SlideShare a Scribd company logo
รายงานเรื่อง ภาษาเกี่ยวกับ
      คอมพิวเตอร์

               เสนอ
      คูณครู สมร ตะระพันธ์

              จัดทาโดย
น.ส. ศิริพร     โมกศิริ เลขที่ 9   ม. 4/5
ภาษากับคอมพิวเตอร์
     ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับ
 คอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรมแต่ความ
  เป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น
  และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น
HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะ
ไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์
 ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่า
                       เป็นภาษาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และ
  ภาษาระดับต่่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบาย
มากกว่าภาษาระดับต่่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล
 (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถน่าไปใช้งานหรือปฏิบัติตามค่าสั่งได้
  ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object
                      code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดค่าสั่งในภาษาเครื่อง
    ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-
  readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูก
   ออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็น
       ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้
                                ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษามาร์กอัป
    ภาษามาร์กอัป (อังกฤษ: markup language) คือประเภท
 ภาษาคอมพิวเตอร์ที่แสดงทั้งข้อมูล และข้อมูลรูปแบบเข้าด้วยกัน
 โดยข้อมูลรูปแบบอธิบายถึงโครงสร้างหรือการแสดงผลซึ่งส่วนนี้
 เรียกว่า มาร์กอัป โดยจะอยู่รวมกับข้อมูลปกติ ภาษามาร์กอัปที่
รู้จักกันดีที่สุดคือ HTMLตามความเป็นมาแล้ว ภาษารูปแบบนี้ได้มี
    การใช้ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ในการติดต่อสื่อสารงานพิมพ์
              ระหว่างผู้เขียน บรรณาธิการ และเครื่องพิมพ์
ภาษาสอบถาม
ภาษาสอบถาม (Query language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่าหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลใน DBMS
       โดยภาษาประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (Structure Query
     Language: SQL) คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็มในทศวรรษที่ 1970 มีรูปแบบค่าสั่งที่คล้ายกับ
   ประโยคในภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร แอนซีได้ประกาศให้ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง เป็น
      ภาษามาตรฐานส่าหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database managemen
   Systemหรือ RDBM) เป็นระบบ DBMS แบบที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบน ระบบการจัดการฐานข้อมูล
                                                                          ั
  เชิงสัมพันธ์ทุกระบบจะใช้ค่าสั่งพื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือน ๆ กัน แต่อาจมีค่าสั่งพิเศษที่แตกต่างกัน
     บ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนา RDBMSของตนเองให้มีลักษณะที่เด่นกว่า
        ระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกินข้อก่าหนดของ แอนซี ซึ่งคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้าไป
         ตัวอย่างค่าสั่ง และผลลัพธ์ DELETE ใช้ส่าหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล
                   INSERt ใช้ส่าหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดเข้าไปในฐานข้อมูล
                 SELECT ใช้ส่าหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดที่ต้องการจากฐานข้อมูล
                         UPDATE ใช้ส่าหรับแก้ไขหรือแก้ไขเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล
ภาษโปรแกรม
ภาษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ที่สามารถใช้ควบคุมกาหนดพฤติกรรมการทางานของ
   เครื่องจักรได้ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมก็เหมือนภาษามนุษย์ที่จะต้องใช้
   วากยสัมพันธ์ (syntax) และความหมาย (semantic) เพื่อกาหนดโครงสร้างและ
   ตีความหมายตามลาดับ ภาษาโปรแกรมช่วยให้การสื่อสารในภารกิจสารสนเทศสะดวกมาก
   ขึ้นและถูกต้องแม่นยาตามขั้นตอนวิธี (algorithm) ในโลกนี้มีภาษาโปรแกรมมากกว่า
   8,500 ภาษาที่แตกต่างกันไปและก็ยังมีภาษาใหม่เกิดขึ้นทุกๆ ปี ผู้ที่ใช้งานภาษา
   โปรแกรมเพื่อเขียนโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer)ภาษาโปรแกรมใน
   ยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยในยุคนั้น ภาษาโปรแกรม
   ถูกใช้เพื่อควบคุมการทางานของเครื่องจักรทอผ้าของแจ็คการ์ด และเครื่องเล่นเปียโน มี
   ภาษาโปรแกรมมากมายหลายพันภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์
   และสาหรับวงการอื่น ๆ ภาษาโปรแกรมก็เกิดเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่จะ
   อธิบายการคิดคานวณในรูปแบบเชิงคาสั่ง เช่น ชุดลาดับคาสั่ง แม้ว่าบางภาษา เช่น ภาษา
   ที่สนับสนุนการโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการโปรแกรมเชิงตรรกะ จะใช้การอธิบายใน
   รูปแบบอื่น
ลักษณะของภาษาโปรแกรม

ภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาสามารถพิจารณาว่าเป็นเซตของข้อกาหนดอย่างเป็น
               ทางการของวากยสัมพันธ์ ศัพท์ และความหมาย
                       ข้อกาหนดเหล่านี้มักรวมถึง:
                        ข้อมูล และโครงสร้างข้อมูล
                       คาสั่ง และลาดับการทางาน
                          ปรัชญาในการออกแบบ
                         สถาปัตยกรรมของภาษา
 ภาษาส่วนใหญ่ที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง หรือมีการใช้งานในระยะเวลา
   พอสมควร จะมีกลุ่มทางานเพื่อสร้างมาตรฐาน ซึ่งมักจะมีการพบปะกันเป็น
   ระยะๆ เพื่อสร้างและจัดพิมพ์นิยามอย่างเป็นทางการของภาษา รวมถึงการ
                          ปรับปรุงเพิ่มเติมภาษาด้วย

More Related Content

What's hot

ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5nichaphat22
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาค
Smart H Der
 
Test.m52 no.22
Test.m52 no.22Test.m52 no.22
ประวัต Html
ประวัต Htmlประวัต Html
ประวัต Html
krurit9
 
lesson1
lesson1lesson1
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
รู้จักกับ Java script
รู้จักกับ Java scriptรู้จักกับ Java script
รู้จักกับ Java script
Ok Nakhon Asingilo
 
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16 ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
Jump Takitkulwiwat
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 

What's hot (11)

ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาค
 
Test.m52 no.22
Test.m52 no.22Test.m52 no.22
Test.m52 no.22
 
ประวัต Html
ประวัต Htmlประวัต Html
ประวัต Html
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
รู้จักกับ Java script
รู้จักกับ Java scriptรู้จักกับ Java script
รู้จักกับ Java script
 
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16 ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
ข้อสอบกลางภาค ม.5/2 เลขที่ 16
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 

Viewers also liked

Osteoporosis
OsteoporosisOsteoporosis
Osteoporosis
Summit Health
 
FALCK “Zonevorming, een uitdagende ontwikkeling
FALCK “Zonevorming, een uitdagende ontwikkelingFALCK “Zonevorming, een uitdagende ontwikkeling
FALCK “Zonevorming, een uitdagende ontwikkeling
Hans Van Poucke
 
Going home with baby
Going home with babyGoing home with baby
Going home with baby
Summit Health
 
Vaartuigen wetgeving en signalisatie
Vaartuigen wetgeving en signalisatieVaartuigen wetgeving en signalisatie
Vaartuigen wetgeving en signalisatie
Hans Van Poucke
 
Diabetes Management 101
Diabetes Management 101Diabetes Management 101
Diabetes Management 101
Summit Health
 
Boeing737origineel2014
Boeing737origineel2014Boeing737origineel2014
Boeing737origineel2014
Hans Van Poucke
 
Fixed tackling sports concussions head on
Fixed tackling sports concussions head onFixed tackling sports concussions head on
Fixed tackling sports concussions head on
Summit Health
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
Seeking Inner Calm?
Seeking Inner Calm?Seeking Inner Calm?
Seeking Inner Calm?
Summit Health
 
The Truth About Diabetes: Myths versus Facts
The Truth About Diabetes: Myths versus FactsThe Truth About Diabetes: Myths versus Facts
The Truth About Diabetes: Myths versus Facts
Summit Health
 
Alzheimer Dementia: The Threshold Between Normal Aging and Disease
Alzheimer Dementia: The Threshold Between Normal Aging and DiseaseAlzheimer Dementia: The Threshold Between Normal Aging and Disease
Alzheimer Dementia: The Threshold Between Normal Aging and Disease
Summit Health
 
Improving Self Esteem in Children and Teens
Improving Self Esteem in Children and TeensImproving Self Esteem in Children and Teens
Improving Self Esteem in Children and Teens
Summit Health
 
Kenniskring samenvatting E3K groep 1
 Kenniskring samenvatting E3K groep 1 Kenniskring samenvatting E3K groep 1
Kenniskring samenvatting E3K groep 1
Jop Cobussen
 
ReSo pour les entreprises - Manoo 3. e-Reputation
ReSo pour les entreprises - Manoo 3. e-ReputationReSo pour les entreprises - Manoo 3. e-Reputation
ReSo pour les entreprises - Manoo 3. e-Reputation
Olivier A. Maillard
 

Viewers also liked (16)

Osteoporosis
OsteoporosisOsteoporosis
Osteoporosis
 
FALCK “Zonevorming, een uitdagende ontwikkeling
FALCK “Zonevorming, een uitdagende ontwikkelingFALCK “Zonevorming, een uitdagende ontwikkeling
FALCK “Zonevorming, een uitdagende ontwikkeling
 
Going home with baby
Going home with babyGoing home with baby
Going home with baby
 
Vaartuigen wetgeving en signalisatie
Vaartuigen wetgeving en signalisatieVaartuigen wetgeving en signalisatie
Vaartuigen wetgeving en signalisatie
 
Diabetes Management 101
Diabetes Management 101Diabetes Management 101
Diabetes Management 101
 
Boeing737origineel2014
Boeing737origineel2014Boeing737origineel2014
Boeing737origineel2014
 
Fixed tackling sports concussions head on
Fixed tackling sports concussions head onFixed tackling sports concussions head on
Fixed tackling sports concussions head on
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
Seeking Inner Calm?
Seeking Inner Calm?Seeking Inner Calm?
Seeking Inner Calm?
 
The Truth About Diabetes: Myths versus Facts
The Truth About Diabetes: Myths versus FactsThe Truth About Diabetes: Myths versus Facts
The Truth About Diabetes: Myths versus Facts
 
Alzheimer Dementia: The Threshold Between Normal Aging and Disease
Alzheimer Dementia: The Threshold Between Normal Aging and DiseaseAlzheimer Dementia: The Threshold Between Normal Aging and Disease
Alzheimer Dementia: The Threshold Between Normal Aging and Disease
 
Improving Self Esteem in Children and Teens
Improving Self Esteem in Children and TeensImproving Self Esteem in Children and Teens
Improving Self Esteem in Children and Teens
 
Kenniskring samenvatting E3K groep 1
 Kenniskring samenvatting E3K groep 1 Kenniskring samenvatting E3K groep 1
Kenniskring samenvatting E3K groep 1
 
Le Pen et le salaire maternel
Le Pen et le salaire maternelLe Pen et le salaire maternel
Le Pen et le salaire maternel
 
ReSo pour les entreprises - Manoo 3. e-Reputation
ReSo pour les entreprises - Manoo 3. e-ReputationReSo pour les entreprises - Manoo 3. e-Reputation
ReSo pour les entreprises - Manoo 3. e-Reputation
 

Similar to น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Patitta Intarasopa
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
N'Name Phuthiphong
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
tyt13
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
Saipanyarangsit School
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Wityaporn Pleeboot
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
Software
SoftwareSoftware
Software
Tay Chaloeykrai
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
15 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-715 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-7
naraporn buanuch
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 

Similar to น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5 (20)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
15 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-715 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-7
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 

More from Siriporn Narak

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSiriporn Narak
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรSiriporn Narak
 

More from Siriporn Narak (6)

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 
ใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพรใบงาน 3.1 ศิริพร
ใบงาน 3.1 ศิริพร
 

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5

  • 1. รายงานเรื่อง ภาษาเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ เสนอ คูณครู สมร ตะระพันธ์ จัดทาโดย น.ส. ศิริพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม. 4/5
  • 2. ภาษากับคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับ คอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถ ทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรมแต่ความ เป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะ ไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่า เป็นภาษาโปรแกรม
  • 3. ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และ ภาษาระดับต่่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบาย มากกว่าภาษาระดับต่่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถน่าไปใช้งานหรือปฏิบัติตามค่าสั่งได้ ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดค่าสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human- readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูก ออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็น ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้ ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์
  • 4. ภาษามาร์กอัป ภาษามาร์กอัป (อังกฤษ: markup language) คือประเภท ภาษาคอมพิวเตอร์ที่แสดงทั้งข้อมูล และข้อมูลรูปแบบเข้าด้วยกัน โดยข้อมูลรูปแบบอธิบายถึงโครงสร้างหรือการแสดงผลซึ่งส่วนนี้ เรียกว่า มาร์กอัป โดยจะอยู่รวมกับข้อมูลปกติ ภาษามาร์กอัปที่ รู้จักกันดีที่สุดคือ HTMLตามความเป็นมาแล้ว ภาษารูปแบบนี้ได้มี การใช้ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ในการติดต่อสื่อสารงานพิมพ์ ระหว่างผู้เขียน บรรณาธิการ และเครื่องพิมพ์
  • 5. ภาษาสอบถาม ภาษาสอบถาม (Query language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่าหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลใน DBMS โดยภาษาประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (Structure Query Language: SQL) คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็มในทศวรรษที่ 1970 มีรูปแบบค่าสั่งที่คล้ายกับ ประโยคในภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร แอนซีได้ประกาศให้ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง เป็น ภาษามาตรฐานส่าหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database managemen Systemหรือ RDBM) เป็นระบบ DBMS แบบที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบน ระบบการจัดการฐานข้อมูล ั เชิงสัมพันธ์ทุกระบบจะใช้ค่าสั่งพื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือน ๆ กัน แต่อาจมีค่าสั่งพิเศษที่แตกต่างกัน บ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนา RDBMSของตนเองให้มีลักษณะที่เด่นกว่า ระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกินข้อก่าหนดของ แอนซี ซึ่งคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้าไป ตัวอย่างค่าสั่ง และผลลัพธ์ DELETE ใช้ส่าหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล INSERt ใช้ส่าหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดเข้าไปในฐานข้อมูล SELECT ใช้ส่าหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดที่ต้องการจากฐานข้อมูล UPDATE ใช้ส่าหรับแก้ไขหรือแก้ไขเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล
  • 6. ภาษโปรแกรม ภาษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ที่สามารถใช้ควบคุมกาหนดพฤติกรรมการทางานของ เครื่องจักรได้ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมก็เหมือนภาษามนุษย์ที่จะต้องใช้ วากยสัมพันธ์ (syntax) และความหมาย (semantic) เพื่อกาหนดโครงสร้างและ ตีความหมายตามลาดับ ภาษาโปรแกรมช่วยให้การสื่อสารในภารกิจสารสนเทศสะดวกมาก ขึ้นและถูกต้องแม่นยาตามขั้นตอนวิธี (algorithm) ในโลกนี้มีภาษาโปรแกรมมากกว่า 8,500 ภาษาที่แตกต่างกันไปและก็ยังมีภาษาใหม่เกิดขึ้นทุกๆ ปี ผู้ที่ใช้งานภาษา โปรแกรมเพื่อเขียนโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer)ภาษาโปรแกรมใน ยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยในยุคนั้น ภาษาโปรแกรม ถูกใช้เพื่อควบคุมการทางานของเครื่องจักรทอผ้าของแจ็คการ์ด และเครื่องเล่นเปียโน มี ภาษาโปรแกรมมากมายหลายพันภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ และสาหรับวงการอื่น ๆ ภาษาโปรแกรมก็เกิดเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่จะ อธิบายการคิดคานวณในรูปแบบเชิงคาสั่ง เช่น ชุดลาดับคาสั่ง แม้ว่าบางภาษา เช่น ภาษา ที่สนับสนุนการโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการโปรแกรมเชิงตรรกะ จะใช้การอธิบายใน รูปแบบอื่น
  • 7. ลักษณะของภาษาโปรแกรม ภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาสามารถพิจารณาว่าเป็นเซตของข้อกาหนดอย่างเป็น ทางการของวากยสัมพันธ์ ศัพท์ และความหมาย ข้อกาหนดเหล่านี้มักรวมถึง: ข้อมูล และโครงสร้างข้อมูล คาสั่ง และลาดับการทางาน ปรัชญาในการออกแบบ สถาปัตยกรรมของภาษา ภาษาส่วนใหญ่ที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง หรือมีการใช้งานในระยะเวลา พอสมควร จะมีกลุ่มทางานเพื่อสร้างมาตรฐาน ซึ่งมักจะมีการพบปะกันเป็น ระยะๆ เพื่อสร้างและจัดพิมพ์นิยามอย่างเป็นทางการของภาษา รวมถึงการ ปรับปรุงเพิ่มเติมภาษาด้วย