SlideShare a Scribd company logo
รายงาน
เรื อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทําโดย
นางสาว ศิริวรรณ นอบน้อม ม.4/1 เลขที22
เสนอ
คุณครู จุฑารัตน์ ใจบุญ
โรงเรียน รัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
คํานํา
รายงานเรื องนีเป็ นส่ วนหนึงของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สร้างขึนเพือให้ผูทีสนใจเนือหาเกียวกับเรื อง
้
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ความหมายของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายชนิดต่างๆ การเชือมโยงเครื อข่าย
เทคโนโลยีไร้สาย ชนิดของเครื อข่าย อุปกรณ์เครื อข่าย ไว้เป็ นแนวทางในการศึกษา
หวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเรื องนีจะมีประโยชน์กบคนทีสนใจไม่มากก็นอย หากผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ทีนี
ั
้
ด้วย
สารบัญ
เรือง

หน้ า

1.ความหมายของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

1

2.ระบบเครื อข่ายชนิดต่างๆ

2

3.การเชือมโยงเครื อข่าย

5

4.เทคโนโลยีไร้สาย

7

5.ชนิดของเครื อข่าย

8

6.อุปกรณ์เครื อข่าย

9
ความหมายของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network ) หมายถึง การเชือมต่อคอมพิวเตอร์ ตงแต่ 2 เครื องขึนไปเข้าด้วยกัน
ั
ด้วยสายเคเบิล หรื อสื ออืนๆ ทําให้คอมพิวเตอร์ สามารถรับส่ งข้อมูลแก่กนและกันได้ในกรณี ทีเป็ นการเชือมต่อระหว่าง
ั
เครื องคอมพิวเตอร์ หลายๆ เครื องเข้ากับเครื องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ทีเป็ นศูนย์กลาง เราเรี ยกคอมพิวเตอร์ ทีเป็ นศูนย์กลาง
นีว่า โฮสต์ (Host) และเรี ยกคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กทีเข้ามาเชือมต่อว่า ไคลเอนต์ (Client)ระบบเครื อข่าย (Network) จะ
เชือมโยงคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกันเพือการติดต่อสื อสาร เราสามารถส่ งข้อมูลภายในอาคาร หรื อข้ามระหว่างเมืองไปจนถึงอีก
ซี กหนึงของโลก ซึ งข้อมูลต่างๆ อาจเป็ นทังข้อความ รู ปภาพ เสี ยง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ วแก่ผูใช้ ซึ งความสามารถ
้
เหล่านีทําให้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีความสําคัญ และจําเป็ นต่อการใช้งานในแวดวงต่างๆ
ทําให้ใช้ทรัพยากร ของเครื องคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้ (Resources Sharing) ซึ งเป็ นการช่วย ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ ม
ความสะดวก ในการใช้งาน เช่น การใช้พืนทีบนฮาร์ ดดิสก์ และเครื องพิมพ์ร่วมกันสามารถบริ หารจัดการการทํางานของ
คอมพิวเตอร์ ทุกเครื อง ได้จากศูนย์กลาง (Centralized Management) เช่น สร้างเวิร์กกรุ ป กําหนดสิ ทธิในการเข้าถึงข้อมูล
และสามารถทําการ สํารองข้อมูล ของแต่ละเครื องได้ สามารถทําการสื อสาร ภายในเครื อข่าย (Communication) ได้หลาย
รู ปแบบ เช่น อีเมล์, แชท (Chat), การประชุมทางไกล (Teleconference), และ การประชุมทางไกล แบบเห็นภาพ (Video
Conference)มีระบบรักษาความปลอดภัย ของข้อมูล บนเครื อข่าย (Network Security) เช่นสามารถ ระบุผูทีมีสิทธิเข้าถึง
้
ข้อมูล ในระดับต่างๆ ป้ องกันผูทีไม่ได้รับอนุญาติ เข้าถึงข้อมูล และให้การคุมครอง ข้อมูลทีสําคัญ ให้ความบันเทิงไม่รู้จบ
้
้
(Entertainment) เช่น สามารถสนุกกับ การเล่นเกมส์ แบบผูเ้ ล่นหลายคน หรื อทีเรี ยกว่า มัลติ เพลเยอร์ (Multi Player) ทีกําลัง
เป็ นทีนิยมกันอยูในเวลานีได้ใช้งานอินเทอร์ เน็ตร่ วมกัน (Internet Sharing) เพียงต่อเข้าอินเทอร์ เน็ต จากเครื องหนึงใน
่
เครื อข่าย โดยมีแอคเคาท์เพียงหนึงแอคเคาท์ ก็ทาให้ผูใช้อีกหลายคน ในเครื อข่ายเดียวกัน สามารถใช้งานอินเทอร์ เน็ตได้
ํ ้
เสมือนกับมีหลายแอคเคาท์
ระบบเครือข่ ายชนิดต่ างๆ
ระบบเครื อข่าย สามารถเรี ยกได้ หลายวิธี เช่นตามรู ปแบบ การเชือมต่อ (Topology) เช่น แบบบัส (bus), แบบดาว (star),
แบบวงแหวน (ring) หรื อจะเรึ ยกตามขนาด หรื อระยะทางของระบบก็ได้ เช่นแลน (LAN), แวน (WAN), แมน (MAN)
นอกจากนี ระบบเครื อข่าย ยังสามารถ เรี ยกได้ตาม เทคโนโลยีทีไช้ ในการส่ งผ่านข้อมูล เช่น เครื อข่าย TCP/IP, เครื อข่าย
IPX, เครื อข่าย SNA หรื อเรี ยกตาม ชนิดของข้อมูล ทีมีการส่ งผ่าน เช่นเครื อข่าย เสี ยงและวิดีโอ
เรายังสามารถจําแนกเครื อข่ายได้ ตามกลุ่มทีใช้เครื อข่าย เช่น อินเตอร์ เน็ต (Internet), เอ็กซ์ตร้าเน็ต (Extranet), อินทราเน็ต
(Intranet), เครื อข่ายเสมือน (Virtual Private Network) หรื อเรี ยก ตามวิธีการ เชือมต่อทางกายภาพ เช่นเครื อข่าย
เส้นใยนําแสง, เครื อข่ายสายโทรศัพท์, เครื อข่ายไร้สาย เป็ นต้น จะเห็นได้ว่า เราสามารถจําแนก ระบบเครื อข่าย ได้
หลากหลายวิธี ตามแต่ว่า เราจะพูดถึง เครื อข่ายนันในแง่มุมใด เราจําแนก ระบบเครื อข่าย ตามวิธีทีนิยมกัน 3 วิธีคือ รู ปแบบ
การเชือมต่อ (Topology), รู ปแบบการสื อสาร (Protocol), และ สถาปัตยกรรมเครื อข่าย (Architecture)

แบบบัส (bus)

ในระบบเครื อข่าย โทโปโลยีแบบ BUS นับว่าเป็ นแบบโทโปโลยีทีได้รับความนิยมใช้กนมากทีสุ ดมา ตังแต่อดีตจนถึง
ั
ปัจจุบน เหตุผลอย่างหนึงก็คือสามารถติดตังระบบ ดูแลรักษา และติดตังอุปกรณ์เพิ มเติมได้ง่าย ไม่ตองใช้เทคนิคทียุ่งยาก
ั
้
ซับซ้อน ลักษณะการทํางานของเครื อข่ายโทโปโลยีแบบ BUS คืออุปกรณ์ทุกชิ นหรื อโหนดทุกโหนด ในเครื อข่ายจะต้อง
เชือมโยงเข้ากับสายสื อสารหลัก ทีเรี ยกว่า "บัส" (BUS) เมือโหนดหนึงต้องการจะส่ งข้อมูลไปให้ยงอีกโหนด หนึงภายใน
ั
เครื อข่าย ข้อมูลจากโหนดผูส่ง จะถูกส่ งเข้าสู่ สายบัส ในรู ปของแพ็กเกจ ซึ งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบด้วยตําแหน่งของ ผูส่ง
้
้
และผูรับ และข้อมูล การสื อสารภายในสายบัส จะเป็ นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทัง 2 ด้านของบัส โดยตรงปลายทัง 2
้
ด้านของบัสจะมีเทอร์ มิเนเตอร์ (Terminator) ทําหน้าทีดูดกลืนสัญญาณ เพือป้ องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนันสะท้อนกลับ
เข้ามายังบัสอีก เป็ นการป้ องกันการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลอืน ๆ ทีเดินทางอยูบนบัส สัญญาณข้อมูลจากโหนดผูส่ง เมือ
่
้
เข้าสู่ บสจะไหลผ่านไปยังปลายทัง 2 ข้างของบัส แต่ละโหนดทีเชือมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูว่าตําแหน่งปลายทาง ทีมา
ั
กับแพ็กเกจข้อมูลนัน ตรงกับตําแหน่งของตนหรื อไม่ ถ้าใช่กจะรับข้อมูลนันเข้ามาสู่ โหนดตน แต่ถาไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้
็
้
สัญญาณข้อมูลนันผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครื อข่ายแบบ BUS นันสามารถรับรู ้สญญาณข้อมูลได้ แต่
ั

จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านัน ทีจะรับข้อมูลนันไปได้
แบบดาว (star)

เป็ นหลักการส่ งและรับข้อมูล เหมือนกับระบบโทรศัพท์ การควบคุมจะทําโดยสถานีศูนย์กลาง ทําหน้าทีเป็ นตัวสวิตชิ ง
ข้อมูลทังหมดในระบบเครื อข่าย จะต้องผ่านเครื องคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลาง (Center Comtuper) เป็ นการเชือมโยงการ
ติดต่อสื อสาร ทีมีลกษณะคล้ายกับรู ปดาว (STAR) หลายแฉก โดยมีศูนย์กลางของดาว หรื อฮับ เป็ นจุดผ่านการติดต่อกัน
ั
ระหว่างทุกโหนดในเครื อข่าย ศูนย์กลาง จึงมีหน้าทีเป็ นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื อสารทังหมด นอกจากนีศูนย์กลางยังทํา
หน้าที เป็ นศูนย์กลางข้อมูลอีกด้วย
การสื อสารภายในเครื อข่ายแบบ STAR จะเป็ นแบบ 2 ทิศทาง โดยจะอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านัน ทีสามารถส่ ง
ข้อมูลเข้าสู่ เครื อข่ายได้ จึงไม่มีโอกาสทีหลายๆ โหนดจะส่ งข้อมูลเข้าสู่ เครื อข่ายในเวลาเดียวกัน เพือป้ องกันการชนกันของ
สัญญาณข้อมูล เครื อข่ายแบบ STAR เป็ นโทโปโลยี อีกแบบหนึง ทีเป็ นทีนิยมใช้กนในปัจจุบน ข้อดีของเครื อข่ายแบบ
ั
ั
STAR คือการติดตังเครื อข่ายและการดูแลรักษาทําได้ง่าย หากมีโหนดใดเกิดความเสี ยหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และ
ศูนย์กลางสามารถตัดโหนดนันออกจากการสื อสาร ในเครื อข่ายได้
แบบวงแหวน (ring)

เครื อข่ายแบบ RING เป็ นการส่ งข่าวสารทีส่ งผ่านไปในเครื อข่าย ข้อมูลข่าวสารจะไหลวนอยูในเครื อข่าย ไปในทิศทางเดียว
่
เหมือนวงแหวน หรื อ RING นันเอง โดยไม่มีจุดปลาย หรื อเทอร์ มิเนเตอร์ เช่นเดียวกับเครื อข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนด
หรื อสเตชัน จะมีรีพีตเตอร์ ประจําโหนด 1 เครื อง ซึ งจะทําหน้าทีเพิมเติมข่าวสารทีจําเป็ นต่อการสื อสาร ในส่ วนหัวของ
แพ็กเกจข้อมูล สําหรับการส่ งข้อมูลออกจากโหนด และมีหน้าทีรับแพ็กเกจข้อมูล ทีไหลผ่านมาจากสายสื อสาร เพือ
ตรวจสอบว่าเป็ นข้อมูล ทีส่ งมาให้โหนดตนหรื อไม่ ถ้าใช่กจะคัดลอกข้อมูลทังหมดนัน ส่ งต่อไปให้กบโหนดของตน แต่ถา
็
ั
้
ไม่ใช่กจะปล่อยข้อมูลนันไปยังรี พีตเตอร์ ของโหนดถัดไป
็

โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology)

เป็ นเครื อข่ายการสื อสารข้อมูลแบบผสมระหว่างเครื อข่ายแบบใดแบบหนึงหรื อมากกว่า เพือความถูกต้องแน่นอน ทังนี
ขึนอยูกบความต้องการและภาพรวมขององค์กร
่ ั
การเชือมโยงเครือข่ าย
สื อกลางการสื อสารทีใช้ในการเชือมโยงอุปกรณ์เพือสร้างเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยสายเคเบิลไฟฟ้ า
(HomePNA, สายไฟฟ้ าสื อสาร, G.hn), ใยแก้วนําแสง และคลืนวิทยุ (เครื อข่ายไร้สาย) ในโมเดล OSI สื อเหล่านีจะถูก
กําหนดให้อยูในเลเยอร์ ที 1 และที 2 หรื อชันกายภาพและชันเชือมโยงข้อมูล
่
ครอบครัวของสื อการสื อสารทีถูกพัฒนาอย่างกว้างขวางและถูกนํามาใช้ในเทคโนโลยีเครื อข่ายท้องถิ น (LAN) เรี ยกว่า อี
เธอร์ เน็ต มาตรฐานของสื อกลางและของโพรโทคอลทีช่วยในการสื อสารระหว่างอุปกรณ์ในเครื อข่ายอีเธอร์เน็ตถูกกําหนด
โดยมาตรฐาน IEEE 802. อีเธอร์ เน็ตในโลกไซเบอร์ มีทงเทคโนโลยีของ LAN แบบใช้สายและแบบไร้สาย อุปกรณ์ของ
ั
LAN แบบใช้สายจะส่ งสัญญาณผ่านสื อกลางทีเป็ นสายเคเบิล อุปกรณ์ LAN ไร้สายใช้คลืนวิทยุหรื อสัญญาณอินฟราเรดเป็ น
สื อกลางในการส่ งผ่านสํญญาณ

เทคโนโลยีแบบใช้ สายเทคโนโลยีแบบใช้ สายต่ อไปนีเรียงลําดับตามความเร็วจากช้ าไปเร็วอย่ างหยาบๆ

รูปแสดงสาย UTP
สายคู่บิดเป็ นสื อทีใช้กนอย่างแพร่ หลายทีสุ ดสําหรับการสื อสารโทรคมนาคมทังหมด สายคู่บิดประกอบด้วยกลุ่ม
ั
ของสายทองแดงหุ ้มฉนวนทีมีการบิดเป็ นคู่ๆ สายโทรศัพท์ธรรมดาทีใช้ภายในบ้านทัวไปประกอบด้วยสายทองแดงหุม
้
ฉนวนเพียงสองสายบิดเป็ นคู่ สายเคเบิลเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (แบบใช้สายอีเธอร์ เน็ตตามทีกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE
802.3) จะเป็ นสายคู่บิดจํานวน 4 คู่สายทองแดงทีสามารถใช้สาหรับการส่ งทังเสี ยงและข้อมูล การใช้สายไฟสองเส้นบิดเป็ น
ํ
เกลียวจะช่วยลด crosstalk และการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าระหว่างสายภายในเคเบิลชุดเดียวกัน ความเร็วในการส่ งอยู่
ในช่วง 2 ล้านบิตต่อวินาทีถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที สายคู่บิดมาในสองรู ปแบบคือคู่บิดไม่มีตวนําป้ องกัน(การรบกวนจาก
้
การเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าภายนอก) (unshielded twisted pair หรื อ UTP) และคู่บิดมีตวนําป้ องกัน (shielded twisted pair
ั
หรื อ STP) แต่ละรู ปแบบออกแบบมาหลายอัตราความเร็ วในการใช้งานในสถานการณ์ต่างกัน
สายโคแอคเชี ยลถูกใช้อย่างแพร่ หลายสําหรับระบบเคเบิลทีวี, ในอาคารสํานักงานและสถานทีทํางานอืนๆ ใน
เครื อข่ายท้องถิ น สายโคแอคประกอบด้วยลวดทองแดงหรื ออะลูมิเนียมเส้นเดียวทีล้อมรอบด้วยชันฉนวน (โดยปกติจะเป็ น
วัสดุทีมีความยืดหยุนกับไดอิเล็กทริ กคงทีสู ง) และล้อมรอบทังหมดด้วยตัวนําอีกชันหนึงเพือป้ องกันการเหนียวนํา
่
แม่เหล็กไฟฟ้ าจากภายนอก ฉนวนไดอิเล็กทริ กจะช่วยลดสัญญาณรบกวนและความผิดเพียน ความเร็วในการส่ งข้อมูลอยู่
ในช่วง 200 ล้านบิตต่อวินาทีจนถึงมากกว่า 500 ล้านบิตต่อวินาที

รู ปแสดงสายโคแอคเชียล

ใยแก้ วนํ าแสง เป็ นแก้วไฟเบอร์ จะใช้พลส์ของแสงในการส่ งข้อมูล ข้อดีบางประการของเส้นใยแสงทีเหนือกว่าสาย
ั
โลหะก็คือมีการสู ญเสี ยในการส่ งน้อยและมีอิสรภาพจากคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าและมีความเร็ วในการส่ งรวดเร็วมากถึงล้าน
ล้านบิตต่อวินาที เราสามารถใช้ความยาวคลืนทีแตกต่างของแสงทีจะเพิ มจํานวนของข้อความทีถูกส่ งผ่านสายเคเบิลใยแก้ว
นําแสงพร้อมกันในเส้นเดียวกัน
เทคโนโลยีไร้ สาย
'ไมโครเวฟบนผิ วโลก - การสื อสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื องส่ งและเครื องรับสัญญาณจากสถานีบนผิวโลก
ทีมีลกษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพืนดินอยูในช่วงกิกะเฮิรตซ์ทีตํา ซึ งจํากัดการสื อสารทังหมดด้วยเส้นสายตา
ั
่
เท่านัน สถานีทวนสัญญาณมีระยะห่างประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์)
ดาวเทียมสื อสาร - การสื อสารดาวเทียมผ่านทางคลืนวิทยุไมโครเวฟทีไม่ได้เบียงเบนโดยชันบรรยากาศของโลก
ดาวเทียมจะถูกส่ งไปประจําการในอวกาศ ทีมักจะอยูในวงโคจร geosynchronous ที 35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือ
่
เส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลกนีมีความสามารถในการรับและถ่ายทอดสัญญาณเสี ยง, ข้อมูลและทีวี
ระบบเซลลูลาร์ และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสื อสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่งภูมิภาคทีครอบคลุมออกเป็ น
พืนทีทางภูมิศาสตร์ หลายพืนที แต่ละพืนทีมีเครื องส่ งหรื ออุปกรณ์เสาอากาศถ่ายทอดสัญญาณวิทยุพลังงานตําเพือถ่ายทอด
สัญญาณเรี ยกจากพืนทีหนึงไปยังอีกพืนทีหนึงข้างหน้า
เทคโนโลยีวิทยุและการแพร่ กระจายสเปกตรั ม - เครื อข่ายท้องถิ นไร้สายจะใช้เทคโนโลยีวิทยุความถีสู งคล้ายกับ
โทรศัพท์มือถือดิจิทลและเทคโนโลยีวิทยุความถีตํา. LAN ไร้สายใช้เทคโนโลยีการแพร่ กระจายคลืนความถีเพือการสื อสาร
ั
ระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพืนทีจํากัด. IEEE 802.11 กําหนดคุณสมบัติทวไปของเทคโนโลยีคลืนวิทยุไร้สายมาตรฐาน
ั
เปิ ดทีรู ้จกกันคือ Wifi
ั
การสื อสารอินฟราเรด สามารถส่ งสัญญาณระยะทางสันๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลายกรณี ส่วนใหญ่ การส่ งแสงจะ
ใช้แบบเส้นสายตา ซึ งจํากัดตําแหน่งการติดตังของอุปกรณ์ การสื อสาร
เครือข่ ายทัวโลก (global area network หรื อ GAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้สาหรับการสนับสนุนการใช้งานมือถือข้าม
ํ
หลายๆ LAN ไร้สาย หรื อในพืนทีทีดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายทีสําคัญในการสื อสารเคลือนทีคือการส่ งมอบ
การสื อสารของผูใช้จากพืนทีหนึงไปอีกพืนทีหนึง ใน IEEE 802 การส่ งมอบนีเกียวข้องกับความต่อเนืองของ LAN ไร้สาย
้
บนผิวโลก .
ชนิดของเครือข่ าย
ระบบเครื อข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครื อข่าย ซึ งปัจจุบนเครื อข่ายทีรู ้จกกันดีมีอยู่ 6 แบบ ได้แก่
ั
ั
1เครื อข่ายภายใน หรื อ แลน (Local Area Network: LAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกันในพืนทีใกล้เคียงกัน เช่นอยู่
ในห้อง หรื อภายในอาคารเดียวกัน
2เครื อข่ายวงกว้าง หรื อ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกัน ในระยะทางทีห่างไกล
อาจจะเป็ น กิโลเมตร หรื อ หลาย ๆ กิโลเมตร
3เครื อข่ายงานบริ เวณนครหลวง หรื อ แมน (Metropolitan area network : MAN)
4เครื อข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรื อ แคน (Controller area network) : CAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้
ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU)
5เครื อข่ายส่ วนบุคคล หรื อ แพน (Personal area network) : PAN) เป็ นเครื อข่ายระหว่างอุปกรณ์เคลือนทีส่ วนบุคคล เช่น
โน้ตบุ๊ก มือถือ อาจมีสายหรื อไร้สายก็ได้
6เครื อข่ายข้อมูล หรื อ แซน (Storage area network) : SAN) เป็ นเครื อข่าย (หรื อเครื อข่ายย่อย) ความเร็ วสู งวัตถุประสงค์
เฉพาะทีเชือมต่อภายในกับอุปกรณ์จดเก็บข้อมูลชนิดต่างกันด้วยแม่ข่ายข้อมูลสัมพันธ์กนบนคัวแทนเครื อข่ายขนาดใหญ่
ั
ั
ของผูใช้
้
อุปกรณ์ เครือข่ าย
1.เซิ ร์ฟเวอร์ (Server) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องแม่ข่าย เป็ นเครื องคอมพิวเตอร์ หลักในเครื อข่าย ทีทําหน้าทีจัดเก็บ
และให้บริ การไฟล์ขอมูลและทรัพยากรอืนๆ กับคอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ใน เครื อข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ ทีนํามาใช้เป็ น
้
เซิ ร์ฟเวอร์ มกจะเป็ นเครื องทีมีสมรรถนะสู ง และมีฮาร์ ดดิสก์ความจําสู งกว่าคอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ในเครื อข่าย
ั
2.ไคลเอนต์ (Client) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องลูกข่าย เป็ นคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายทีร้องขอ บริ การและเข้าถึง
ไฟล์ขอมูลทีจัดเก็บในเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็ นคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละคนในระบบเครื อข่าย
้
้
3.ฮับ (HUB) หรื อ เรี ยก รี พีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าทีรับส่ งเฟรมข้อมูลทุก
เฟรมทีได้รับจากพอร์ ตใดพอร์ ตหนึง ไปยังพอร์ ตทีเหลือ คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อเข้ากับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้อมูล
ของเครื อข่าย เพราะฉะนันถ้ามีคอมพิวเตอร์ เชือมต่อมากจะทําให้อตราการส่ งข้อมูลลดลง
ั
4.เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครื อข่ายทีทําหน้าทีในเลเยอร์ ที 2 และทําหน้าทีส่ งข้อมูลทีได้รับมาจากพอร์ ตหนึง
ไปยังพอร์ ตเฉพาะทีเป็ นปลายทางเท่านัน และทําให้คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อกับพอร์ ตทีเหลือส่ งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน
ดังนัน อัตราการรับส่ งข้อมูลหรื อแบนด์วิธจึงไม่ขึนอยูกบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบนนิยมเชือมต่อแบบนี มากกว่าฮับเพราะลด
่ ั
ั
ปัญหาการชนกันของข้อมูล
5.เราต์เตอร์ (Router)เป็ นอุปรณ์ทีทําหน้าทีในเลเยอร์ ที 3 เราท์เตอร์ จะอ่านทีอยู่ (Address) ของสถานีปลายทางทีส่ วนหัว
(Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพือทีจะกําหนดและส่ งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์ จะมีตวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรี ยกว่า เราติ งเท
ั
เบิ ล (Routing Table) หรื อตารางจัดเส้นทางนอกจากนียังส่ งข้อมูลไปยังเครื อข่ายทีให้โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet
Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนียังเชือมต่อกับเครื อข่ายอืนได้ เช่น เครื อข่าย
อินเทอร์ เน็ต
6.บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ทีมักจะใช้ในการเชือมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทําให้สามารถขยายขอบเขต
ของ LAN ออกไปได้เรื อยๆ โดยทีประสิ ทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนืองจากการติดต่อของเครื องทีอยูใน
่
เซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่ งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อืน และเนืองจากบริ ดจ์เป็ นอุปกรณ์ทีทํางานอยูใน
่
ระดับ Data Link Layer จึงทําให้สามารถใช้ในการเชือมต่อเครื อข่ายทีแตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น
ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็ นต้น
7. เกตเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ฮาร์ ดแวร์ ทีเชือมต่อเครื อข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชือมต่อ
เครื อข่าย ทีเป็ นคอมพิวเตอร์ ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็ นต้น
อ้ างอิง
http://saithammachannetwork.blogspot.com/
http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html
http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/computer/network/net_network1.htm

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kalib Karn
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kru.Mam Charoensansuay
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kru.Mam Charoensansuay
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4Chutikan Mint
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลนายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Happy Sara
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 

What's hot (19)

รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
Network001
Network001Network001
Network001
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 

Similar to เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. รายงาน เรื อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทําโดย นางสาว ศิริวรรณ นอบน้อม ม.4/1 เลขที22 เสนอ คุณครู จุฑารัตน์ ใจบุญ โรงเรียน รัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
  • 2. คํานํา รายงานเรื องนีเป็ นส่ วนหนึงของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี สร้างขึนเพือให้ผูทีสนใจเนือหาเกียวกับเรื อง ้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ความหมายของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายชนิดต่างๆ การเชือมโยงเครื อข่าย เทคโนโลยีไร้สาย ชนิดของเครื อข่าย อุปกรณ์เครื อข่าย ไว้เป็ นแนวทางในการศึกษา หวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเรื องนีจะมีประโยชน์กบคนทีสนใจไม่มากก็นอย หากผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ทีนี ั ้ ด้วย
  • 3. สารบัญ เรือง หน้ า 1.ความหมายของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 1 2.ระบบเครื อข่ายชนิดต่างๆ 2 3.การเชือมโยงเครื อข่าย 5 4.เทคโนโลยีไร้สาย 7 5.ชนิดของเครื อข่าย 8 6.อุปกรณ์เครื อข่าย 9
  • 4. ความหมายของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network ) หมายถึง การเชือมต่อคอมพิวเตอร์ ตงแต่ 2 เครื องขึนไปเข้าด้วยกัน ั ด้วยสายเคเบิล หรื อสื ออืนๆ ทําให้คอมพิวเตอร์ สามารถรับส่ งข้อมูลแก่กนและกันได้ในกรณี ทีเป็ นการเชือมต่อระหว่าง ั เครื องคอมพิวเตอร์ หลายๆ เครื องเข้ากับเครื องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ทีเป็ นศูนย์กลาง เราเรี ยกคอมพิวเตอร์ ทีเป็ นศูนย์กลาง นีว่า โฮสต์ (Host) และเรี ยกคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กทีเข้ามาเชือมต่อว่า ไคลเอนต์ (Client)ระบบเครื อข่าย (Network) จะ เชือมโยงคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกันเพือการติดต่อสื อสาร เราสามารถส่ งข้อมูลภายในอาคาร หรื อข้ามระหว่างเมืองไปจนถึงอีก ซี กหนึงของโลก ซึ งข้อมูลต่างๆ อาจเป็ นทังข้อความ รู ปภาพ เสี ยง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ วแก่ผูใช้ ซึ งความสามารถ ้ เหล่านีทําให้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีความสําคัญ และจําเป็ นต่อการใช้งานในแวดวงต่างๆ ทําให้ใช้ทรัพยากร ของเครื องคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้ (Resources Sharing) ซึ งเป็ นการช่วย ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ ม ความสะดวก ในการใช้งาน เช่น การใช้พืนทีบนฮาร์ ดดิสก์ และเครื องพิมพ์ร่วมกันสามารถบริ หารจัดการการทํางานของ คอมพิวเตอร์ ทุกเครื อง ได้จากศูนย์กลาง (Centralized Management) เช่น สร้างเวิร์กกรุ ป กําหนดสิ ทธิในการเข้าถึงข้อมูล และสามารถทําการ สํารองข้อมูล ของแต่ละเครื องได้ สามารถทําการสื อสาร ภายในเครื อข่าย (Communication) ได้หลาย รู ปแบบ เช่น อีเมล์, แชท (Chat), การประชุมทางไกล (Teleconference), และ การประชุมทางไกล แบบเห็นภาพ (Video Conference)มีระบบรักษาความปลอดภัย ของข้อมูล บนเครื อข่าย (Network Security) เช่นสามารถ ระบุผูทีมีสิทธิเข้าถึง ้ ข้อมูล ในระดับต่างๆ ป้ องกันผูทีไม่ได้รับอนุญาติ เข้าถึงข้อมูล และให้การคุมครอง ข้อมูลทีสําคัญ ให้ความบันเทิงไม่รู้จบ ้ ้ (Entertainment) เช่น สามารถสนุกกับ การเล่นเกมส์ แบบผูเ้ ล่นหลายคน หรื อทีเรี ยกว่า มัลติ เพลเยอร์ (Multi Player) ทีกําลัง เป็ นทีนิยมกันอยูในเวลานีได้ใช้งานอินเทอร์ เน็ตร่ วมกัน (Internet Sharing) เพียงต่อเข้าอินเทอร์ เน็ต จากเครื องหนึงใน ่ เครื อข่าย โดยมีแอคเคาท์เพียงหนึงแอคเคาท์ ก็ทาให้ผูใช้อีกหลายคน ในเครื อข่ายเดียวกัน สามารถใช้งานอินเทอร์ เน็ตได้ ํ ้ เสมือนกับมีหลายแอคเคาท์
  • 5. ระบบเครือข่ ายชนิดต่ างๆ ระบบเครื อข่าย สามารถเรี ยกได้ หลายวิธี เช่นตามรู ปแบบ การเชือมต่อ (Topology) เช่น แบบบัส (bus), แบบดาว (star), แบบวงแหวน (ring) หรื อจะเรึ ยกตามขนาด หรื อระยะทางของระบบก็ได้ เช่นแลน (LAN), แวน (WAN), แมน (MAN) นอกจากนี ระบบเครื อข่าย ยังสามารถ เรี ยกได้ตาม เทคโนโลยีทีไช้ ในการส่ งผ่านข้อมูล เช่น เครื อข่าย TCP/IP, เครื อข่าย IPX, เครื อข่าย SNA หรื อเรี ยกตาม ชนิดของข้อมูล ทีมีการส่ งผ่าน เช่นเครื อข่าย เสี ยงและวิดีโอ เรายังสามารถจําแนกเครื อข่ายได้ ตามกลุ่มทีใช้เครื อข่าย เช่น อินเตอร์ เน็ต (Internet), เอ็กซ์ตร้าเน็ต (Extranet), อินทราเน็ต (Intranet), เครื อข่ายเสมือน (Virtual Private Network) หรื อเรี ยก ตามวิธีการ เชือมต่อทางกายภาพ เช่นเครื อข่าย เส้นใยนําแสง, เครื อข่ายสายโทรศัพท์, เครื อข่ายไร้สาย เป็ นต้น จะเห็นได้ว่า เราสามารถจําแนก ระบบเครื อข่าย ได้ หลากหลายวิธี ตามแต่ว่า เราจะพูดถึง เครื อข่ายนันในแง่มุมใด เราจําแนก ระบบเครื อข่าย ตามวิธีทีนิยมกัน 3 วิธีคือ รู ปแบบ การเชือมต่อ (Topology), รู ปแบบการสื อสาร (Protocol), และ สถาปัตยกรรมเครื อข่าย (Architecture) แบบบัส (bus) ในระบบเครื อข่าย โทโปโลยีแบบ BUS นับว่าเป็ นแบบโทโปโลยีทีได้รับความนิยมใช้กนมากทีสุ ดมา ตังแต่อดีตจนถึง ั ปัจจุบน เหตุผลอย่างหนึงก็คือสามารถติดตังระบบ ดูแลรักษา และติดตังอุปกรณ์เพิ มเติมได้ง่าย ไม่ตองใช้เทคนิคทียุ่งยาก ั ้ ซับซ้อน ลักษณะการทํางานของเครื อข่ายโทโปโลยีแบบ BUS คืออุปกรณ์ทุกชิ นหรื อโหนดทุกโหนด ในเครื อข่ายจะต้อง เชือมโยงเข้ากับสายสื อสารหลัก ทีเรี ยกว่า "บัส" (BUS) เมือโหนดหนึงต้องการจะส่ งข้อมูลไปให้ยงอีกโหนด หนึงภายใน ั เครื อข่าย ข้อมูลจากโหนดผูส่ง จะถูกส่ งเข้าสู่ สายบัส ในรู ปของแพ็กเกจ ซึ งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบด้วยตําแหน่งของ ผูส่ง ้ ้ และผูรับ และข้อมูล การสื อสารภายในสายบัส จะเป็ นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทัง 2 ด้านของบัส โดยตรงปลายทัง 2 ้ ด้านของบัสจะมีเทอร์ มิเนเตอร์ (Terminator) ทําหน้าทีดูดกลืนสัญญาณ เพือป้ องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนันสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เป็ นการป้ องกันการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลอืน ๆ ทีเดินทางอยูบนบัส สัญญาณข้อมูลจากโหนดผูส่ง เมือ ่ ้ เข้าสู่ บสจะไหลผ่านไปยังปลายทัง 2 ข้างของบัส แต่ละโหนดทีเชือมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูว่าตําแหน่งปลายทาง ทีมา ั กับแพ็กเกจข้อมูลนัน ตรงกับตําแหน่งของตนหรื อไม่ ถ้าใช่กจะรับข้อมูลนันเข้ามาสู่ โหนดตน แต่ถาไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้ ็ ้ สัญญาณข้อมูลนันผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครื อข่ายแบบ BUS นันสามารถรับรู ้สญญาณข้อมูลได้ แต่ ั จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านัน ทีจะรับข้อมูลนันไปได้
  • 6. แบบดาว (star) เป็ นหลักการส่ งและรับข้อมูล เหมือนกับระบบโทรศัพท์ การควบคุมจะทําโดยสถานีศูนย์กลาง ทําหน้าทีเป็ นตัวสวิตชิ ง ข้อมูลทังหมดในระบบเครื อข่าย จะต้องผ่านเครื องคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลาง (Center Comtuper) เป็ นการเชือมโยงการ ติดต่อสื อสาร ทีมีลกษณะคล้ายกับรู ปดาว (STAR) หลายแฉก โดยมีศูนย์กลางของดาว หรื อฮับ เป็ นจุดผ่านการติดต่อกัน ั ระหว่างทุกโหนดในเครื อข่าย ศูนย์กลาง จึงมีหน้าทีเป็ นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื อสารทังหมด นอกจากนีศูนย์กลางยังทํา หน้าที เป็ นศูนย์กลางข้อมูลอีกด้วย การสื อสารภายในเครื อข่ายแบบ STAR จะเป็ นแบบ 2 ทิศทาง โดยจะอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านัน ทีสามารถส่ ง ข้อมูลเข้าสู่ เครื อข่ายได้ จึงไม่มีโอกาสทีหลายๆ โหนดจะส่ งข้อมูลเข้าสู่ เครื อข่ายในเวลาเดียวกัน เพือป้ องกันการชนกันของ สัญญาณข้อมูล เครื อข่ายแบบ STAR เป็ นโทโปโลยี อีกแบบหนึง ทีเป็ นทีนิยมใช้กนในปัจจุบน ข้อดีของเครื อข่ายแบบ ั ั STAR คือการติดตังเครื อข่ายและการดูแลรักษาทําได้ง่าย หากมีโหนดใดเกิดความเสี ยหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และ ศูนย์กลางสามารถตัดโหนดนันออกจากการสื อสาร ในเครื อข่ายได้
  • 7. แบบวงแหวน (ring) เครื อข่ายแบบ RING เป็ นการส่ งข่าวสารทีส่ งผ่านไปในเครื อข่าย ข้อมูลข่าวสารจะไหลวนอยูในเครื อข่าย ไปในทิศทางเดียว ่ เหมือนวงแหวน หรื อ RING นันเอง โดยไม่มีจุดปลาย หรื อเทอร์ มิเนเตอร์ เช่นเดียวกับเครื อข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนด หรื อสเตชัน จะมีรีพีตเตอร์ ประจําโหนด 1 เครื อง ซึ งจะทําหน้าทีเพิมเติมข่าวสารทีจําเป็ นต่อการสื อสาร ในส่ วนหัวของ แพ็กเกจข้อมูล สําหรับการส่ งข้อมูลออกจากโหนด และมีหน้าทีรับแพ็กเกจข้อมูล ทีไหลผ่านมาจากสายสื อสาร เพือ ตรวจสอบว่าเป็ นข้อมูล ทีส่ งมาให้โหนดตนหรื อไม่ ถ้าใช่กจะคัดลอกข้อมูลทังหมดนัน ส่ งต่อไปให้กบโหนดของตน แต่ถา ็ ั ้ ไม่ใช่กจะปล่อยข้อมูลนันไปยังรี พีตเตอร์ ของโหนดถัดไป ็ โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology) เป็ นเครื อข่ายการสื อสารข้อมูลแบบผสมระหว่างเครื อข่ายแบบใดแบบหนึงหรื อมากกว่า เพือความถูกต้องแน่นอน ทังนี ขึนอยูกบความต้องการและภาพรวมขององค์กร ่ ั
  • 8. การเชือมโยงเครือข่ าย สื อกลางการสื อสารทีใช้ในการเชือมโยงอุปกรณ์เพือสร้างเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยสายเคเบิลไฟฟ้ า (HomePNA, สายไฟฟ้ าสื อสาร, G.hn), ใยแก้วนําแสง และคลืนวิทยุ (เครื อข่ายไร้สาย) ในโมเดล OSI สื อเหล่านีจะถูก กําหนดให้อยูในเลเยอร์ ที 1 และที 2 หรื อชันกายภาพและชันเชือมโยงข้อมูล ่ ครอบครัวของสื อการสื อสารทีถูกพัฒนาอย่างกว้างขวางและถูกนํามาใช้ในเทคโนโลยีเครื อข่ายท้องถิ น (LAN) เรี ยกว่า อี เธอร์ เน็ต มาตรฐานของสื อกลางและของโพรโทคอลทีช่วยในการสื อสารระหว่างอุปกรณ์ในเครื อข่ายอีเธอร์เน็ตถูกกําหนด โดยมาตรฐาน IEEE 802. อีเธอร์ เน็ตในโลกไซเบอร์ มีทงเทคโนโลยีของ LAN แบบใช้สายและแบบไร้สาย อุปกรณ์ของ ั LAN แบบใช้สายจะส่ งสัญญาณผ่านสื อกลางทีเป็ นสายเคเบิล อุปกรณ์ LAN ไร้สายใช้คลืนวิทยุหรื อสัญญาณอินฟราเรดเป็ น สื อกลางในการส่ งผ่านสํญญาณ เทคโนโลยีแบบใช้ สายเทคโนโลยีแบบใช้ สายต่ อไปนีเรียงลําดับตามความเร็วจากช้ าไปเร็วอย่ างหยาบๆ รูปแสดงสาย UTP สายคู่บิดเป็ นสื อทีใช้กนอย่างแพร่ หลายทีสุ ดสําหรับการสื อสารโทรคมนาคมทังหมด สายคู่บิดประกอบด้วยกลุ่ม ั ของสายทองแดงหุ ้มฉนวนทีมีการบิดเป็ นคู่ๆ สายโทรศัพท์ธรรมดาทีใช้ภายในบ้านทัวไปประกอบด้วยสายทองแดงหุม ้ ฉนวนเพียงสองสายบิดเป็ นคู่ สายเคเบิลเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (แบบใช้สายอีเธอร์ เน็ตตามทีกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE 802.3) จะเป็ นสายคู่บิดจํานวน 4 คู่สายทองแดงทีสามารถใช้สาหรับการส่ งทังเสี ยงและข้อมูล การใช้สายไฟสองเส้นบิดเป็ น ํ เกลียวจะช่วยลด crosstalk และการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าระหว่างสายภายในเคเบิลชุดเดียวกัน ความเร็วในการส่ งอยู่ ในช่วง 2 ล้านบิตต่อวินาทีถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที สายคู่บิดมาในสองรู ปแบบคือคู่บิดไม่มีตวนําป้ องกัน(การรบกวนจาก ้ การเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าภายนอก) (unshielded twisted pair หรื อ UTP) และคู่บิดมีตวนําป้ องกัน (shielded twisted pair ั หรื อ STP) แต่ละรู ปแบบออกแบบมาหลายอัตราความเร็ วในการใช้งานในสถานการณ์ต่างกัน
  • 9. สายโคแอคเชี ยลถูกใช้อย่างแพร่ หลายสําหรับระบบเคเบิลทีวี, ในอาคารสํานักงานและสถานทีทํางานอืนๆ ใน เครื อข่ายท้องถิ น สายโคแอคประกอบด้วยลวดทองแดงหรื ออะลูมิเนียมเส้นเดียวทีล้อมรอบด้วยชันฉนวน (โดยปกติจะเป็ น วัสดุทีมีความยืดหยุนกับไดอิเล็กทริ กคงทีสู ง) และล้อมรอบทังหมดด้วยตัวนําอีกชันหนึงเพือป้ องกันการเหนียวนํา ่ แม่เหล็กไฟฟ้ าจากภายนอก ฉนวนไดอิเล็กทริ กจะช่วยลดสัญญาณรบกวนและความผิดเพียน ความเร็วในการส่ งข้อมูลอยู่ ในช่วง 200 ล้านบิตต่อวินาทีจนถึงมากกว่า 500 ล้านบิตต่อวินาที รู ปแสดงสายโคแอคเชียล ใยแก้ วนํ าแสง เป็ นแก้วไฟเบอร์ จะใช้พลส์ของแสงในการส่ งข้อมูล ข้อดีบางประการของเส้นใยแสงทีเหนือกว่าสาย ั โลหะก็คือมีการสู ญเสี ยในการส่ งน้อยและมีอิสรภาพจากคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าและมีความเร็ วในการส่ งรวดเร็วมากถึงล้าน ล้านบิตต่อวินาที เราสามารถใช้ความยาวคลืนทีแตกต่างของแสงทีจะเพิ มจํานวนของข้อความทีถูกส่ งผ่านสายเคเบิลใยแก้ว นําแสงพร้อมกันในเส้นเดียวกัน
  • 10. เทคโนโลยีไร้ สาย 'ไมโครเวฟบนผิ วโลก - การสื อสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื องส่ งและเครื องรับสัญญาณจากสถานีบนผิวโลก ทีมีลกษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพืนดินอยูในช่วงกิกะเฮิรตซ์ทีตํา ซึ งจํากัดการสื อสารทังหมดด้วยเส้นสายตา ั ่ เท่านัน สถานีทวนสัญญาณมีระยะห่างประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์) ดาวเทียมสื อสาร - การสื อสารดาวเทียมผ่านทางคลืนวิทยุไมโครเวฟทีไม่ได้เบียงเบนโดยชันบรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่ งไปประจําการในอวกาศ ทีมักจะอยูในวงโคจร geosynchronous ที 35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือ ่ เส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลกนีมีความสามารถในการรับและถ่ายทอดสัญญาณเสี ยง, ข้อมูลและทีวี ระบบเซลลูลาร์ และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสื อสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่งภูมิภาคทีครอบคลุมออกเป็ น พืนทีทางภูมิศาสตร์ หลายพืนที แต่ละพืนทีมีเครื องส่ งหรื ออุปกรณ์เสาอากาศถ่ายทอดสัญญาณวิทยุพลังงานตําเพือถ่ายทอด สัญญาณเรี ยกจากพืนทีหนึงไปยังอีกพืนทีหนึงข้างหน้า เทคโนโลยีวิทยุและการแพร่ กระจายสเปกตรั ม - เครื อข่ายท้องถิ นไร้สายจะใช้เทคโนโลยีวิทยุความถีสู งคล้ายกับ โทรศัพท์มือถือดิจิทลและเทคโนโลยีวิทยุความถีตํา. LAN ไร้สายใช้เทคโนโลยีการแพร่ กระจายคลืนความถีเพือการสื อสาร ั ระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพืนทีจํากัด. IEEE 802.11 กําหนดคุณสมบัติทวไปของเทคโนโลยีคลืนวิทยุไร้สายมาตรฐาน ั เปิ ดทีรู ้จกกันคือ Wifi ั การสื อสารอินฟราเรด สามารถส่ งสัญญาณระยะทางสันๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลายกรณี ส่วนใหญ่ การส่ งแสงจะ ใช้แบบเส้นสายตา ซึ งจํากัดตําแหน่งการติดตังของอุปกรณ์ การสื อสาร เครือข่ ายทัวโลก (global area network หรื อ GAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้สาหรับการสนับสนุนการใช้งานมือถือข้าม ํ หลายๆ LAN ไร้สาย หรื อในพืนทีทีดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายทีสําคัญในการสื อสารเคลือนทีคือการส่ งมอบ การสื อสารของผูใช้จากพืนทีหนึงไปอีกพืนทีหนึง ใน IEEE 802 การส่ งมอบนีเกียวข้องกับความต่อเนืองของ LAN ไร้สาย ้ บนผิวโลก .
  • 11. ชนิดของเครือข่ าย ระบบเครื อข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครื อข่าย ซึ งปัจจุบนเครื อข่ายทีรู ้จกกันดีมีอยู่ 6 แบบ ได้แก่ ั ั 1เครื อข่ายภายใน หรื อ แลน (Local Area Network: LAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกันในพืนทีใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ ในห้อง หรื อภายในอาคารเดียวกัน 2เครื อข่ายวงกว้าง หรื อ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกัน ในระยะทางทีห่างไกล อาจจะเป็ น กิโลเมตร หรื อ หลาย ๆ กิโลเมตร 3เครื อข่ายงานบริ เวณนครหลวง หรื อ แมน (Metropolitan area network : MAN) 4เครื อข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรื อ แคน (Controller area network) : CAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU) 5เครื อข่ายส่ วนบุคคล หรื อ แพน (Personal area network) : PAN) เป็ นเครื อข่ายระหว่างอุปกรณ์เคลือนทีส่ วนบุคคล เช่น โน้ตบุ๊ก มือถือ อาจมีสายหรื อไร้สายก็ได้ 6เครื อข่ายข้อมูล หรื อ แซน (Storage area network) : SAN) เป็ นเครื อข่าย (หรื อเครื อข่ายย่อย) ความเร็ วสู งวัตถุประสงค์ เฉพาะทีเชือมต่อภายในกับอุปกรณ์จดเก็บข้อมูลชนิดต่างกันด้วยแม่ข่ายข้อมูลสัมพันธ์กนบนคัวแทนเครื อข่ายขนาดใหญ่ ั ั ของผูใช้ ้
  • 12. อุปกรณ์ เครือข่ าย 1.เซิ ร์ฟเวอร์ (Server) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องแม่ข่าย เป็ นเครื องคอมพิวเตอร์ หลักในเครื อข่าย ทีทําหน้าทีจัดเก็บ และให้บริ การไฟล์ขอมูลและทรัพยากรอืนๆ กับคอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ใน เครื อข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ ทีนํามาใช้เป็ น ้ เซิ ร์ฟเวอร์ มกจะเป็ นเครื องทีมีสมรรถนะสู ง และมีฮาร์ ดดิสก์ความจําสู งกว่าคอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ในเครื อข่าย ั 2.ไคลเอนต์ (Client) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องลูกข่าย เป็ นคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายทีร้องขอ บริ การและเข้าถึง ไฟล์ขอมูลทีจัดเก็บในเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็ นคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละคนในระบบเครื อข่าย ้ ้ 3.ฮับ (HUB) หรื อ เรี ยก รี พีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าทีรับส่ งเฟรมข้อมูลทุก เฟรมทีได้รับจากพอร์ ตใดพอร์ ตหนึง ไปยังพอร์ ตทีเหลือ คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อเข้ากับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้อมูล ของเครื อข่าย เพราะฉะนันถ้ามีคอมพิวเตอร์ เชือมต่อมากจะทําให้อตราการส่ งข้อมูลลดลง ั 4.เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครื อข่ายทีทําหน้าทีในเลเยอร์ ที 2 และทําหน้าทีส่ งข้อมูลทีได้รับมาจากพอร์ ตหนึง ไปยังพอร์ ตเฉพาะทีเป็ นปลายทางเท่านัน และทําให้คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อกับพอร์ ตทีเหลือส่ งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนัน อัตราการรับส่ งข้อมูลหรื อแบนด์วิธจึงไม่ขึนอยูกบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบนนิยมเชือมต่อแบบนี มากกว่าฮับเพราะลด ่ ั ั ปัญหาการชนกันของข้อมูล 5.เราต์เตอร์ (Router)เป็ นอุปรณ์ทีทําหน้าทีในเลเยอร์ ที 3 เราท์เตอร์ จะอ่านทีอยู่ (Address) ของสถานีปลายทางทีส่ วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพือทีจะกําหนดและส่ งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์ จะมีตวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรี ยกว่า เราติ งเท ั เบิ ล (Routing Table) หรื อตารางจัดเส้นทางนอกจากนียังส่ งข้อมูลไปยังเครื อข่ายทีให้โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนียังเชือมต่อกับเครื อข่ายอืนได้ เช่น เครื อข่าย อินเทอร์ เน็ต 6.บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ทีมักจะใช้ในการเชือมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทําให้สามารถขยายขอบเขต ของ LAN ออกไปได้เรื อยๆ โดยทีประสิ ทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนืองจากการติดต่อของเครื องทีอยูใน ่ เซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่ งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อืน และเนืองจากบริ ดจ์เป็ นอุปกรณ์ทีทํางานอยูใน ่ ระดับ Data Link Layer จึงทําให้สามารถใช้ในการเชือมต่อเครื อข่ายทีแตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็ นต้น 7. เกตเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ฮาร์ ดแวร์ ทีเชือมต่อเครื อข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชือมต่อ เครื อข่าย ทีเป็ นคอมพิวเตอร์ ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็ นต้น