SlideShare a Scribd company logo
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับ
คอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทางาน
ตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริง
ภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษา
อื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้ง
ภาษามาร์กอัพและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษา
โปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทาง
เทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษา
โปรแกรม
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์
1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทา
ความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม
คอมพิวเตอร์ และฮาร์ ดแวร์ เป็ นอย่างดีจึงจะสามารถ
เขียนโปรแกรมสั่งงานได้มีข้อดีในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุม
ฮาร์ดแวร์แต่ละส่วนได้โดยตรงจึงทางานได้เร็ว แต่ไม่เหมาะที่จะใช้ใน
การพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่าได้ แก่
ภาษาเครื่อง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี
(Assembly Language)เป็นต้น
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
2. ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่
ทาความเข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะมีลักษณะ เป็นภาษาแบบโครงสร้าง
ทาความเข้าใจได้เหมือนกับภาษาระดับสูงแต่ทางานได้รวดเร็ว
เหมือนกับภาษาระดับต่า สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกันโดย
ไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลางจึงเป็ นที่นิยมใช้กันแพร่หลาย
ตัวอย่างของภาษาระดับกลาง ได้แก่ ภาษาซี เป็นต้น
ชนิดของภาษาคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
3.ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทาความ
เข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของการใช้คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียง
กับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะต้องมีการ
แปลความหมายของคาสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่
เ รี ย ก ว่ า Interpreterห รื อ แ ป ล ค รั้ง เ ดี ย ว ทั้ง โ ป ร แ ก ร ม
ที่เรียกว่า Compiler
ประเภทของประโยคในภาษาคอมพิวเตอร์
ทุกภาษาจะต้องมีโครงสร้างทางภาษาประกอบกันเป็นประโยค
ต่างๆ แบ่งได้เป็น 5 ประเภท ดังนี้
1.ประโยคที่ใช้ในการระบุตัวแปร ใช้ในการระบุชื่อและชนิดของตัวแปร
ซึ่งตัวแปรจะใช้เป็นชื่อในการอ้างอิงข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในหน่วยความจา
2.ประโยคที่ใช้ในการอ่านหรือแสดงผลลัพธ์ ใช้ในการอ่านข้อมูลเข้ามา
เก็บในตัวแปรที่ระบุและใช้แสดงผลลัพธ์
3.ประโยคควบคุม ใช้ในการควบคุมการทางานว่าจะให้ทางานในส่วนใด
ของโปรแกรมซึ่งถ้าไม่มีประโยคควบคุมการทางาน จะทาเรียง
ตามลาดับคาสั่งจากประโยคแรกไปยังประโยคสุดท้าย
4.ประโยคที่ใช้การคานวณ ใช้ในการคานวณค่าทางคณิตศาสตร์
5.ประโยคที่ใช้บอกจบการทางาน ใช้ระบุจุดจบของการทางาน
คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรม
1.มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ การทางานของโปรแกรมต้องให้ผลลัพธ์ที่
ถูกต้องแม่นยา ไม่คลาดเคลื่อน โปรแกรมที่มีความสมบรูณ์มากที่สุด คือ
ต้องผ่านการทดสอบที่ครอบคลุม โปรแกรมต้องนิ่งไม่เกิดปัญหา เพราะ
อาจถูกนาไปใช้ในการตัดสินใจในเรื่องสาคัญของผู้บริหาร
2.มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้ ปัจจุบันมีผู้ใช้งานโปรแกรมต่างๆมากขึ้น ซึ่ง
อาจจะมีทั้งผู้ที่มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดีจนถึงผู้ที่เริ่มต้นใช้
งานใหม่ หรืออาจจะไม่มีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์เลยการสร้าง
โปรแกรมให้สามารถใช้งานได้ง่าย สะดวก และตอบสนองต่อผู้ใช้งานได้
ทุกระดับจึงถือว่าเป็นสิ่งสาคัญ
คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
3.ค่าใช้จ่ายต่า ก่อนการพัฒนาต้องวางแผนและประเมินค่าใช้จ่าย เมื่อ
พัฒนา ก็ต้องควบคุมค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามแผน ในมุมมองของผู้ใช้
โปรแกรมจะต้องทางานให้คุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป ในมุมมองของผู้พัฒนา
ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาต้องต่ากว่าราคาที่เสนอแก่ลูกค้า
4.ต้องอ่านง่ายและสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้โปรแกรมที่มี
ความสามารถสูง มักมีโครงสร้างที่ใหญ่และวับซ้อนจึงควรมีการ
ออกแบบที่เป็ นมอดูล ย่อยที่มีอิสระต่อกันและเรียบง่ายเพื่อให้
ผู้พัฒนาโปรแกรมคนอื่นสามารถเข้าใจ นาไปพัฒนาต่อให้เหมาะสมกับ
ยุดสมัยได้ การนาส่วนของโปรแกรมมาใช้ใหม่หรือใช้งานร่วมกับ
โปรแกรมอื่น ย่อมทาให้ประหยัดงบประมาณและสามารถนามา
แก้ปัญหาได้ทันเวลา
คุณสมบัติของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
5.มีความปลอดภัยข้อมูลสาคัญมีแนวโน้มในการเก็บไว้ใน
คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น รวมถึงการเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ต ทาให้เกิด
ความเสี่ยงในเรื่องความปลอดภัยของข้อมูล โปรแกรมที่ดีต้อง
มีความปลอดภัยสูง ทั้งความปลอดภัยจากปัจจัยภายนอก และ
ความปลอดภัยจากปัจจัยภายใน
6.ใช้เวลาในการพัฒนาไม่นาน เวลาที่ใช้ในการพัฒนาเป็นตัวชี้วัด
ที่บ่งบอกถึงคุณภาพของโปรแกรม การใช้เวลาที่พัฒนามาก
จนเกินไปอาจทาให้ปัญหาที่ต้องการแก้ไขนั้นได้เปลี่ยนโครงสร้าง
หรือรูปแบบไป ทาให้การวางแผนแก้ปัญหาหรือโปรแกรม
ไม่สามารถใช้งานได้ หรืออาจจะไม่จาเป็นต้องแก้ไขแล้วก้อเป็นได้
ประเภทของการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างการเขียนโปรแกรมเชิง
โครงสร้าง เป็นการเขียนโปรแกรมแบบดั้งเดิม ที่ถือเป็นแบบอย่างของ
การเขียนโปรแกรมในปัจจุบัน โดยมีโครงสร้างในการเขียน 3 แบบ
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
1. โครงสร้างแบบลาดับ เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะการทางาน
ตามลาดับก่อนหลังโดยไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
2. โครงสร้างแบบมีทางเลือก เป็นโครงสร้างที่ต้องมีการ
ทดสอบ โดยมีทิศทางให้เลือกมากกว่า 1 ทิศทาง เช่น โครงสร้างแบบ
if...then...else หรือโครงสร้างแบบ case ที่มีทางเลือกหลาย
ทิศทาง ถึงแม้จะมีเส้นทางในการเลือกหลายเส้นทาง แต่การเดินของ
ข้อมูลก็มีโอกาสในการเดินเพียงเส้นทางเดียวเท่านั้น
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
3. โครงสร้างแบบทาซ้า เป็นโครงสร้างที่มีการตรวจสอบการ
ทางานของวงจรวนซ้า ซึ่งมีรูปแบบของการวนซ้าที่แยกย่อยออกไป กา
รวนซ้าโดยมีการกาหนดรอบที่แน่นอน การวนซ้าแบบนี้ จะมีการ
กาหนดค่าเริ่มต้น แล้วเมื่อตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็ นจริงก็จะวน
ใหม่ หากเป็นเท็จก็จะออกจากวงจร (Loop) เพื่อไปขั้นตอนอื่น
ต่อไป คาสั่งที่ใช้ในการวนซ้าแบบนี้คือ คาสั่ง for
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
การวนซ้าแบบกระทาก่อนเป็นการวนซ้าที่มีรอบการวนซ้าไม่
แน่นอน แต่เมื่อโปรแกรมเข้าสู่การทางานในโครงสร้างก่อน 1 ครั้งแล้ว
จึงทาการตรวจสอบเงื่อนไข หากเป็นจริงก็จะวนใหม่ หากเป็นเท็จก็จะ
ออกจากวงจรเพื่อไปขั้นตอนอื่นต่อไป คาสั่งที่ใช้ในการวนซ้าแบบนี้ คือ
คาสั่ง do-while การวนซ้า แบบที่มีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อน การ
ทางานบางครั้ง อาจจะไม่มีการวนเข้าสู่วงจร (Loop) เลยก็เป็นได้
หากค่าที่ตรวจสอบพบเป็นเท็จเสียก่อน คาสั่งที่ใช้ ได้แก่ คาสั่ง while
ประเภทของการเขียนโปรแกรม(ต่อ)
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) ขั้นตอนการวิเคราะห์
ปัญหาสามารถจาแนกได้ดังนี้
1. กาหนดขอบเขตของปัญหา
2. กาหนดข้อมูลนาเข้า
3. วิธีการประมวลผล
4. กาหนดผลลัพธ์
5. กาหนดโครงสร้างข้อมูลที่ใช้
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม(ต่อ)
การออกแบบโปรแกรม (Program Design) ประกอบด้วยวิธีการ
ดังนี้คือ
1. การออกแบบโปรแกรมโดยใช้ อัลกอริธึม (Algorithm)
2. การออกแบบโปรแกรมโดยใช้ รหัสจาลอง (Pseudo Code)
3. การออกแบบโปรแกรมโดยใช้ ผังงาน (Flowchart)
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม(ต่อ)
การเขียนโปรแกรม (Program Coding)
1. เลือกภาษาที่เหมาะสม
2. ลงมือเขียนโปรแกรม โดยการแปลงขั้นตอนการทางาน (ประมวลผล)
ที่ได้จากการออกแบบ ให้อยู่ในรูปของคาสั่งที่ถูกต้อง ตรงตามรูปแบบ
ของภาษาที่เลือกนั้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม(ต่อ)
การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
(Program Testing & Verification)
1.Syntax Error ความผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คาสั่งผิดรูปแบบที่ภาษา
นั้นกาหนด เช่น การลืมประกาศตัวแปร การเขียนคาสั่งผิอด เช่น คาสั่ง
while( ) เป็น WHILE( )
2.Logic Error ความผิดพลาดที่เกิดจากการที่โปรแกรมทางานผิดไปจาก
ขั้นตอนที่ควรจะเป็น เช่น การตรวจสอบเงื่อนไขผิดไม่ตรงตามวัตถุประสงค์
คานวณค่าได้คาตอบไม่ถูกต้อง หรือ ทางานผิดลาดับขั้นตอน เป็นต้น
3.System Design Error ความผิดพลาดที่เกิดจากการที่โปรแกรม
ทางานได้ไม่ตรงตามความต้องการของลูกค้า
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม(ต่อ)
ขั้นตอนการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
• Desk-Checking ผู้เขียนโปรแกรมตรวจสอบโปรแกรมด้วยตนเอง
ถ้าให้ผู้อื่นช่วยดูจะเรียกว่า Structured-Walkthrough
• Translating ตรวจสอบรูปแบบคาสั่งต่างๆที่ใช้ในโปรแกรมโดยตัว
แปลภาษา (Translator) เป็นผู้ตรวจ
• Debugging เป็นการทดลองใช้โปรแกรมจริง เพื่อค้นหาข้อบกพร่อง
เช่น ผลลัพธ์ที่ไม่ตรงตามความต้องการ ซึ่งอาจมีสาเหตุจาก Logic
Errors และถ้าได้ทดสอบกับผู้ใช้จริงก็จะสามารถตรวจสอบ
System Design Errors ได้
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม(ต่อ)
การจัดทาเอกสารและคู่มือการใช้งาน (Program Documentation)
• คู่มือสาหรับผู้ใช้โปรแกรม (User's Manual or User's Guide) คือ
เอกสารที่อธิบายวิธีการใช้ระบบหรือโปรแกรม เรียกว่า User Manual ใช้สาหรับ
ผู้ใช้งานโปรแกรม แนะนาวิธีการใช้งานโปรแกรม แนะนาคุณสมบัติ และองค์ประกอบ
ของโปรแกรมต่างๆ วิธีการติดตั้งโปรแกรม สามารถทาควบคู่ไปกับการเขียนโปรแกรม
อาจทาเป็ นคู่มือเอกสารที่อยู่ในรูปแบบโปรแกรมออนไลน์ก็ได้ (Online
Manual)
• คู่มือสาหรับผู้เขียนโปรแกรม (Programmer's Manual or
Programmer's Guide) เป็นคู่มือที่จัดทาขึ้น เพื่อให้ผู้พัฒนาโปรแกรม
รวมทั้งเทคนิคพิเศษต่างๆ ของโปรแกรม เพื่อให้สะดวกต่อการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรม
ที่มีอยู่เดิม โดยทั่วไปจะเป็นเอกสารแสดงการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ เรียกว่า
System Manual ใช้สาหรับผู้พัฒนาระบบหรือโปรแกรม เท่านั้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม(ต่อ)
การใช้งานจริง (Program Implement)
การใช้งานจริง เป็นขั้นตอนสาคัญหลังจากทาการทดสอบและ
แก้ไขโปรแกรมให้มีความถูกต้องเรียบร้อยแล้ว โดยการนาโปรแกรมไป
ใช้งานจริงด้วยการป้ อนข้อมูลต่างๆ สภาวะแวดล้อม และสถานการณ์
ต่างๆโดยผู้ใช้งานโปรแกรมสามารถทางานตามฟังก์ชั่น และทาตาม
จุดประสงค์ของโปรแกรมที่เขียนไว้ ขั้นตอนการใช้งานจริงของโปรแกรม
หากพบข้อผิดพลาด ก็สามารถปรับปรุง แก้ไข โปรแกรมให้ถูกต้องได้
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม(ต่อ)
การปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม(Program Maintenance)
การเขียนโปรแกรมที่ดีต้องมีขั้นตอนการปรับปรุงและพัฒนา
โปรแกรมให้มีความถูกต้อง ทันสมัย และตรงกับความต้องการของผู้ใช้
มากที่สุด โดยทั่วไปโปรแกรมที่ใช้งานจะประกอบด้วยหลายๆรุ่น เช่นรุ่น
ทดสอบ (Beta Version) และ รุ่นที่ใช้งานจริง (Release
Version) และต้องมีการปรับเปลี่ยนโปรแกรมให้ดีขึ้น ดังตัวอย่างเช่น
โปรแกรมเวอร์ชัน 1 มีการเพิ่มเติม ปรับปรุง แก้ไขโปรแกรมเป็นเวอร์ชัน
1.2 เป็นต้นการพัฒนาโปรแกรมให้ดีขึ้นมีประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน และ
ผู้เขียนโปรแกรมต้องอาศัยคู่มือการใช้งาน และเอกสารประกอบของ
โปรแกรม เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไข และให้ผู้อื่นๆสามารถพัฒนาต่อ
ได้
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม(ต่อ)
สมาชิก
นายณัฐพงษ์ นิ่มว่องไว ม.5/1 เลขที่1
นายภูมิพชร สิทธิสร ม.5/1 เลขที่2
นายอานนท์ ผาสุก ม.5/1 เลขที่3
นายกิตติภณ พ่วงปาน ม.5/1 เลขที่4
นายวีรภัทร บุญทองเหลือ ม.5/1 เลขที่5
นายสมพร มานพพนาไพร ม.5/1 เลขที่6
นายวิทยากร พรหมชนะ ม.5/1 เลขที่7
นายพุฒิพงศ์ ปิยะพันธ์ ม.5/1 เลขที่8
นายเดช เดชาบูรพา ม.5/1 เลขที่9
นางสาวธนพร ศรอารา ม.5/1 เลขที่20

More Related Content

What's hot

Cisco IPv6 Tutorial
Cisco IPv6 TutorialCisco IPv6 Tutorial
Cisco IPv6 Tutorial
kriz5
 
Telnet & SSH
Telnet & SSHTelnet & SSH
Telnet & SSH
NetProtocol Xpert
 
3GPP LTE Detailed explanation 4 (X2 Handover)
3GPP LTE Detailed explanation 4 (X2 Handover)3GPP LTE Detailed explanation 4 (X2 Handover)
3GPP LTE Detailed explanation 4 (X2 Handover)
Ryuichi Yasunaga
 
OFI libfabric Tutorial
OFI libfabric TutorialOFI libfabric Tutorial
OFI libfabric Tutorial
dgoodell
 
SOP (same origin policy)
SOP (same origin policy)SOP (same origin policy)
SOP (same origin policy)
MehmetGkalp2
 
Site-to-Site IPSEC VPN Between Cisco ASA and Pfsense
Site-to-Site IPSEC VPN Between Cisco ASA and PfsenseSite-to-Site IPSEC VPN Between Cisco ASA and Pfsense
Site-to-Site IPSEC VPN Between Cisco ASA and Pfsense
Harris Andrea
 
2) VRP Basic Configuration.pdf
2) VRP Basic Configuration.pdf2) VRP Basic Configuration.pdf
2) VRP Basic Configuration.pdf
RandyDookheran2
 
Ccna Commands In 10 Minutes
Ccna Commands In 10 MinutesCcna Commands In 10 Minutes
Ccna Commands In 10 Minutes
CCNAResources
 
Report on routing interface configuration
Report on routing interface configurationReport on routing interface configuration
Report on routing interface configuration
DebjyotiSaha9
 
Network Security- port security.pptx
Network Security- port security.pptxNetwork Security- port security.pptx
Network Security- port security.pptx
SulSya
 
VLAN on mikrotik
VLAN on mikrotikVLAN on mikrotik
VLAN on mikrotik
Achmad Mardiansyah
 
Voice Services, From Circuit Switch to VoIP
Voice Services, From Circuit Switch to VoIPVoice Services, From Circuit Switch to VoIP
Voice Services, From Circuit Switch to VoIP
GLC Networks
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
4.4.1.3 packet tracer configuring a zone-based policy firewall (zpf) instru...
4.4.1.3 packet tracer   configuring a zone-based policy firewall (zpf) instru...4.4.1.3 packet tracer   configuring a zone-based policy firewall (zpf) instru...
4.4.1.3 packet tracer configuring a zone-based policy firewall (zpf) instru...
Salem Trabelsi
 
6.5.1.2 packet tracer layer 2 security instructor
6.5.1.2 packet tracer   layer 2 security instructor6.5.1.2 packet tracer   layer 2 security instructor
6.5.1.2 packet tracer layer 2 security instructor
Salem Trabelsi
 
Configure Cisco Routers for Syslog, NTP, and SSH Operations
Configure Cisco Routers for Syslog, NTP, and SSH Operations Configure Cisco Routers for Syslog, NTP, and SSH Operations
Configure Cisco Routers for Syslog, NTP, and SSH Operations
Kelson Silva
 
Kali tools list with short description
Kali tools list with short descriptionKali tools list with short description
Kali tools list with short description
Jose Moruno Cadima
 

What's hot (20)

Cisco IPv6 Tutorial
Cisco IPv6 TutorialCisco IPv6 Tutorial
Cisco IPv6 Tutorial
 
Ip addressing classless
Ip addressing classlessIp addressing classless
Ip addressing classless
 
Telnet & SSH
Telnet & SSHTelnet & SSH
Telnet & SSH
 
3GPP LTE Detailed explanation 4 (X2 Handover)
3GPP LTE Detailed explanation 4 (X2 Handover)3GPP LTE Detailed explanation 4 (X2 Handover)
3GPP LTE Detailed explanation 4 (X2 Handover)
 
OFI libfabric Tutorial
OFI libfabric TutorialOFI libfabric Tutorial
OFI libfabric Tutorial
 
SOP (same origin policy)
SOP (same origin policy)SOP (same origin policy)
SOP (same origin policy)
 
Site-to-Site IPSEC VPN Between Cisco ASA and Pfsense
Site-to-Site IPSEC VPN Between Cisco ASA and PfsenseSite-to-Site IPSEC VPN Between Cisco ASA and Pfsense
Site-to-Site IPSEC VPN Between Cisco ASA and Pfsense
 
2) VRP Basic Configuration.pdf
2) VRP Basic Configuration.pdf2) VRP Basic Configuration.pdf
2) VRP Basic Configuration.pdf
 
Ccna Commands In 10 Minutes
Ccna Commands In 10 MinutesCcna Commands In 10 Minutes
Ccna Commands In 10 Minutes
 
Report on routing interface configuration
Report on routing interface configurationReport on routing interface configuration
Report on routing interface configuration
 
Network Security- port security.pptx
Network Security- port security.pptxNetwork Security- port security.pptx
Network Security- port security.pptx
 
VLAN on mikrotik
VLAN on mikrotikVLAN on mikrotik
VLAN on mikrotik
 
Voice Services, From Circuit Switch to VoIP
Voice Services, From Circuit Switch to VoIPVoice Services, From Circuit Switch to VoIP
Voice Services, From Circuit Switch to VoIP
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
4.4.1.3 packet tracer configuring a zone-based policy firewall (zpf) instru...
4.4.1.3 packet tracer   configuring a zone-based policy firewall (zpf) instru...4.4.1.3 packet tracer   configuring a zone-based policy firewall (zpf) instru...
4.4.1.3 packet tracer configuring a zone-based policy firewall (zpf) instru...
 
Ccna command
Ccna commandCcna command
Ccna command
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
6.5.1.2 packet tracer layer 2 security instructor
6.5.1.2 packet tracer   layer 2 security instructor6.5.1.2 packet tracer   layer 2 security instructor
6.5.1.2 packet tracer layer 2 security instructor
 
Configure Cisco Routers for Syslog, NTP, and SSH Operations
Configure Cisco Routers for Syslog, NTP, and SSH Operations Configure Cisco Routers for Syslog, NTP, and SSH Operations
Configure Cisco Routers for Syslog, NTP, and SSH Operations
 
Kali tools list with short description
Kali tools list with short descriptionKali tools list with short description
Kali tools list with short description
 

Similar to การเขียนโปรแกรมภาษา

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ลูกแก้ว กนกวรรณ
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
ssuser5adb53
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
Test1
Test1Test1
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
Pakkapong Kerdmanee
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
naraporn buanuch
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
Pimlapas Kimkur
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
N'Name Phuthiphong
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 

Similar to การเขียนโปรแกรมภาษา (20)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-742 ธันชลัส-ปวช..3-7
42 ธันชลัส-ปวช..3-7
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 

การเขียนโปรแกรมภาษา