SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
ค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยา
ที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่อง
รชานนท์ หิรัญวงษ์, ภ.บ. (บริบาลเภ๤ัชกรรม) กลุ่มงานเภ๤ัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง
ความ๤ําคัญและที่มาของปัญหา
งา นให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่องกับแพทย์ได้มีการดําเนินงานมาตั้งแต่ปี 2554 โดยหลังจากการดําเนิน
งานได้มีการประเมินผลงานพบว่ามีผู้ป่วยได้รับขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของไตเพิ่มขึ้น และมีความปลอดภัยจากการใ๡้ยาเพิ่มมากขึ้น แต่
เนื่องจากงานนี้ต้องใ๡้เภ๤ัชกรปฏิบัติงานถึง 4 ๡ั่วโมงต่อวัน เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการบริหารอัตรากําลังของเภ๤ัชกร จึงจําเป็นต้องมีการ
ประเมินความคุ้มค่าในแง่ของค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์
เพื่อ๣ึกษาถึงมูลค่ายาที่ประหยัดได้ และค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยา โดยการให้ข้อมูล
ขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่องโดยเภ๤ัชกร
วิธีดําเนินการวิจัย
เป็นการ๣ึกษาแบบพรรณนา แบบกลุ่มเดียวและวัดครั้งเดียว เก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้า ในผู้ป่วยอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่นอนรักษาตัวในโรงพยาบาล
บางละมุง ที่มีการทํางานของไตบกพร่อง มีค่าการ๡ําระครีเอตินินน้อยกว่า 60 มิลลิลิตร/นาที ในระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึง 31 ตุลาคม 2557
และได้รับยาที่ติดตามจํานวน 21 รายการ คือ Gentamicin, Amikacin, Amoxicillin/Clavulanate, Cefazolin, Cefotaxime,
Ceftazidime, Ciprofloxacin, Clarithromycin, Colistin, Ertapenem, Fosfomycin, Levofloxacin, Meropenem,
Piperacillin/Tazobactam, Stavudine, Tenofovir, Vancomycin, Zidovudine, Allopurinol, Enoxaparin และ Ranitidine
ขั้นตอนการดําเนินการ
ติดตามการ๤ั่งใ๡้ยาและประเมินการทํางานของไต ให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของไตและติดตามผล
คํานวณมูลค่ายาที่ประหยัดได้ และค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยาระหว่างที่นอนโรงพยาบาล
มูลค่ายาที่ประหยัดได้ = มูลค่ายาต่อวันก่อนปรับขนาด – มูลค่ายาต่อวันหลังปรับขนาด คูณด้วยจํานวนวันที่ใ๡้ยาหลังปรับขนาดจนหยุดยาหรือผู้ป่วยถูกจําหน่าย
ออกจากโรงพยาบาล (ถ้าเป็นการหยุดยาจะคูณด้วยจํานวนวัน 2 วัน โดยคิดว่าถ้าไม่มีการปรึกษาแพทย์เพื่อหยุดยา แพทย์จะ๤ั่งหยุดยาเองภายใน 2 วัน)
เ๡่น ปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาดยา Amoxicillin/Clavulanate injection จาก 1.2 G IV q 8 hr เป็น 1.2 G IV q 12 hr และใ๡้ยาต่ออีก 7 วัน ค่าใ๡้จ่าย
ด้านยาที่ประหยัดได้จะเท่ากับ [(28.25 x 3) - 28.25 x 2] x 7 = 28.25 x 7 = 197.75 บาท
ค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยาระหว่างที่นอนโรงพยาบาล คํานวณโดยนําจํานวนครั้งที่แพทย์ปรับขนาดยาหลังการให้ข้อมูลขนาดยา คูณ
ด้วยความน่าจะเป็นที่จะเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยาในกรณีที่ไม่มีการปรับขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่อง คือ 0.4 จากนั้นจึงนําค่าที่ได้มาคูณกับค่าใ๡้
จ่ายที่ต้องใ๡้ในการรักษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยาระหว่างที่นอนโรงพยาบาล คือ 1,869.50 บาท
ผลการวิจัย
เพศ
30%
70%
ชาย หญิง
อายุ (ปี)
8%
27%
65%
35 - 50 51 - 65 > 65
ค่าการทํางานของไต (มิลลิลิตร/นาที)
28%
56%
16%
30 - 59 15 - 29 < 15
ค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้รวม
66,076.14 บาท
(1,001.15 บาท/ครั้ง)
ผู้ป่วยจํานวน 106 ราย มีการ๤ั่งใ๡้ยาที่ต้องทําการปรับขนาดให้เหมาะสมกับการทํางานของไตจํานวน 127 ครั้ง เภ๤ัชกรได้ทําการให้ข้อมูล
ขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของไตของผู้ป่วยต่อแพทย์จํานวน 74 ครั้ง โดยแพทย์นําข้อมูลไปปรับขนาดยาจํานวน 66 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ
89 คิดเป็นมูลค่ายาที่ประหยัดได้ 16,721.34 บาท และคิดเป็นค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยา
ระหว่างที่นอนโรงพยาบาล 49,354.80 บาท
1. พัชริยา โทนหงษา. Drug safety and IT [อินเทอร์เน็ต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2556 [วันที่อ้างถึง 1 ตุลาคม 2556]. ที่มา http://com.md.kku.ac.th/it/images/HAForum/presents/DrugSafety.pdf
2. Saokaew S, Maphanta S, Thangsomboon P. Impact of pharmacist’s interventions on cost of drug therapy in intensive care unit. Pharmacy Practice (Internet) 2009 Apr-Jun;7(2):81-87.
3. วรรณวสาข์ ธนาเสริมสวย. ผลของเภ๤ัชกรในการปรับขนาดยาในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง ณ หอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี [วิทยานิพนธ์เภ๤ัชศาสตร์บัณฑิต].กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยมหิดล;2549.
4. วินัดดา ชุตินารา, เสวภา ทองสอดแสง, ศรินธร ขันธหัตถ์. การติดตามและปรับขนาดยาปฏิ๡ีวนะในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่องที่นอนรักษาตัวในโรงพยาบาล. วารสารเภ๤ัชกรรมโรงพยาบาล 2555; 22(2): 96 - 105.
5. พิมพ์ชนก ขันแก้วหล้า, อัญชลี เพิ่มสุวรรณ. ต้นทุนทางตรงของอาการไมพึงประสงค์จากการใ๡้ยาของผู้ป่วยในหออายุรกรรมหญิง [วิทยานิพนธ์เภ๤ัชศาสตร์บัณฑิต].เ๡ียงใหม่:มหาวิทยาลัยเ๡ียงใหม่; 2549.
เอกสารอ้างอิง
ค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้ในยาที่๡่วยประหยัดค่าใ๡้จ่ายได้มากที่สุด 5 อันดับแรก

More Related Content

Viewers also liked

การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication ReconciliationPAFP
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShareSlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (19)

การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication Reconciliation
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร

Similar to ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร (11)

59-3final.pdf
59-3final.pdf59-3final.pdf
59-3final.pdf
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
Poster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอPoster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอ
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
 
IPE_KhonKhenUniv
IPE_KhonKhenUnivIPE_KhonKhenUniv
IPE_KhonKhenUniv
 
9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 

More from Rachanont Hiranwong

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับRachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558Rachanont Hiranwong
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 

More from Rachanont Hiranwong (9)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Food allergy slide2
Food allergy slide2Food allergy slide2
Food allergy slide2
 
Food allergy slide
Food allergy slideFood allergy slide
Food allergy slide
 

ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร

  • 1. ค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยา ที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่อง รชานนท์ หิรัญวงษ์, ภ.บ. (บริบาลเภ๤ัชกรรม) กลุ่มงานเภ๤ัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง ความ๤ําคัญและที่มาของปัญหา งา นให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่องกับแพทย์ได้มีการดําเนินงานมาตั้งแต่ปี 2554 โดยหลังจากการดําเนิน งานได้มีการประเมินผลงานพบว่ามีผู้ป่วยได้รับขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของไตเพิ่มขึ้น และมีความปลอดภัยจากการใ๡้ยาเพิ่มมากขึ้น แต่ เนื่องจากงานนี้ต้องใ๡้เภ๤ัชกรปฏิบัติงานถึง 4 ๡ั่วโมงต่อวัน เพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการบริหารอัตรากําลังของเภ๤ัชกร จึงจําเป็นต้องมีการ ประเมินความคุ้มค่าในแง่ของค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ เพื่อ๣ึกษาถึงมูลค่ายาที่ประหยัดได้ และค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยา โดยการให้ข้อมูล ขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่องโดยเภ๤ัชกร วิธีดําเนินการวิจัย เป็นการ๣ึกษาแบบพรรณนา แบบกลุ่มเดียวและวัดครั้งเดียว เก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้า ในผู้ป่วยอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่นอนรักษาตัวในโรงพยาบาล บางละมุง ที่มีการทํางานของไตบกพร่อง มีค่าการ๡ําระครีเอตินินน้อยกว่า 60 มิลลิลิตร/นาที ในระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึง 31 ตุลาคม 2557 และได้รับยาที่ติดตามจํานวน 21 รายการ คือ Gentamicin, Amikacin, Amoxicillin/Clavulanate, Cefazolin, Cefotaxime, Ceftazidime, Ciprofloxacin, Clarithromycin, Colistin, Ertapenem, Fosfomycin, Levofloxacin, Meropenem, Piperacillin/Tazobactam, Stavudine, Tenofovir, Vancomycin, Zidovudine, Allopurinol, Enoxaparin และ Ranitidine ขั้นตอนการดําเนินการ ติดตามการ๤ั่งใ๡้ยาและประเมินการทํางานของไต ให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของไตและติดตามผล คํานวณมูลค่ายาที่ประหยัดได้ และค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยาระหว่างที่นอนโรงพยาบาล มูลค่ายาที่ประหยัดได้ = มูลค่ายาต่อวันก่อนปรับขนาด – มูลค่ายาต่อวันหลังปรับขนาด คูณด้วยจํานวนวันที่ใ๡้ยาหลังปรับขนาดจนหยุดยาหรือผู้ป่วยถูกจําหน่าย ออกจากโรงพยาบาล (ถ้าเป็นการหยุดยาจะคูณด้วยจํานวนวัน 2 วัน โดยคิดว่าถ้าไม่มีการปรึกษาแพทย์เพื่อหยุดยา แพทย์จะ๤ั่งหยุดยาเองภายใน 2 วัน) เ๡่น ปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาดยา Amoxicillin/Clavulanate injection จาก 1.2 G IV q 8 hr เป็น 1.2 G IV q 12 hr และใ๡้ยาต่ออีก 7 วัน ค่าใ๡้จ่าย ด้านยาที่ประหยัดได้จะเท่ากับ [(28.25 x 3) - 28.25 x 2] x 7 = 28.25 x 7 = 197.75 บาท ค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยาระหว่างที่นอนโรงพยาบาล คํานวณโดยนําจํานวนครั้งที่แพทย์ปรับขนาดยาหลังการให้ข้อมูลขนาดยา คูณ ด้วยความน่าจะเป็นที่จะเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยาในกรณีที่ไม่มีการปรับขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่อง คือ 0.4 จากนั้นจึงนําค่าที่ได้มาคูณกับค่าใ๡้ จ่ายที่ต้องใ๡้ในการรักษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยาระหว่างที่นอนโรงพยาบาล คือ 1,869.50 บาท ผลการวิจัย เพศ 30% 70% ชาย หญิง อายุ (ปี) 8% 27% 65% 35 - 50 51 - 65 > 65 ค่าการทํางานของไต (มิลลิลิตร/นาที) 28% 56% 16% 30 - 59 15 - 29 < 15 ค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้รวม 66,076.14 บาท (1,001.15 บาท/ครั้ง) ผู้ป่วยจํานวน 106 ราย มีการ๤ั่งใ๡้ยาที่ต้องทําการปรับขนาดให้เหมาะสมกับการทํางานของไตจํานวน 127 ครั้ง เภ๤ัชกรได้ทําการให้ข้อมูล ขนาดยาที่เหมาะสมกับการทํางานของไตของผู้ป่วยต่อแพทย์จํานวน 74 ครั้ง โดยแพทย์นําข้อมูลไปปรับขนาดยาจํานวน 66 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 89 คิดเป็นมูลค่ายาที่ประหยัดได้ 16,721.34 บาท และคิดเป็นค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ๡้ยา ระหว่างที่นอนโรงพยาบาล 49,354.80 บาท 1. พัชริยา โทนหงษา. Drug safety and IT [อินเทอร์เน็ต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2556 [วันที่อ้างถึง 1 ตุลาคม 2556]. ที่มา http://com.md.kku.ac.th/it/images/HAForum/presents/DrugSafety.pdf 2. Saokaew S, Maphanta S, Thangsomboon P. Impact of pharmacist’s interventions on cost of drug therapy in intensive care unit. Pharmacy Practice (Internet) 2009 Apr-Jun;7(2):81-87. 3. วรรณวสาข์ ธนาเสริมสวย. ผลของเภ๤ัชกรในการปรับขนาดยาในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง ณ หอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี [วิทยานิพนธ์เภ๤ัชศาสตร์บัณฑิต].กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยมหิดล;2549. 4. วินัดดา ชุตินารา, เสวภา ทองสอดแสง, ศรินธร ขันธหัตถ์. การติดตามและปรับขนาดยาปฏิ๡ีวนะในผู้ป่วยที่มีการทํางานของไตบกพร่องที่นอนรักษาตัวในโรงพยาบาล. วารสารเภ๤ัชกรรมโรงพยาบาล 2555; 22(2): 96 - 105. 5. พิมพ์ชนก ขันแก้วหล้า, อัญชลี เพิ่มสุวรรณ. ต้นทุนทางตรงของอาการไมพึงประสงค์จากการใ๡้ยาของผู้ป่วยในหออายุรกรรมหญิง [วิทยานิพนธ์เภ๤ัชศาสตร์บัณฑิต].เ๡ียงใหม่:มหาวิทยาลัยเ๡ียงใหม่; 2549. เอกสารอ้างอิง ค่าใ๡้จ่ายที่ประหยัดได้ในยาที่๡่วยประหยัดค่าใ๡้จ่ายได้มากที่สุด 5 อันดับแรก