SlideShare a Scribd company logo
ภาษาซี เ ป็ น ภาษาโปรแกรมระดั บ สู ง ที่ ใ ช้ ส าหรั บ เขี ย นโปรแกรม
ประยุกต์ต่าง ๆ เช่นเดียวกันกับภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก และภาษาฟอร์แทรน
เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ภ าษาซี ยั ง ใช้ ส าหรั บ เขี ย นโปรแกรมระบบ โปรแกรม
สาหรับควบคุมฮาร์ดแวร์บางส่วนที่ภาษาโปรแกรมระดับสูงหลายภาษาไม่
สามารถทาได้ ดังนั้น ภาษาซีจึงจัดเป็นภาษาโปรแกรมในระดับกลางด้วย
ก่อนที่โปรแกรมภาษาซีจะถูกรัน (run) จะต้องถูกแปลงให้อยู่ในรูป
ของออบเจกต์โค้ด (object code) โดยการคอมไพล์ (compile) โปรแกรม
ภาษาซีที่เขียนโดยใช้คาสั่งตามมาตรฐานของ ANSI C สามารถนาไปคอมไพล์
และรันที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างระบบกันได้
ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1972 (พ.ศ.
2515) โดย เดนนิส ริสชี (Dennis Ritchie) แห่ง Bell Telephone Laboratories,
Inc. (ในปัจจุบันก็คือ AT&T Bell Laboratories) ซึ่งภาษา C มีการพัฒนามาจาก
ภาษา B ในช่วงแรก ๆ ของภาษา C ได้ถูกนามาใช้เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการ
Unix หากนาวิวฒนาการของภาษา C มาแสดงออกเป็นแผนภาพจะได้ดังนี้
ั
ALGOL
ALGOL-68

BCPL

ALGOL-W

B

C
C++

PASCAL
ในปี ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) เดนนิส ริสชี และนายเบรน เครนิกฮาน
(Dennis Ritchie and Brian W. Kernighan) ได้แต่งหนังสือชื่อ “The C
Programming Language” โดยนาเสนอภาษา C ที่สามารถนามาปรับ
ใช้กับคอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้มากยิ่งขึ้น และทาให้ภาษา C
ได้รับความนิยมอย่างมาก จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) ได้มี
การสร้างมาตรฐานของภาษา C ขึ้นมาในชื่อของ ANSI C ภายใต้
ความร่วมมือระหว่างสถาบัน ANSI (American National Standard
Institute) กับนายเดนนิส ริสชี และนายเบรน เครนิกฮาน อีกครั้ง
หนึ่ง
รูปซ้ายมือคือ Mr. Dennis Ritchie รูปตรงกลาง Mr. Brian W. Kernighan และรูปขวามือคือ หนังสือที่ท้งคู่ได้ร่วมกันแต่งขึ้น
ั

ในปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) องค์กรมาตรฐานสากล หรือ ISO
(International Standards Organization) ได้ยอมรับมาตรฐานที่ได้สร้างขึ้นมา
นี้ ภายใต้ชื่อ ANSI/ISO C
จุดเด่นของภาษา C
•เป็ น ภาษาคอมพิ ว เตอร์ ที่ มี แ นวคิ ด ในการพั ฒ นาแบบ “โปรแกรมเชิ ง
โครงสร้าง (Structure Programming)” ทาให้ภาษา C เป็นภาษาที่เหมาะสม
สาหรับนามาพัฒนาระบบ
•เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาษามาตรฐาน ซึ่งการทางานของภาษาไม่
ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ ทาให้สามารถนาไปใช้ใน CPU รุ่นต่าง ๆ ได้
•สามารถทางานแทนภาษา Assembly ได้
•ความสามารถของคอมไพเลอร์ในภาษา C มีประสิทธิภาพสูง ทางานได้
รวดเร็ว โดยใช้รหัส ออบเจ๊กต์ (Object) ที่สั้น จึงทาให้เหมาะสาหรับงานที่
ต้องการความรวดเร็ว
โครงสร้างของภาษา C
ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้าง
การพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละ
ส่วนมีหน้าที่แตกต่างกัน ดังนี้

1. ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ (Header File or Processing
Directive) ส่วนนี้จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ การทางาน
ของคอมไพเลอร์จะทางานในส่วนนี้เป็นส่วนแรก จะเป็นส่วนที่
เก็บไลบราลีมาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับ
โปรแกรมในขณะแปลภาษาโปรแกรม (Compile) โดยใช้คาสั่ง
# Include ซึ่งสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
•รูปแบบที่ 1 #include<HeaderName>
•รูปแบบที่ 2 #include“HeaderName”
โครงสร้างของภาษา C
แบบที่ใช้เครื่องหมาย <…> คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์
จากไลบราลี ข องภาษา C เพี ย งที่ เ ดี ย วเท่ า นั้ น ส่ ว นที่ ใ ช้
เครื่องหมาย “…” คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์จากไลบราลีที่
เก็บ Source Code ของเราก่อน ถ้าหากไม่เจอก็จะไปค้นหาที่ไล
บราลีของภาษา C และเฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีนามสกุลเป็น .h
เท่านั้น
ในการเขียนโปรแกรมภาษา C เฮดเดอร์ไฟล์ที่เก็บไลบราลี
มาตรฐานในการจั ด การเกี่ ย วกั บ อิ น พุ ต และเอาต์ พุ ต ของ
โปรแกรมก็คือ stdio.h ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่ขาดไม่ได้
2. ส่วนของตัวแปร Global เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถใช้
ร่วมกันได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้
3.
ส่วนของฟังก์ชัน (Function) เป็นส่วนการทางานของ
โปรแกรม ในโครงสร้างภาษา C จะบังคับให้มีอย่างน้อย 1
ฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main() ซึ่งเป็นฟังก์ชันเริ่มการทางานของ
โปรแกรม โดยในขอบเขตของฟังก์ชันจะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย
{ และสิ้นสุดด้วยเครื่องหมาย }
4. ส่วนของตัวแปร Local เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถ
ใช้ ไ ด้ เ ฉพาะภายในฟั ง ก์ ชั น ของตนเองเท่ า นั้ น ซึ่ ง ส่ ว นนี้ จ ะมี
หรือไม่มีก็ได้
5. ส่วนของตัวโปรแกรม เป็นส่วนคาสั่งการทางานของ
โปรแกรม โดยที่แต่ละคาสั่งจะต้องจบด้วยเครืองหมาย ; เสมอ
่

6. ส่วนของตัวส่งค่ากลับ เป็นส่วนของการส่งค่ากลับเมื่อฟังก์ชัน
จบการทางาน โดยค่าที่ส่งกลับนั้นจะต้องเป็นค่าที่มีชนิดของ
ข้อมูลตรงกับชนิดของข้อมูลที่ฟังก์ชันคืนค่ากลับ (Return Type)
ในกรณีไม่ต้องการให้ฟังก์ชันมีการส่งค่ากลับ สามารถกาหนดได้
โดยใช้คีย์เวิร์ด void
แนะนา Microsoft Visual C++ 2010 Express Edition
เตรียมตัวก่อนติดตั้ง Microsoft Visual C++ 2010 Express
ก่อนที่จะติดตั้งเครื่องมือ Microsoft Visual C++ 2010 Express เรา
จะต้องสารวจความพร้อมของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของเครื่องเสียก่อน
ทั้ง นี้ทั้ งนั้ น เพื่ อป้ องกัน ปั ญหาที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้น ระหว่ า งการติด ตั้ งโปรแกรม
คุณสมบัติพ้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ื
ฮาร์ดแวร์

Space เริ่มต้น

ซีพียู (CPU)
หน่วยความจา (Memory)
ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
การ์ดจอ
ระบบปฏิบัติการ (O/S)

1.6 GHz หรือมากกว่า
1024 MB หรือมากกว่า
ควรมีเนื้อที่ฮาร์ดดิสก์ก่อนติดตั้งไม่ต่ากว่า 3 GB
SuperVGA 1024  768 หรือสูงกว่า
Microsoft Windows XP (x86) Service Pack 3 ขึ้นไป
การดาวน์โหลดและติดตั้ง Dev C++
สาหรับ Dev C++ เป็นโปรแกรมประเภท Editor สาหรับใช้ในการ
เขียนโปรแกรมภาษาซีพลัสพลัส (C++) มีวิธีการดาวน์โหลดและติดตั้ง
ง่าย ๆ ดังนี้
1. ดาวน์โหลดได้โดยคลิกที่ http://www.bloodshed.net/dev/devcpp.html
2. คลิกลิงค์ดังรูปด้านล่างเพื่อดาวน์โหลดโปรแกรม
3. ดั บ เบิ้ ล คลิ ก ไอคอนโปรแกรมที่ ด าวน์ โ หลดมาเพิ่ ม ติ ด ตั้ ง จากนั้ น
โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างเพิ่มบอกว่าหากคุณได้ติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้
แล้ว กรุณาอย่าติดตั้งอีก ซึ่งหากเรายังไม่เคยติดตั้งก็คลิกปุ่ม OK ได้เลย

4. เลือกภาษาแล้วกดปุ่ม OK
5. ข้อบังคับการของใช้โปรแกรม เมื่อศึกษาแล้วสามารถกดปุ่ม I agree
ได้เลย
6. กดปุ่ม Next ต่อไปได้เลย
7. เลือก path สาหรับติดตั้งหรือสามารถเลือกตามที่โปรแกรมกาหนดไว้
ให้ก็ได้ แล้วกดปุ่ม Install เพิ่มติดตั้งโปรแกรม
8. ต้องการติดตั้งโปรแกรมนี้สาหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์คนอื่น (user
อื่น) ไม่ ถ้าใช่ให้กด Yes
8. ต้องการติดตั้งโปรแกรมนี้สาหรับผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์คนอื่น (user
อื่น) ไม่ ถ้าใช่ให้กด Yes
9. ติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้วครับ กดปุ่ม Finish
10. โปรแกรมจะทาการกาหนดค่าเริ่มต้นครับ ให้กดปุ่ม Next
11. กดปุ่ม Next
12. รอโปรแกรมทาการติดตั้ง feature ต่างๆ
13. ติดตั้ง feature เสร็จเรียบร้อย กดปุ่ม OK
14. เข้าสู่หน้าต่างโปรแกรม

เสร็จเรียบร้อยแล้ว สาหรับการติดตั้งและการใช้งานโปรแกรม Dev-C
เบื้องต้น
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย
คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
NoTe Tumrong
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
tyt13
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Baramee Chomphoo
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
รัสนา สิงหปรีชา
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
Phanupong Chanayut
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
รัสนา สิงหปรีชา
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
Naowarat Jaikaroon
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
Hathaichon Nonruongrit
 
Cstructure
CstructureCstructure
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 

What's hot (14)

งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่2การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
Cstructure
CstructureCstructure
Cstructure
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 

Viewers also liked

Tour of the basics
 Tour of the basics Tour of the basics
Tour of the basics
Janna Naypes
 
06/10/13Response To 040113 Supreme Court Pleading (PKH) - SPANISH
06/10/13Response To 040113 Supreme Court Pleading (PKH) - SPANISH06/10/13Response To 040113 Supreme Court Pleading (PKH) - SPANISH
06/10/13Response To 040113 Supreme Court Pleading (PKH) - SPANISHVogelDenise
 
Spa ascia first-aid_for_anaphylaxis
Spa ascia first-aid_for_anaphylaxisSpa ascia first-aid_for_anaphylaxis
Spa ascia first-aid_for_anaphylaxis
Noelis Ivón Hernández
 
Matematica financiera
Matematica financieraMatematica financiera
Matematica financiera
Orlando Davila
 
Las Relaciones entre el Perú y China
Las Relaciones entre el Perú y ChinaLas Relaciones entre el Perú y China
Las Relaciones entre el Perú y China
Carlos Alberto Aquino Rodriguez
 
Ptah began creation with the word of his mouth
Ptah began creation with the word of his mouthPtah began creation with the word of his mouth
Ptah began creation with the word of his mouth
Deepak Somaji-Sawant
 
Batuan beku 1
Batuan beku 1Batuan beku 1
Batuan beku 1
Ipung Noor
 
Paradigma tecnoeconomico
Paradigma tecnoeconomicoParadigma tecnoeconomico
Paradigma tecnoeconomicogcorderofermin
 
Sarika_patil_resume
Sarika_patil_resumeSarika_patil_resume
Sarika_patil_resumeSarika Patil
 

Viewers also liked (20)

โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
Roller support
Roller supportRoller support
Roller support
 
Lets Meet
Lets MeetLets Meet
Lets Meet
 
QUEERINGPRAYER
QUEERINGPRAYERQUEERINGPRAYER
QUEERINGPRAYER
 
Tour of the basics
 Tour of the basics Tour of the basics
Tour of the basics
 
06/10/13Response To 040113 Supreme Court Pleading (PKH) - SPANISH
06/10/13Response To 040113 Supreme Court Pleading (PKH) - SPANISH06/10/13Response To 040113 Supreme Court Pleading (PKH) - SPANISH
06/10/13Response To 040113 Supreme Court Pleading (PKH) - SPANISH
 
Spa ascia first-aid_for_anaphylaxis
Spa ascia first-aid_for_anaphylaxisSpa ascia first-aid_for_anaphylaxis
Spa ascia first-aid_for_anaphylaxis
 
29923
2992329923
29923
 
Ficha aplicativa machado
Ficha aplicativa   machadoFicha aplicativa   machado
Ficha aplicativa machado
 
29920
2992029920
29920
 
Matematica financiera
Matematica financieraMatematica financiera
Matematica financiera
 
Las Relaciones entre el Perú y China
Las Relaciones entre el Perú y ChinaLas Relaciones entre el Perú y China
Las Relaciones entre el Perú y China
 
Ptah began creation with the word of his mouth
Ptah began creation with the word of his mouthPtah began creation with the word of his mouth
Ptah began creation with the word of his mouth
 
Batuan beku 1
Batuan beku 1Batuan beku 1
Batuan beku 1
 
47120
4712047120
47120
 
Paradigma tecnoeconomico
Paradigma tecnoeconomicoParadigma tecnoeconomico
Paradigma tecnoeconomico
 
Antonio machado
Antonio machadoAntonio machado
Antonio machado
 
Sarika_patil_resume
Sarika_patil_resumeSarika_patil_resume
Sarika_patil_resume
 

Similar to งานทำBlog บทที่ 1

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ณัฐพล บัวพันธ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
N'Name Phuthiphong
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
N'Name Phuthiphong
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาC
Wittaya Kaewchat
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
koyjanpang
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
Phutawan Murcielago
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
ikanok
 
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
saengtham
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีFair Kung Nattaput
 

Similar to งานทำBlog บทที่ 1 (20)

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาCความเป็นมาของภาษาC
ความเป็นมาของภาษาC
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 

งานทำBlog บทที่ 1

  • 1.
  • 2. ภาษาซี เ ป็ น ภาษาโปรแกรมระดั บ สู ง ที่ ใ ช้ ส าหรั บ เขี ย นโปรแกรม ประยุกต์ต่าง ๆ เช่นเดียวกันกับภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก และภาษาฟอร์แทรน เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ภ าษาซี ยั ง ใช้ ส าหรั บ เขี ย นโปรแกรมระบบ โปรแกรม สาหรับควบคุมฮาร์ดแวร์บางส่วนที่ภาษาโปรแกรมระดับสูงหลายภาษาไม่ สามารถทาได้ ดังนั้น ภาษาซีจึงจัดเป็นภาษาโปรแกรมในระดับกลางด้วย ก่อนที่โปรแกรมภาษาซีจะถูกรัน (run) จะต้องถูกแปลงให้อยู่ในรูป ของออบเจกต์โค้ด (object code) โดยการคอมไพล์ (compile) โปรแกรม ภาษาซีที่เขียนโดยใช้คาสั่งตามมาตรฐานของ ANSI C สามารถนาไปคอมไพล์ และรันที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างระบบกันได้
  • 3. ภาษา C เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1972 (พ.ศ. 2515) โดย เดนนิส ริสชี (Dennis Ritchie) แห่ง Bell Telephone Laboratories, Inc. (ในปัจจุบันก็คือ AT&T Bell Laboratories) ซึ่งภาษา C มีการพัฒนามาจาก ภาษา B ในช่วงแรก ๆ ของภาษา C ได้ถูกนามาใช้เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการ Unix หากนาวิวฒนาการของภาษา C มาแสดงออกเป็นแผนภาพจะได้ดังนี้ ั ALGOL ALGOL-68 BCPL ALGOL-W B C C++ PASCAL
  • 4. ในปี ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) เดนนิส ริสชี และนายเบรน เครนิกฮาน (Dennis Ritchie and Brian W. Kernighan) ได้แต่งหนังสือชื่อ “The C Programming Language” โดยนาเสนอภาษา C ที่สามารถนามาปรับ ใช้กับคอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้มากยิ่งขึ้น และทาให้ภาษา C ได้รับความนิยมอย่างมาก จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) ได้มี การสร้างมาตรฐานของภาษา C ขึ้นมาในชื่อของ ANSI C ภายใต้ ความร่วมมือระหว่างสถาบัน ANSI (American National Standard Institute) กับนายเดนนิส ริสชี และนายเบรน เครนิกฮาน อีกครั้ง หนึ่ง
  • 5. รูปซ้ายมือคือ Mr. Dennis Ritchie รูปตรงกลาง Mr. Brian W. Kernighan และรูปขวามือคือ หนังสือที่ท้งคู่ได้ร่วมกันแต่งขึ้น ั ในปี ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2533) องค์กรมาตรฐานสากล หรือ ISO (International Standards Organization) ได้ยอมรับมาตรฐานที่ได้สร้างขึ้นมา นี้ ภายใต้ชื่อ ANSI/ISO C
  • 6. จุดเด่นของภาษา C •เป็ น ภาษาคอมพิ ว เตอร์ ที่ มี แ นวคิ ด ในการพั ฒ นาแบบ “โปรแกรมเชิ ง โครงสร้าง (Structure Programming)” ทาให้ภาษา C เป็นภาษาที่เหมาะสม สาหรับนามาพัฒนาระบบ •เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาษามาตรฐาน ซึ่งการทางานของภาษาไม่ ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ ทาให้สามารถนาไปใช้ใน CPU รุ่นต่าง ๆ ได้ •สามารถทางานแทนภาษา Assembly ได้ •ความสามารถของคอมไพเลอร์ในภาษา C มีประสิทธิภาพสูง ทางานได้ รวดเร็ว โดยใช้รหัส ออบเจ๊กต์ (Object) ที่สั้น จึงทาให้เหมาะสาหรับงานที่ ต้องการความรวดเร็ว
  • 7. โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้าง การพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละ ส่วนมีหน้าที่แตกต่างกัน ดังนี้ 1. ส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ (Header File or Processing Directive) ส่วนนี้จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ การทางาน ของคอมไพเลอร์จะทางานในส่วนนี้เป็นส่วนแรก จะเป็นส่วนที่ เก็บไลบราลีมาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับ โปรแกรมในขณะแปลภาษาโปรแกรม (Compile) โดยใช้คาสั่ง # Include ซึ่งสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ •รูปแบบที่ 1 #include<HeaderName> •รูปแบบที่ 2 #include“HeaderName”
  • 8. โครงสร้างของภาษา C แบบที่ใช้เครื่องหมาย <…> คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์ จากไลบราลี ข องภาษา C เพี ย งที่ เ ดี ย วเท่ า นั้ น ส่ ว นที่ ใ ช้ เครื่องหมาย “…” คอมไพเลอร์จะค้นหาเฮดเดอร์จากไลบราลีที่ เก็บ Source Code ของเราก่อน ถ้าหากไม่เจอก็จะไปค้นหาที่ไล บราลีของภาษา C และเฮดเดอร์ไฟล์นี้จะมีนามสกุลเป็น .h เท่านั้น ในการเขียนโปรแกรมภาษา C เฮดเดอร์ไฟล์ที่เก็บไลบราลี มาตรฐานในการจั ด การเกี่ ย วกั บ อิ น พุ ต และเอาต์ พุ ต ของ โปรแกรมก็คือ stdio.h ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญที่ขาดไม่ได้
  • 9. 2. ส่วนของตัวแปร Global เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถใช้ ร่วมกันได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งส่วนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้ 3. ส่วนของฟังก์ชัน (Function) เป็นส่วนการทางานของ โปรแกรม ในโครงสร้างภาษา C จะบังคับให้มีอย่างน้อย 1 ฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main() ซึ่งเป็นฟังก์ชันเริ่มการทางานของ โปรแกรม โดยในขอบเขตของฟังก์ชันจะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย { และสิ้นสุดด้วยเครื่องหมาย }
  • 10. 4. ส่วนของตัวแปร Local เป็นส่วนประกาศตัวแปรที่สามารถ ใช้ ไ ด้ เ ฉพาะภายในฟั ง ก์ ชั น ของตนเองเท่ า นั้ น ซึ่ ง ส่ ว นนี้ จ ะมี หรือไม่มีก็ได้ 5. ส่วนของตัวโปรแกรม เป็นส่วนคาสั่งการทางานของ โปรแกรม โดยที่แต่ละคาสั่งจะต้องจบด้วยเครืองหมาย ; เสมอ ่ 6. ส่วนของตัวส่งค่ากลับ เป็นส่วนของการส่งค่ากลับเมื่อฟังก์ชัน จบการทางาน โดยค่าที่ส่งกลับนั้นจะต้องเป็นค่าที่มีชนิดของ ข้อมูลตรงกับชนิดของข้อมูลที่ฟังก์ชันคืนค่ากลับ (Return Type) ในกรณีไม่ต้องการให้ฟังก์ชันมีการส่งค่ากลับ สามารถกาหนดได้ โดยใช้คีย์เวิร์ด void
  • 11. แนะนา Microsoft Visual C++ 2010 Express Edition เตรียมตัวก่อนติดตั้ง Microsoft Visual C++ 2010 Express ก่อนที่จะติดตั้งเครื่องมือ Microsoft Visual C++ 2010 Express เรา จะต้องสารวจความพร้อมของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของเครื่องเสียก่อน ทั้ง นี้ทั้ งนั้ น เพื่ อป้ องกัน ปั ญหาที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้น ระหว่ า งการติด ตั้ งโปรแกรม คุณสมบัติพ้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ื ฮาร์ดแวร์ Space เริ่มต้น ซีพียู (CPU) หน่วยความจา (Memory) ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) การ์ดจอ ระบบปฏิบัติการ (O/S) 1.6 GHz หรือมากกว่า 1024 MB หรือมากกว่า ควรมีเนื้อที่ฮาร์ดดิสก์ก่อนติดตั้งไม่ต่ากว่า 3 GB SuperVGA 1024  768 หรือสูงกว่า Microsoft Windows XP (x86) Service Pack 3 ขึ้นไป
  • 12. การดาวน์โหลดและติดตั้ง Dev C++ สาหรับ Dev C++ เป็นโปรแกรมประเภท Editor สาหรับใช้ในการ เขียนโปรแกรมภาษาซีพลัสพลัส (C++) มีวิธีการดาวน์โหลดและติดตั้ง ง่าย ๆ ดังนี้ 1. ดาวน์โหลดได้โดยคลิกที่ http://www.bloodshed.net/dev/devcpp.html 2. คลิกลิงค์ดังรูปด้านล่างเพื่อดาวน์โหลดโปรแกรม
  • 13. 3. ดั บ เบิ้ ล คลิ ก ไอคอนโปรแกรมที่ ด าวน์ โ หลดมาเพิ่ ม ติ ด ตั้ ง จากนั้ น โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างเพิ่มบอกว่าหากคุณได้ติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ แล้ว กรุณาอย่าติดตั้งอีก ซึ่งหากเรายังไม่เคยติดตั้งก็คลิกปุ่ม OK ได้เลย 4. เลือกภาษาแล้วกดปุ่ม OK
  • 15. 6. กดปุ่ม Next ต่อไปได้เลย
  • 16. 7. เลือก path สาหรับติดตั้งหรือสามารถเลือกตามที่โปรแกรมกาหนดไว้ ให้ก็ได้ แล้วกดปุ่ม Install เพิ่มติดตั้งโปรแกรม
  • 23. 13. ติดตั้ง feature เสร็จเรียบร้อย กดปุ่ม OK
  • 25. ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER