม่ควรเกิน 1-2แก้วต่อวัน
สัปดาห์ละไม่เกิน 5 วัน
6. รับประทานยาตามแพทย์แนะนาอย่างสม่าเสมอ
ควรพบแพทย์ตามนัดเพื่อตรวจติดตามความดันโลหิตเป็นระยะๆ
ไม่ควรหยุดยาเองโดยไม่ปรึกษาหรือไม่ได้รับคาแนะนาจากแพทย์
เนื่องจากโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
แต่สามารถควบคุมได้หากรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
ไม่ควรรับประทานยาเองโดยไม่ได้ตรวจวัดความดันโลหิตหรือไม่ได้พบแพทย์
และไม่ควรเปลี่ยนสถานที่รักษาบ่อยๆ
7. รู้จักยาที่รับประทานอยู่
ยาที่ใช้สาหรับรักษาโรคความดันมีหลายชนิด ท่านควรทราบชื่อและขนาดยาที่รับประทานอยู่
หรือมีรายชื่อยาพร้อมขนาดยา และวิธีรับประทานยาเก็บไว้เพื่อประโยชน์ของท่านเอง
อย่าจาเพียงลักษณะหรือสีของยา เพราะยาต่างชนิดอาจมีลักษณะคล้ายๆ กันได้
8. การผ่อนคลาย
ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่ควรเครียดหรือหงุดหงิด ควรมองโลกในแง่ดี
การฝึกสมาธิหรือสวดมนต์อาจช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลาย ซึ่งจะช่วยควบคุมความดันได้ง่ายขึ้น
ที่มาข้อมูล :http://www.siphhospital.com/th/news/article/share/472
: https://health.kapook.com/view13700.html

More Related Content

What's hot (20)

Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
Chel
ChelChel
Chel
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
สมุนไพรลดความดันโลหิต
สมุนไพรลดความดันโลหิตสมุนไพรลดความดันโลหิต
สมุนไพรลดความดันโลหิต
 
2559 project (1).pdf ครีมมะขาม
2559 project  (1).pdf ครีมมะขาม2559 project  (1).pdf ครีมมะขาม
2559 project (1).pdf ครีมมะขาม
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.Pollution may destroy the intellect.
Pollution may destroy the intellect.
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
มม
มมมม
มม
 
5
55
5
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
2559 project COM
2559 project COM2559 project COM
2559 project COM
 
Jj
JjJj
Jj
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
2561 project 2
2561 project 22561 project 2
2561 project 2
 
Work
WorkWork
Work
 
2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 

Similar to Hyper36

2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnnjeerasak1210
 
ใบงานที่6 งานคอมเดียร์
ใบงานที่6 งานคอมเดียร์ใบงานที่6 งานคอมเดียร์
ใบงานที่6 งานคอมเดียร์Paweesuda Suksomprasert
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)salinthipount
 
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยการเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยFigo Surakiart
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser71dcde
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertensiondalika
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37naiizu
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya apisarajk
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthidassuserccc094
 
Influenza
 Influenza Influenza
InfluenzaNutvipa
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
InfluenzaNutvipa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์jeabspk
 
2562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-6102562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-610Preaw Ppy
 
Claustrophobia
ClaustrophobiaClaustrophobia
ClaustrophobiaPreaw Ppy
 

Similar to Hyper36 (20)

At1
At1At1
At1
 
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
 
ใบงานที่6 งานคอมเดียร์
ใบงานที่6 งานคอมเดียร์ใบงานที่6 งานคอมเดียร์
ใบงานที่6 งานคอมเดียร์
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
at1
at1at1
at1
 
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยการเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
การเพิ่มขึ้นของอัตราการว่างงานและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทย
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya
 
Workkk
WorkkkWorkkk
Workkk
 
2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida2562 final-project chonthida
2562 final-project chonthida
 
Influenza
 Influenza Influenza
Influenza
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Yuu
YuuYuu
Yuu
 
2562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-6102562 final-project no.30-610
2562 final-project no.30-610
 
Claustrophobia
ClaustrophobiaClaustrophobia
Claustrophobia
 

More from ssuserbed7e4 (20)

Com.3
Com.3Com.3
Com.3
 
Com.1
Com.1Com.1
Com.1
 
Com.2
Com.2Com.2
Com.2
 
Computer 11-23
Computer 11-23Computer 11-23
Computer 11-23
 
Work2 602 04-20
Work2 602 04-20Work2 602 04-20
Work2 602 04-20
 
Computer 11-23
Computer 11-23Computer 11-23
Computer 11-23
 
Computer 11-23
Computer 11-23Computer 11-23
Computer 11-23
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Project 23-191118045036
Project 23-191118045036Project 23-191118045036
Project 23-191118045036
 
Project 23
Project 23Project 23
Project 23
 
Project 23
Project 23Project 23
Project 23
 
Project 23
Project 23Project 23
Project 23
 
Fire wok 1
Fire wok 1Fire wok 1
Fire wok 1
 
Jern
JernJern
Jern
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
Fire wok
Fire wokFire wok
Fire wok
 
Project13
Project13Project13
Project13
 
Project
ProjectProject
Project
 
Bio
BioBio
Bio
 

Hyper36

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร5 ปีการศึกษา2562 ชื่อโครงงาน โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกนกรัตน์ ศักดิ์เหลือง เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวกนกรัตน์ศักดิ์เหลืองเลขที่ 36 คาชี้แจงให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) โรคความดันโลหิตสูง ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Hypertension ประเภทโครงงาน สื่อและพัฒนาการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงานนางสาวกนกรัตน์ ศักดิ์เหลือง ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ..... ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา62
  • 3. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ส่วนใหญ่ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจะไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด เราเรียกว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ แต่จะมีผู้ป่วยจานวนหนึ่งที่ทราบสาเหตุของการมีความดันโลหิตสูง เช่น เป็นโรคไต เป็นโรคลูปัส หรือกาลังใช้ยาบางชนิด เป็นต้น โรคความดันโลหิตสูงมีอยู่ 2ชนิด ได้แก่1.ชนิดไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด (primary high blood pressure หรือ essential high blood pressure) คือความดันโลหิตสูงที่ไม่ทราบสาเหตุของการเกิดที่แน่ชัด 2.ชนิดทราบสาเหตุ (secondary high blood pressure) คือ ความดันโลหิตสูงที่สัมพันธ์กับโรคอื่นๆ ที่เป็น เช่น โรคไต หรือ เกิดจากยาบางชนิดที่คุณใช้อยู่ ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง ได้แก่ อายุมากขึ้นจะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากขึ้น มีประวัติครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคนี้มีโอกาสพบได้ในคนในครอบครัวเดียวกัน เป็นคนแอฟริกันแคริบเบียน (Afro-Caribbean) หรือ เอเชียใต้ รับประทานอาหารที่มีไขมันสูงเป็นประจา รับประทานเกลือ มีเกลือในอาหารที่รับประทานสูงเป็นประจา ขาดการออกกาลังกาย น้าหนักเกิน อ้วน สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป ความเครียด โรคอื่นๆ เช่น โรคเบาหวาน และโรคไต มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มโอกาสในการเป็นโรคความดันโลหิตสูงดังนั้นเราจึงหาแนวทางการป้องกันโรคและเ ตรียมพร้อมรับมือกับโรคร้ายที่จะเข้ามา เพื่อสุขภาพและอายุให้ยืนยาวต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรณรงค์ให้ทุกคนเกิดความตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากโรคนี้ 2. เพื่อให้ทุกคนเห็นความสาคัญของการดูแลสุขภาพ 3. เพื่อให้ทุกคนได้รับความรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคนี้
  • 4. ขอบเขตโครงงาน 1.สาเหตุการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 2.อาการของโรคความดันโลหิตสูง 3.ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง 4.ปัจจัยเสี่ยง 5.การเตรียมตัวก่อนวัดความดันโลหิต 6.การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคความดันโลหิตสูง 1.สาเหตุการเกิดโรคความดันโลหิตสูง สาเหตุของการเป็นโรคความดันโลหิตสูงยังไม่ทราบแน่ชัด แต่ส่วนใหญ่จะพบโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไป และผู้ที่มีอาการป่วยบางประเภท เช่น อาการป่วยเกี่ยวกับสมอง ต่อมหมวกไต และต่อมไร้ท่อบางประเภท รวมทั้งโรคเรื้อรังอื่น ๆ ที่ทาให้หัวใจทางานหนักขึ้น เช่นโรคโลหิตจางอย่างรุนแรง เบาหวาน เป็นต้น 2.อาการของโรคความดันโลหิตสูง ปกติแล้วผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมักไม่ปรากฏอาการใด ๆให้ทราบ อาจพบอาการปวดศีรษะ มึนงง เวียนศีรษะ เหนื่อยง่ายผิดปกติ อาจมีอาการแน่นหน้าอก หรือนอนไม่หลับ สูญเสียความจา สับสน มึนงง ซึ่งล้วนเป็นอาการเล็ก ๆ น้อย ๆนั่นจึงทาให้คนไม่เอะใจ จึงไม่ได้รับการรักษา และควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในระดับเหมาะสม ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงตามมาได้
  • 5. 3.ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูง อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ 2กรณีคือ 1. ภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงโดยตรง คือ - ภาวะหัวใจวาย ที่เกิดจากหัวใจทางานหนักขึ้น ทาให้ผนังหัวใจหนาตัว เกิดหัวใจโต และหัวใจวายตามมา - หลอดเลือดในสมองแตก หรือตีบตัน 2. ภาวะแทรกซ้อนจากหลอดเลือดแดงตีบหรือตัน เช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง ซึ่งจะส่งผลให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ รวมทั้งหลอดเลือดสมองตีบ เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ไตวายเรื้อรังจากการที่เลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอได้ รวมทั้งอาการตาบอดที่เมื่อเป็นโรคความดันโลหิตสูงอาจทาให้หลอดเลือดแดงในตาค่อย ๆเสื่อมลง จนอาจมีเลือดออกที่จอตา ทาให้ประสาทตาเสื่อมจนตาบอดได้ ทั้งนี้ มีข้อมูลทางการแพทย์ระบุว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงหากไม่ได้การรักษาอาจเสี่ยงต่อการเสียชีวิตด้วยอาการหัวใจวาย 60-75%, เสียชีวิตจากเส้นเลือดในสมองอุดตัน หรือแตกราว 20-30% และเสียชีวิตจากไตวายเรื้อรัง 5-10% 4.ปัจจัยเสี่ยง - พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม พบว่า คนประมาณ 30-40% ที่บิดามารดาเป็นโรคความดันโลหิตสูง จะมีแนวโน้มเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้มากกว่า คนที่ไม่มีประวัติในครอบครัว
  • 6. - ความเครียด หากคนมีความเครียดสูง อาจทาให้ความดันโลหิตสูงไปด้วย - อายุ โดยปกติเมื่ออายุมากขึ้น ความดันโลหิตจะสูงขึ้นตามไปด้วย แต่สาหรับโรคความดันโลหิตสูง มักพบในผู้ที่อายุ 40-50ปีขึ้นไป แต่ในอายุต่ากว่านี้ก็สามารถพบได้เช่นกัน - เพศ มักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังวัยหมดประจาเดือน - รูปร่าง มักพบในผู้ที่มีภาวะน้าหนักเกิน หรือคนอ้วนมากกว่าคนผอม - เชื้อชาติ มักพบในคนอเมริกัน เชื้อสายแอฟริกา หรือกลุ่มผิวสี - พฤติกรรมการกิน ผู้ที่ชอบทานเค็ม ทานเกลือ มักมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าคนปกติ - สภาพภูมิศาสตร์ ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองมักมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้ที่อยู่อาศัยในชนบท เพราะมีความเครียด และสภาพแวดล้อมที่วุ่นวายรบกวนจิตใจอารมณ์มากกว่า 5.การเตรียมตัวก่อนวัดความดันโลหิต - ก่อนวัดความดันประมาณ 30 นาที ไม่ควรดื่มกาแฟ เครื่องดื่มบารุงกาลังที่มีคาเฟอีน หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ออกกาลังกาย ไม่เครียด ไม่โกรธ - นั่งพักก่อนวัดความดันประมาณ 5-15นาที - หากปวดปัสสาวะควรปัสสาวะก่อนวัดความดัน - ไม่ควรพูดคุยขณะวัดความดัน 6.การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคความดันโลหิตสูง 1. ควบคุมน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงหากมีน้าหนักตัวมากเกินไปควรลดน้าหนักโดยหลีกเลี่ยงอาหารที่ให้พลังงานสูง เช่น อาหารที่มีไขมันและน้าตาลสูง ขนมหวาน น้าอัดลม กาแฟเย็น อาหารทอด อาหารชุบแป้งทอด กะทิ เป็นต้น 2. หลีกเลี่ยงเกลืออาหารหมักดอง และอาหารตากแห้ง
  • 7. เช่น เต้าเจี้ยว เต้าหู้ยี้ ผักกาดดอง หอยดอง ปลาร้า ปลาเค็ม กุ้งแห้ง ปลาหมึกแห้ง ไส้กรอก เบคอน แฮม อาหารทานเล่นที่มีเกลือเยอะ เช่น มันฝรั่งทอด ถั่วทอดใส่เกลือ ไม่เติมเกลือ น้าปลา ซอสปรุงรสที่มีรสเค็มในอาหาร ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงไม่ควรรับประทานเกลือเกินวันละ 6 กรัม หรือประมาณ 1ช้อนชา หรือเท่ากับน้าปลาประมาณ 4ช้อนชาหรือซีอิ้ว 5ช้อนชา 3. ออกกาลังกายสม่าเสมอ เช่น เดินเร็วๆ วิ่งเหยาะๆว่ายน้า เต้นแอโรบิค หรือเล่นกีฬาที่ชอบ ครั้งละ 30นาที 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์ หรืออาจเปลี่ยนกิจกรรมที่ทาอยู่เป็นการออกกาลังกาย เช่นทางานบ้าน เดินไปตลาด ซักผ้า ลดการใช้เครื่องทุ่นแรง เช่น เดินขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟท์ เป็นต้น 4. ไม่สูบบุหรี่หรือยาเส้น 5. ไม่ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อื่นๆ หรือดื่มในปริมาณน้อยแต่ไม่ควรเกิน 1-2แก้วต่อวัน สัปดาห์ละไม่เกิน 5 วัน 6. รับประทานยาตามแพทย์แนะนาอย่างสม่าเสมอ ควรพบแพทย์ตามนัดเพื่อตรวจติดตามความดันโลหิตเป็นระยะๆ ไม่ควรหยุดยาเองโดยไม่ปรึกษาหรือไม่ได้รับคาแนะนาจากแพทย์ เนื่องจากโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมได้หากรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง ไม่ควรรับประทานยาเองโดยไม่ได้ตรวจวัดความดันโลหิตหรือไม่ได้พบแพทย์ และไม่ควรเปลี่ยนสถานที่รักษาบ่อยๆ 7. รู้จักยาที่รับประทานอยู่ ยาที่ใช้สาหรับรักษาโรคความดันมีหลายชนิด ท่านควรทราบชื่อและขนาดยาที่รับประทานอยู่ หรือมีรายชื่อยาพร้อมขนาดยา และวิธีรับประทานยาเก็บไว้เพื่อประโยชน์ของท่านเอง อย่าจาเพียงลักษณะหรือสีของยา เพราะยาต่างชนิดอาจมีลักษณะคล้ายๆ กันได้ 8. การผ่อนคลาย ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่ควรเครียดหรือหงุดหงิด ควรมองโลกในแง่ดี การฝึกสมาธิหรือสวดมนต์อาจช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลาย ซึ่งจะช่วยควบคุมความดันได้ง่ายขึ้น