SlideShare a Scribd company logo
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษารายงานIS ประเภทการศึกษา รวบรวมข้อมูล เรื่อง“20 บุคคลในวงการแพทย์สากล”
เล่มนี้สาเร็จลุล่วงโดยได้รับความอนุเคราะห์อย่างดี จากครูสุภัตรา
มาทามาซึ่งได้กรุณาให้คาปรึกษาแนะนาแนวคิดวิธีการและเสียสละเวลาอันมีค่าแก้ไขข้อบกพร่องของเ
นื้อหาและสานวนภาษาด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่ง คณะผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ณ
โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารโรงเรียนน้าปาดชนูปถัมภ์คณะครูทุกท่านที่ได้ให้การสนับสนุนใ
นการดาเนินการศึกษารายงานเล่มนี้จนสาเร็จด้วยดี
นางสาวฉัตราภรณ์ สุขชีพ
ผู้จัดทา
ข
สารบัญ
เรื่อง ...........................................................................................................................................หน้า
บทคัดย่อ....................................................................................................................................... ก
กิตติกรรมประกาศ.........................................................................................................................ข
คานา............................................................................................................................................. ค
สารบัญ......................................................................................................................................... ง
สารบัญรูปภาพ ............................................................................................................................ จ
บทที่ 1 บทนา ........................................................................................................................... 1
ที่มาและความสาคัญ........................................................................................................ 1
วัตถุประสงค์....................................................................................................................2
ขอบเขตของการศึกษา.................................................................................................... 2
นิยามศัพท์เฉพาะ............................................................................................................2-3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................................. 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................4-31
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินโครงการ……………………………………………………..32
บทที่4 ผลการศึกษา …………………………………………………………………….…….. 33-35
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ.....................................................................................36
บรรณานุกรม............................................................................................................................. 37
ค
บทคัดย่อ
เรื่องราวเกี่ยวกับการค้นพบวิธีรักษาโรคใหม่ๆเป็นเรื่องที่น่าสนใจชวนติดตามมากที่สุดเรื่องห
นึ่งในประวัติศาสตร์แห่งมนุษยชาติ
บุคคลสาคัญในวงการแพทย์ทั้งชายและหญิงบุคคลเหล่านี้ช่วยขยายความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับร่างกายและจิตใจของมนุษย์ตลอดเวลาหลายุคหลายสมัยที่ผ่านมา
บุคคลในวงการแพทย์ทั้งชายและหญิงจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นแพทย์พยาบาล เภสัชกร ผู้เชี่ยวชาญ
ด้านยา หรือสมุนไพร นางผดุงครรภ์ และอีกหลายๆคนได้มีส่วนร่วมในการคิดค้นหาหน
ทางต่อต้านเชื้อโรค และในบรรดาบุคคลทางการแพทย์หลายคนมีเรื่องราวที่น่าสนใจเป็นพิเศษ
การจัดทารายงาน เรื่อง “ ยี่สิบบุคคลในวงการแพทย์สากล ” ครั้งนี้
จัดทาขึ้นเป็นผลงานการศึกษาประจาวิชารายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS)
เพื่อให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับบุคคลทางการแพทย์ผู้คิดค้น และพัฒนาทางวงการการรักษาทางการแพทย์
และยา เข้ามาศึกษาหาความรู้ เพื่อเป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ที่สนใจแล้วนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
ศึกษาถึงชีวประวัติ แนวคิด และผลงาน ของบุคคลในวงการแพทย์
และมีแรงบันดาลใจในการประกอบอาชีพทางการแพทย์ โดยมีจุดประสงค์
เพื่อเป็นที่เผยแพร่ชีวประวัติ “ยี่สิบบุคคลในวงการแพทย์สากล” แก่ผู้ที่สนใจ เพื่อให้เกิดความรู้
ความเข้าใจนอกจากนี้ยังสามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในโอกาส ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน
และสร้างสรรค์ ต่อยอดได้อีกด้วย
ก
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ถ้าเริ่มนับตั้งแต่เมื่อครั้งเกิดมนุษย์ขึ้นครั้งแรกมาจนถึงปัจจุบัน จะพบว่าตลอดระยะเวลา
อันยาวนานนั้นมนุษย์ที่อาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันก็ได้พัฒนาตัวเองขึ้นเรื่อยๆ
และสิ่งหนึ่งที่มีวิวัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมๆกับมนุษย์ก็คือ "การแพทย์" การแพทย์เปรียบเสมือน
เพื่อนคนหนึ่งที่เติบโตมาพร้อมกับมนุษย์ในอดีตที่มนุษย์ยังไม่ค่อยเจริญนัก พวกเขายังไม่มีความรู้
ทางการแพทย์เลย แต่ในปัจจุบันเมื่อมนุษย์เจริญขึ้นมากก็ทาให้การแพทย์นั้นก้าวหน้าได้
เช่นเดียวกันถ้าจะมองดีๆก็จะพบว่าการแพทย์ของไทยเริ่มนับจากศูนย์แล้วก็ค่อยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
คาถามที่ว่า “การแพทย์ของมนุษย์พัฒนาขึ้นมาได้อย่างไร?”
คงจะเป็นจุดชนวนที่ทาให้เราต้องมองย้อนกลับไปในอดีตเพื่อค้นหาคาตอบอีกครั้ง
เป็นไปไม่ได้แน่ว่าอยู่ดีๆการแพทย์ของไทยนั้นก็จะพัฒนาขึ้นมาเอง
จะต้องมีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ช่วยทาให้การแพทย์ของมนุษย์เรานั้นเจริญขึ้น
เรื่องราวเกี่ยวกับการค้นพบวิธีรักษาโรคใหม่ๆเป็นเรื่องที่น่าสนใจชวนติดตามมากที่สุดเรื่องหนึ่ง
ในประวัติศาสตร์แห่งมนุษยชาติ บุคคลสาคัญในวงการแพทย์ทั้งชายและหญิงบุคคลเหล่านี้
ช่วยขยายความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับร่างกายและจิตใจของมนุษย์ตลอดเวลาหลายุคหลายสมัยที่ผ่านมา
บุคคลในวงการแพทย์ทั้งชายและหญิงจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นแพทย์พยาบาล เภสัชกร ผู้เชี่ยวชาญ
ด้าน ยา หรือ สมุนไพร นางผดุงครรภ์ และอีกหลายๆคนได้มีส่วนร่วมในการคิดค้นหาหนทาง
ต่อต้านเชื้อโรค และในบรรดาบุคคลทางการแพทย์หลายคนมีเรื่องราวที่น่าสนใจเป็นพิเศษ
ซึ่งได้รวบรวมเอาไว้ในรายงานการค้นคว้าเล่มนี้
1
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาชีวประวัติ แนวคิด และผลงานของบุคคลในวงการแพทย์
2. เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ มาศึกษาและค้นคว้า
3.สามารถต่อยอดสร้างสรรค์เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ได้
4. เพื่อทาให้เกิดความรู้พื้นฐานของการปฐมพยาบาลในเบื้องต้น
5. เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ประโยชน์สู่สังคม เพื่อส่วนรวม
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับชีวประวัติของบุคคลทางการแพทย์ทั้งยี่สิบคน ปรัชญาการดาเนินชีวิต
และแนวคิดในการคิดค้นเครื่องมือทางการแพทย์วิธีการรักษา และยารักษาโรค
รวมทั้งผลงานที่ผ่านมาและถูกศึกษาต่อมาสืบเนื่องจนถึงปัจจุบัน
นิยามศัพท์เฉพาะ
ยาที่มีความเสี่ยงสูง หมายถึง ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงกับผู้ป่วย
อย่างมีนัยสาคัญ หรืออาจทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตหากมีการใช้ยาอย่างคลาดเคลื่อน
ซึ่งความคลาดเคลื่อนนี้อาจเกิดขึ้นบ่อยหรือไม่มากนัก แต่ก่อให้เกิดความสูญเสียตามมา
การให้บริการข้อมูลทางยา หมายถึง
การบริการให้คาตอบหรือคาปรึกษาเรื่องเกี่ยวกับยาอย่างถูกต้องแม่นยาและปราศจากอคติ
โดยผู้ให้บริการจะทาค้นคว้าข้อมูลอย่างเป็นระบบ ประเมินค่าข้อมูล ที่ค้นคว้าแล้วอย่างถี่ถ้วน
และนาเสนออย่างไม่มีอคติรวมถึงอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ค้นคว้าด้วย
ชื่อสามัญ หมายถึง ชื่อสามัญทางยา
กลุ่มยา หมายถึง กลุ่มยาจาแนกตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
2
การป้ องกัน หมายถึง มาตรการและกิจกรรมต่างๆ ที่กาหนดขึ้นล่วงหน้า ทั้งทางด้านโครงสร้าง
( Structural Approach) แ ล ะ ที่ มิ ใ ช่ ด้ า น โ ค ร ง ส ร้ า ง (Non Structural Approach)
เพื่อลดหรือควบคุมผลกระทบในทางลบจากสาธารณภัย
การลดผลกระทบ หมายถึง กิจกรรมหรือวิธีการต่างๆ เพื่อหลีกเลี่ยงและลดผลกระทบทางลบ
จากสาธารณภัย และยังหมายถึงการลดและป้ องกันมิให้เกิดเหตุหรือลดโอกาสที่อาจก่อให้เกิดสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม หมายถึง มาตรการและกิจกรรมที่ดาเนินการล่วงหน้าก่อนเกิดสาธารณ-
ภั ย เพื่ อ เต รี ย ม พ ร้ อ ม ก า ร จั ด ก า ร ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ฉุ ก เฉิ น
ให้สามารถรับมือกับผลกระทบจากสาธารณภัยได้อย่างทันการณ์ และมีประสิทธิภาพ
การจัดการในภาวะฉุกเฉิน หมายถึง การจัดตั้งองค์กรและการบริหารจัดการด้านต่างๆ
เพื่ อ รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร จั ด ก า ร ส ถ า น ก า ร ณ์ ฉุ ก เฉิ น ทุ ก รู ป แ บ บ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเตรียมความพร้อมรับมือและการฟื้นฟูบูรณะ
การฟื้นฟูบูรณะ หมายถึง การฟื้นฟูสภาพเพื่อทาให้สิ่งที่ถูกต้องหรือได้รับความเสียหายจาก
ส าธ ารณ ภัยได้รับ ก ารช่ วยเห ลื อ แ ก้ไข ให้ ก ลับ คื น สู่ ส ภ าพ เดิ ม ห รื อ ดี ก ว่าเดิ ม
รวมทั้งให้ผู้ประสบภัยสามารถดารงชีวิตตามสภาพปกติได้โดยเร็ว
หน่วยงานของรัฐ หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ
แต่ไม่หมายความรวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีความรู้ในเรื่องชีวประวัติ แนวคิด และผลงานของบุคคลในวงการแพทย์
2. มีความเข้าใจเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล และ ร่างกายมนุษย์เบื้องต้น
3. รู้โอกาสที่จะนาความรู้ที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์
4. เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ประโยชน์สู่สังคม เพื่อส่วนรวม
5. นาแนวคิดที่ดีไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้
6. มีความรู้พื้นฐาน เพื่อที่จะสามารถเรียนศึกษา ต่อยอดทางกระบวนการคิดได้
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ศึกษาโดยรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานความคิดนา
ไปสู่กรอบการศึกษาค้นคว้าและเป็นข้อมูล ประกอบการศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า
ได้สรุปประเด็นสาคัญจึงนาเสนอตามลาดับหัวข้อและเนื้อหาสาระ ดังต่อไปนี้
ฮิปพอคราทีส
(Hippocrates; ประมาณ พ.ศ. 83-166)
รูป 1 ฮิปพอคราทีส (Hippocrates; ประมาณ พ.ศ. 83-166)
ที่มา www. National Library of Medicine 2006.co. Us
แพทย์ได้ชื่อว่าเป็น "บิดาแห่งการแพทย์ตะวันตก" และต้นตอของ "คาสัตย์สาบานฮิปพอครา-
ทีส (Hippocrates oath) ในจรรยาบรรณแพทย์เกิดที่เกาะโต้ประเทศกรีซ
4
ฮิปพอคราทีสได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในวงการแพทย์รุ่นโบราณ ว่าเป็นผู้รวบรวมเรื่องราว
เกี่ยวกับวิชาการแพทย์ไว้มากกว่า 70 ชิ้นงาน โดยเฉพาะเรื่อง "ฮิปพอคราทีสคอร์ดปั้ม" แต่ในภายหลัง
ก็เป็นที่ทราบกันว่าใน 70 เรื่องนี้มีไม่กี่ชิ้นที่เขียนโดยฮิปพอคราทีสเอง แต่เชื่อว่า
ชิ้นงานทั้งหลายดังกล่าวเกิดจากการสะสมตาราและเอกสารในห้องสมุดของโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่ง
ในสมัยนั้นซึ่งได้มาจากหลายแหล่ง เขียนโดยหลายคนที่มีความเห็นต่างๆ กัน แต่นามารวมผิดๆ ถูกๆ
ภายใต้ชื่อฮิปพอคราทีส
ฮิปพอคราทีส ได้ทาคุณประโยชน์ทางการแพทย์ไว้อย่างใหญ่หลวงโดยการรักษาคนไข้
อย่างมีแบบแผน ผิดกับแพทย์ทั่วไปในสมัยนั้นที่ตั้งตนเป็นผู้มีคาถาอาคมเป็นผู้วิเศษที่เชื่อว่า
การเจ็บป่วยเป็นการถูกลงโทษโดยพระเจ้าต้องรักษาด้วยพิธีกรรม แต่ฮิปพอคราทีสกลับเห็นว่า
เกิด จากสาเหตุทางธรรมชาติ ฮิปพอคราทีสเป็นคนแรกที่ทาระเบียนบันทึกอาการและประวัติของคนไข้
วางกฎเกณฑ์วิธีการปฏิบัติตนของแพทย์กับคนไข้ซึ่งยังคงถือปฏิบัติกันอยู่ถึงปัจจุบัน
อย่างไรก็ดีความสาเร็จของผู้เขียนรวมนิพนธ์ฮิปโปคราเคส ผู้ปฏิบัติวิชาแพทย์แบบฮิปโปคราเคส
และผลงานของฮิปโปคราเคสเองถูกหลอมรวมกันไปอย่างแยกไม่ออก
ทาให้มีข้อมูลตกทอดมาถึงปัจจุบันน้อยมากว่าสิ่งใดกันแน่ที่ฮิปโปคราเคสเป็นผู้คิด เขียน และทาจริงๆ
แม้กระนั้นฮิปโปคราเคส ก็ได้รับการยกย่องเป็นแบบอย่างของการแพทย์ในยุคโบราณ
โดยเฉพาะการเป็นผู้ทาให้เกิดความก้าวหน้าอย่างมากในการศึกษาวิชาแพทย์ทางคลินิกอย่างเป็นระบบ
รวบรวมวิชาแพทย์ คาสอนการแพทย์ในอดีตเอาไว้
และสั่งสอนเวชปฏิบัติแก่แพทย์ผ่านคาปฏิญาณฮิปโปคราเคส รวมนิพนธ์ และงานชิ้นอื่นๆ
คาสัตย์สาบานฮิปพอคราทีส
โดยย่อคือ ณ ที่ใดก็ตามที่ข้าพเจ้าไป ข้าพเจ้าจะทาก็เพื่อประโยชน์ของคนไข้เท่านั้น
ข้าพเจ้าจะไม่ทาให้เกิดความผิดพลาดใดๆ และสิ่งที่ข้าพเจ้าได้ยินได้ฟังระหว่างการรักษาคนไข้
ข้าพเจ้าจะไม่นาไปเปิดเผยต่อบุคคลที่สาม
นอกจากนี้ยังวลีคาคมในการรักษาโรคเชื่อว่าเป็นของฮิปพอคราทีสคือ
"โรคที่สิ้นหวังแล้วก็ต้องรักษาด้วยวิธีสิ้นหวัง"
5
อองรี ดูนองต์
(ฝรั่งเศส: Henri Dunant)
รูป 2 อองรี ดูนองต์ (ฝรั่งเศส: Henri Dunant)
ที่มา Henri Dunant image & some info
ชื่อเต็ม ช็อง อองรี ดูนองต์ (ฝรั่งเศส: Jean Henri Dunant) (8 พฤษภาคม ค.ศ. 1828 - 30 ตุลาคม
ค.ศ. 1910) เป็นนักธุรกิจ และนักช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ชาวสวิส
เขาเป็นผู้ให้กาเนิดคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและสภากาชาดประจาชาติ
เพื่อช่วยเหลิอบรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัยสงครามและภัยพิบัติต่างๆ และได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
ในปี ค.ศ. 1901 ร่วมกับ เฟรเดรีก ปาสซี (ฝรั่งเศส: Frederic Passy)
นายอองรี ดูนองต์ เกิดที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นผู้เคร่งศาสนา
โดยมีความเชื่อตามแนวทางของนิกายคาลวิน และตั้งมั่นในหลักการ "จงรักเพื่อนบ้านของท่าน" ("Love
thy neighbor") เขาได้เดินทางไปทั่วยุโรปเพื่อบรรยายถึงความชั่วร้ายเรื่องความเป็นทาส (อังกฤษ:
slavery) ในปี ค.ศ. 1859 ระหว่างอยู่ที่ประเทศอิตาลี เขาได้ไปที่สนามรบของสงครามแห่งโซลเฟริโน
และได้เห็นทหาร ที่ได้รับบาดเจ็บนับพันคน ถูกปล่อยทิ้งรอความตายในสนามรบตามยถากรรม
โดยไม่ได้รับแม้แต่การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ที่อาจรักษาชีวิตของคนเหล่านี้ได้
6
หลังจากที่เขากลับถึงกรุงเจนีวา เขาได้เขียนบทความเกี่ยวกับประสบการณ์ครั้งนี้ของเขา ในชื่อ Un
Souvenir de Solferino (ความทรงจาแห่งซอล -เฟริโน) ซึ่งได้ตีพิมพ์ในวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862
ในบทความเขาได้พยายามผลักดันให้มีการจัดตั้ง
เครือข่ายนานาชาติของอาสาสมัครเพื่อบรรเทาทุกข์ขึ้น หนังสือของเขาได้รับความสนใจจาก
สภาบริหารประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (อังกฤษ: Switzerland's Federal Council)
และส่งผลให้ประเทศสวิตเซอร์แลนด์สนับสนุนให้มีการประชุมสัมมนานานาชาติขึ้นในปี ค.ศ. 1863
เพื่ออภิปรายถึงแนวความคิดของดูนองต์ที่เขาได้เขียนไว้ในบทความ เก้าบทความ (Nine Articles)
มีประเทศเข้าร่วมการประชุมสัมนาในวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1864 ทั้งหมด 16 ประเทศ
และในจานวนนั้น 12 ประเทศ ได้ให้การสนับสนุนในเนื้อหา ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็น
คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ และอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
นอกจากนี้ อองรี ดูนองต์
ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มฟรีเมสันรีในขณะที่มีการให้รางวัลโนเบลเป็นครั้งแรกนั้น ก็มีข้อโต้แย้งว่า
เขาควรจะได้รับรางวัลนี้หรือไม่[ต้องการอ้างอิง]
เนื่องจากในขณะนั้นองค์กรกาชาดได้ถูกจัดตั้งเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว และบทบาทของ อองรี ดูนองต์
ก็ได้ถูกลืมเลือนไปเช่นกัน ได้มีข้อเสนอให้เขาได้รับรางวัลโนเบลในสาขาแพทยศาสตร์
เนื่องมาจากบทบาทขององค์กรกาชาดในขณะนั้น
ผลการประนีประนอมในท้ายที่สุดได้มีการตัดสินให้เป็นรางวัลร่วมในสาขาสันติภาพ โดยได้รับร่วมกับ
เฟรเดอริก พาสซี ซึ่งเป็นนักต่อสู้เพื่อสันติภาพที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศส และถึงแม้ว่าอองรี ดูนองต์
จะมีชีวิตที่ยากจนในขณะนั้น แต่เขาก็บริจาคเงินรางวัลที่ได้รับทั้งหมดเพื่อการกุศล อองรี
ดูนองต์เสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1910
7
หลุยส์ ปาสเตอร์
(27 ธันวาคม ค.ศ. 1822 - 28 กันยายน ค.ศ. 1895)
รูป 3 หลุยส์ ปาสเตอร์
ที่มา http://www.9engineer.com/scientist/Louis%20Pasteur.htm
หลุยส์ ปาสเตอร์ (ภาษาฝรั่งเศส: [lwi pastœʁ] ; 27 ธันวาคม ค.ศ. 1822 - 28 กันยายน ค.ศ.
1895) นักเคมีและนักจุลชีววิทยา เกิดที่เมืองโดล ประเทศฝรั่งเศส ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัย
เบซากองและมหาวิทยาลัยปารีส ต่อมาได้ดารงตาแหน่งอาจารย์ในสถาบันการศึกษาที่สตราบวร์กลิลล์
และมหาวิทยาลัยปารีส และได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์สาขาเคมีที่มหาวิทยาลัยซอร์บอนน์
ในปี พ.ศ. 2410ปาสเตอร์เป็นผู้แถลงว่าการเน่าและการหมักเกิดจากเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ปาสเตอร์
ได้ค้นพบปรากฏการณ์นี้ในระหว่างการศึกษาว่าเหตุใดเหล้าองุ่นจึงเสียรสขณะบ่ม
แต่เมื่อนาเหล้าองุ่นไปอุ่นให้ร้อนแล้วจึงป้ องกันไม่เหล้าองุ่นกลายเป็นน้าส้มสายชูได้
8
ซึ่งการกระทาลักษณะนี้ต่อมาได้พัฒนาเป็นการฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ (Pasteurization)
การค้นพบนี้ทาให้สาขาวิชาจุลชีววิทยาโดดเด่นก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว
การทดลองที่มีชื่อเสียงของปาสเตอร์เมื่อปี พ.ศ. 2424 ที่พิสูจน์ให้เห็นว่าแกะและวัวที่ได้รับ
การฉีด “วัคซีน” ที่ทาจากเชื้อจุลินทรีย์บาซิลไล
ซึ่งเป็นเป็นสมมติฐานของโรคแอนแทรคที่ถูกทาให้อ่อนจางลงของเขา
สามารถต่อสู้กับโรคระบาดที่มีอันตรายของสัตว์คือโรคแอนแทรคดังกล่าวได้โดยไม่ติดโรค ในปี พ.ศ.
2431 สถาบันปาสเตอร์ได้รับการจัดตั้งขึ้นในกรุงปารีสเพื่อต่อสู้กับโรคพิษสุนัขบ้า
ซึ่งปาสเตอร์ได้ทางานประจาในสถาบันนี้จนถึงแก่กรรม
ปัจจุบัน สถาบันปาสเตอร์ยังคงเป็นสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกที่ยังคงทางานวิจัยงานด้าน
จุลชีววิทยาอยู่ รวมทั้งการค้นพบเชื้อไวรัสเอชไอวี ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเอดส์
พาราเซลซัส
(อังกฤษ: Paracelsus; 11 พฤศจิกายน หรือ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1493 - 24 กันยายน ค.ศ. 1541)
รูป 4 พาราเซลซัส
ที่มา Von den Krankheiten so die Vernunfft Berauben. Basel
พาราเซลซัส มีชื่อเดิมว่า Philippus Areolus Theophrastus Bombastus von Hohenheim
เกิดและเติบโตที่หมู่บ้าน Einsiedeln ประเทศสวิซเซอร์แลนด์ เป็นลูกชายของ วิลฮิม บอมบาสต์
(Wilhelm Bombast von Hohenheim) นักเคมีและฟิสิกส์ กับ หญิงชาวสวิส ในตอนเด็กเขาได้ทางาน
เป็นนักวิเคราะห์ที่เหมือง จนเมื่ออายุได้16 ปี เขาก็ได้เข้าศึกษาต่อด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBasel
9
ภายหลังจากที่ย้ายไปที่ Vienna เขาก็ได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยFerrara
จากการเป็นนักฟิสิกส์เร่ร่อนและช่างขุดแร่ทาให้เขาได้เดินทางไปในหลายๆประเทศทั้งเยอรมนี
ฝรั่งเศส สเปน ฮังการี เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และรัสเซีย
พาราเซลซัสศึกษาวิชาหลายแขนง หนึ่งในนั้นคือดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์เป็นวิชาที่สาคัญในการพัฒนาวิชาการแพทย์ของเขา
หลังจากการศึกษาครั้งนี้เขาได้คิดค้นเครื่องรางของขลังทางดาราศาสตร์สาหรับป้ องกันโรคด้วยใช้สัญลั
กษณ์ 12 นักษัตรโดยแต่สัญลักษณ์ก็จะป้ องกันโรคได้แตกต่างกัน
และเขายังได้ประดิษฐ์อักษรเวทมนตร์เพื่อสลักชื่อเทพลงในเครื่องรางของเขาอีกด้วย
พาราเซลซัสเป็นผู้ริเริ่มนาสารเคมีและแร่ธาตุมาใช้เป็นยารักษาโรค เขาใช้คาว่าซิงค์แทนธาตุสังกะสี
ในปี 1526 โดยมาจากศัพท์เยอรมันซิงค์ที่แปลว่าแหลมคมตามรูปร่างของตัวผลึกสังกะสี
เขาใช้ในการทดลองเพื่อศึกษาร่างกายมนุษย์
นอกจากนี้เขายังมีส่วนรับผิดชอบในการผลิตทิงเจอร์ฝิ่นอีกด้วยด้วยความหยิ่งยโสของพาราเซลซัสเป็น
ที่เลื่องลืออย่างมากทาให้นักฟิสิกส์ทั่วทั้งยุโรปโกรธเกลียดเขา
นั่นทาให้เขาดารงตาแหน่งแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBaselได้ไม่ถึงปี
ในขณะที่มีเพื่อนร่วมงานของเขากล่าวหาว่าเขาเป็นคนเผาตาราแพทย์พื้นเมือง
จากนั้นเขาก็ถูกขับไล่ออกจากเมือง
หลังจากถูกขับออกจากเมืองพาราเซลซัสก็ได้ระเหเร่ร่อนไปยัง ยุโรป แอฟริกา
และเอเชียบางส่วนเพื่อศึกษาความหาความรู้เพิ่มเติม เขาได้แก้ไขตาราและเขียนขึ้นใหม่
แต่เขาก็ต้องพบกับปัญหาในการหาผู้ผลิต จนกระทั่งปี 1536 หนังสือเรื่อง Die Grosse Wundartznei
(การผ่าตัดที่สมบูรณ์) ของเขาได้ตีพิมพ์และกู้เชื่อเสียงของเขาคืนมาได้
ในชีวิตของพาราเซลซัสได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการกาเนิดลัทธิ
ลูเธอร์รันและความคิดเห็นของเขาในเรื่องธรรมชาติจักรวาลก็มีความเข้าใจมากกว่าคาบรรยายใน
ทางศาสนา
พาราเซลซัสเสียชีวิตเมื่อตอนอายุได้48 ปีตามธรรมชาติ
ศพของเขาก็ได้รับการฝังที่ป่าช้าโบสถ์เซบาสเตียนในSalzburgตามปรารถนาของเขา
และได้ย้ายมาไว้ในสุสานนอกชานโบสถ์ในปัจจุบัน หลังจากการตายของพาราเซลซัส
ศาสตร์ความรู้ของเขาก็ได้เป็นที่รู้จักมากขึ้นและถูกนาไปใช้อย่างแพร่หลายโดยผู้ที่ต้องการล้มล้างฟิสิก
ส์แบบเก่า
คติประจาตัวของพาราเซลซัสก็คือ “Alterius non sit qui suus esse potest” หมายความว่า
“อย่าปล่อยให้มีใครที่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้ไปเป็นของผู้อื่น”
10
10
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่
(อังกฤษ: William Harvey; 1 เมษายน ค.ศ. 1578 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1657)
รูป 5 วิลเลี่ยม ฮาร์วี่
ที่มา The life and work of William Harvey @ Ward's Book of Days
ระบบการไหลเวียนโลหิตในร่างกายมนุษย์
เป็นสิ่งที่ทาให้มนุษย์มีชีวิตอยู่ได้แต่ยังไม่มีนักวิทยาศาสตร์หรือนายแพทย์ท่านใดรู้ความจริงที่ว่าเลือดเดิ
นทางอย่างไรในร่างกาย อีกทั้งหน้าที่ของหัวใจก็เป็นสิ่งสาคัญ เมื่อประมาณปี 600 ก่อนคริสต์ศักราช
นายแพทย์ชาวกรีก คลาดิอุส กาเลน (Clandius Galen) ได้ศึกษาและอธิบายว่า
ระบบโลหิตในร่างกายมนุษย์มีลักษณะคล้ายน้าขึ้นน้าลง ส่วนหัวใจมีหน้าที่ในการทาให้เลือดอุ่น
ส่วนหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดาไม่มีส่วนใดเกี่ยวข้องกันเลย
เพราะฉะนั้นวิธีการรักษาเมื่อเลือดมีอุณหภูมิสูงขึ้น ทาได้โดยการผ่าตัดนาเลือดดาออกมา
ในปี ค.ศ. 1628 วิลเลี่ยมตีพิมพ์ผลงานลงในหนังสือ "การทางานของหัวใจและระบบการไหลเวียน
ของเลือดในร่างกายสัตว์" มีรายละเอียดเกี่ยวกับการทางานของหัวใจว่ามีหน้าที่ในการสูบฉีดโลหิต
ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับการทางานของหัวใจว่ามีหน้าที่ในการสูบฉีดโลหิต ลักษณะของหัวใจคล้าย
กับถุงกล้ามเนื้อที่เต้นอยู่ตลอดเวลา
และการเต้นของหัวใจก็ทาให้เกิดการไหลเวียนของโลหิตโดยมีเลือดแดงที่ไหลออกจากหัวใจไปหล่อเลี้
ยงทุกส่วนของร่างกาย จากนั้นเลือดแดงจะกลายเป็นเลือดดา และกลับขึ้นมาสู่หัวใจอีกครั้งหนึ่ง
เลือดจะถูกส่งเข้าไปยังห้องหัวใจซีกขวาด้านบนก่อน จากนั้นจึงไหลเข้าสู่ห้องหัวใจซีกขวาด้านล่าง
และส่งออกจากห้องนี้ไปสู่ปอด ซึ่งมีหน้าที่นาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbondioxide)
11
ในเลือดออกไป แล้วนาก๊าซออกซิเจนที่หายใจเข้าไปแทนที่
เมื่อปอดฟอกเลือดดาให้เป็นเลือดแดงแล้วจะถูกส่งกลับไปยังห้องหัวใจซีกซ้ายด้านบนอีกครั้งหนึ่ง
จากนั้นจะถูกส่งไปยังห้องหัวใจซีกซ้ายด้านล่าง
ซึ่งมีหน้าที่ในการส่งเลือดไปเลี้ยงทุกส่วนของร่างกายและจะเป็นระบบเช่นนี้เรื่อยไป
เพราะฉะนั้นเมื่อใดที่หัวใจหยุดเต้นก็เท่ากับว่าหยุดการสบฉีดโลหิต
เลือดในร่างกายก็จะกลายเป็นเลือดดา ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้และเสียชีวิตในที่สุด
นอกจากนี้แล้ววิลเลี่ยมยังพบหน้าที่ของลิ้นหัวใจ ซึ่งอยู่ระหว่างห้องหัวใจต่าง ๆ
ว่ามีหน้าที่ในการป้ องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับไปทางเดิม นอกจากนี้ เขายังพบหน้าที่ของลิ้นหัวใจ
ซึ่งอยู่ระหว่างห้องหัวใจต่างๆ ว่าทาหน้าที่ป้ องกันไม่ให้เลือดไหลย้อน
เมื่อวิลเลี่ยมเผยแพร่ผลงานการค้นพบออกไปปรากฏว่าวงการแพทย์ไม่เห็นด้วยและถูกต่อต้านอย่างหนั
ก วิลเลี่ยมทางานเป็นแพทย์ประจาราชสานักอยู่นานกว่า 25 ปี จนในที่สุดเขาก็ลาออกจากหน้าที่ในปี
ค.ศ. 1646 เนื่องจากชราภาพมากแล้วและ สียชีวิตในปีต่อมาที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในวันที่ 3
มิถุนายน ค.ศ. 1657การค้นพบของเขาไม่สูญเปล่า เมื่ออังตวน แวน เลเวนฮุค (Anton Van
Leeuwenhoek) สามารถประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ได้สาเร็จ
ทาให้สามารถพิสูจน์ได้ว่าระบบการไหลเวียน โลหิตของมนุษย์เป็นอย่างที่วิลเลี่ยมได้เคยกล่าวเอาไว้
วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน
(Wilhelm Conrad Röntgen - 27 มีนาคม พ.ศ. 2388 — 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466)
12
รูป 6 วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน
ที่มา Biography at the official Nobel site
ในช่วงปี พ.ศ. 2438 เรินต์เกนได้ใช้อุปกรณ์ที่พัฒนาโดยเพื่อนร่วมงานผู้มีชื่อเสียงคือ
อีวาน พัลยูอิ (Ivan Palyui) นามาให้ คือหลอดไฟที่เรียกว่า "หลอดพัลยูอิ"
ซึ่งเรินต์เกนพร้อมกับผู้ร่วมงานคนอื่นๆ ได้แก่ ไฮริช รูดอล์ฟ เฮิร์ทซ์, วิลเลียม ครูกส์, นิโคลา เทสลา
และฟิลิบ ฟอน เลนาร์ด
ต่างทาการทดลองและทดสอบผลกระทบของการปล่อยประจุไฟฟ้าแรงดึงสูงในหลอดแก้วสุญญากาศนี้
จนถึงปลายปี พ.ศ. 2408
บรรดานักค้นคว้าเหล่านี้จึงได้เริ่มทดลองค้นคว้าหาคุณสมบัติของรังสีแคโทดข้างนอกหลอด
ในต้นเดือนพฤศจิกายน
เรินต์เกนได้ทดลองซ้าโดยใช้หลอดของเลนาร์ดโดยทาช่องหน้าต่างด้วยอลูมเนียมบางๆ
เพื่อให้รังสีผ่านออกและใช้กระดาษแข็งปิดทับเพื่อป้ องกันไม่ให้แผ่นอะลูมิเนียมเสียหายจากไฟฟ้าสถิต
ย์กาลังแรงที่จะเป็นในการสร้างรังสีแคโทด เรินต์เกนรู้ว่ากระดาษแข็งจะช่วยป้ องกันไม่ให้แสงหนีออก
แต่เขาได้สังเกตเป็นว่ากระดาษแข็งที่ทาด้วยแบเรียม ปลาติโนไซยาไนด์ (barium platinocyanide)
ที่อยู่ใกล้ขอบช่องอะลูมิเนียมเกิดการเรืองแสง เรินต์เกน
พบว่าหลอดของครูกส์ที่มีผนังหลอดหนาก็อาจเกิดการเรืองแสงในลักษณะเช่นนี้ได้
ในบ่ายวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 เรินต์เกนตั้งใจแน่วแน่ว่าจะทดสอบความคิดนี้
เขาได้บรรจงทาแผ่นกระดาษแข็งอย่างระมัดระวังให้เหมือนกับที่ใช้กับหลอดของเลนาร์ด
13
โดยปิดหลอดฮิททอร์ฟ-
ครูกส์ด้วยกระดาษแข็งแล้วต่อขั้วจากขดลวดเหนี่ยวนาของรุห์มคอร์ฟเพื่อสร้างประจุไฟฟ้าสถิตย์
แต่ก่อนที่เรินต์เกนจะตั้งจอที่ทาด้วยแบเรียมปลาติโนไซยาไนด์เพื่อทดสอบความคิด
เขาได้ปิดม่านปิดไฟให้ห้องมืดลงเพื่อดูว่าแผ่นกระดาษแข็งปิดแสงได้มิดหรือไม่
ในขณะที่ปล่อยกระแสจากขดลวดเหนี่ยวนาขยับกระดาษแข็งให้แน่นแล้วหันไปเตรียมการขั้นถัดไป
เรินต์เกนได้พบว่า ณ จุดนี้เองที่เกิดมีแสงเรืองๆ ขนาดอ่อนๆ ปรากฏที่ปลายโต๊ะที่ห่างออกไป 1 เมตร
เพื่อให้แน่ใจ เรินต์เกนได้ปล่อยกระแสจากขดลวดเหนี่ยวนาอีกหลายครั้ง แสงเรืองๆ
ก็ยังเกิดขึ้นเหมือนเดิม
เขาจุดไม้ขีดไฟดูจึงได้เห็นสิ่งที่อยู่ปลายโต๊ะนั้นแท้จริงก็คือแผ่นกระดาษแข็งทาสารแบเรียมฯ
ที่เตรียมไว้สาหรับการทดลองขั้นต่อไปมั่นเอง
เรินต์เกนคาดเดาว่าสิ่งนี้อาจเกิดจากแสงชนิดใหม่ก็ได้วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันศุกร์
เขาจึงถือโอกาสใช้วันหยุดสุดสัปดาห์ทาการทดลองซ้าและทาการบันทึกครั้งแรกไว้
ในหลายสัปดาห์ต่อมา เรินต์เกนกินและนอนในห้องทดลองเพื่อทดสอบคุณสมบัติต่างๆ
ของแสงชนิดใหม่ที่ยังไม่รู้ว่าเป็นอะไร เขาจึงเรียกชื่อลาลองไปก่อนว่า "รังสี X"
เนื่องจากต้องใช้สูตรคณิตศาสตร์กับสิ่งที่ยังไม่รู้จักมาก่อน แม้ว่าจะมีผู้เรียกชื่อรังสีนี้ว่า "รังสีเรินต์เกน"
เพื่อเป็นเกียรติ แต่ตังเรินต์เกนเองกลับจงใจใช้ชื่อว่า "รังสีเอกซ์"
เรื่อยมาการค้นพบรังสีเอกซ์ของเรินต์เกนไม่ใช่อุบัติเหตุ หรือจากการทางานตามลาพัง
ในการเสาะแสวงหาคาตอบ เรินต์เกนและผู้คิดค้นในงานประเภทนี้ในหลายประเทศก็ได้ช่วยกันทาอยู่
การค้นพบเป็นสิ่งที่จะต้องเกิดอย่างเห็นๆ กันอยู่แล้ว ความจริงแล้ว
รังสีเอกซ์ได้ถูกสร้างขึ้นและเกิดรูปในฟิล์มแล้วที่มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย 2 ปีก่อนหน้านั้น
เพียงแต่ว่าคนที่ทดลองทาไม่ได้ตระหนักว่าตนเองได้ค้นพบสิ่งที่ยิ่งใหญ่เข้าแล้ว
จึงเก็บฟิล์มเข้าแฟ้มสาหรับใช้อ้างอิงในการทดลองอื่นๆ ในอนาคต
ทาให้พลาดในการได้ชื่อว่าตนเป็นผู้ค้นพบสิ่งสาคัญที่สุดทางฟิสิกส์
อาเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง
Alexander Flemming
รูป 7 อาเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง
ที่มา TIME Magazine Cover: Dr. Alexander Fleming -- May 15, 1944. Cover Credit: ERNEST
เมื่อสงครามจบสิ้นลง เฟลมมิ่งได้เข้าทางานเป็นอาจารย์สอนที่วิทยาลัยเซนต์แมรี่
ในระหว่างที่เขาทางานอยู่ที่วิทยาลัยเซนต์แมรี่ เขาได้ทาการทดลองเกี่ยวกับแบคทีเรียตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า
สเตปฟิโลคอกคัส (Staphylococcus) ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคเซฟติซีเมีย (Septicemia)
หรือการติดเชื้อแบคทีเรียเลือด อาการของโรคจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการปวดบาดแผลมาก และทาให้
เสียชีวิตได้ในเวลาต่อมา
เฟลมมิ่งได้เพาะเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ลงบนจากแก้วเพื่อหาวิธีการฆ่าเชื้อโรคชนิดนี้ให้ได้
และยาฆ่าเชื้อต้องไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เขาพยายามค้นหาสารสกัดจากสิ่งต่าง ๆ หลายชนิด เช่น
น้ามูก เนื่องจากครั้งหนึ่งเฟลมมิ่งป่วยเป็นหวัด มีน้ามูกไหล เขาคิดว่าน้ามูกเป็นสิ่งที่ร่างกายผลิตขึ้นมา
ดังนั้นเขาจึงใช้น้ามูกหยดลงในจานที่มีแบคมีเรีย ผลปรากฏว่าสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ตายหมด
แต่เป็น เชื้อแบคทีเรียที่ไม่ร้ายแรงนัก จากนั้นเฟลมมิ่งได้ทดลองนาสิ่งที่ร่างกายผลิตได้ทดลอง
ต่อมาคือน้าตา เขาใช้น้าตา 2-3 หยด หยดลงในจานแบคทีเรีย
ปรากฏว่าน้าตาสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ดีกว่าน้ามูกเสียอีก แต่น้าตาเป็นสิ่งที่หา ยากมาก
เฟลมมิ่งจึงต้องหาอย่างอื่นมาทดแทน เขาพบว่าในน้าตามีเอนไซม์ ซึ่งน่าจะเป็นสิ่งที่ทาลายแบคทีเรียได้
14
เฟลมมิ่งได้นาเล็บ เส้นผม และผิวหนังมาทดลอง
แต่เอนไซม์ที่สกัดได้มักมีผลกระทบต่อร่างกายในที่สุดเขาก็ค้นพบเอนไซม์ชนิดหนึ่งในไข่ขาวชื่อว่า
ไลโซไซม์ แต่การแยกไลโซไซม์บริสุทธิ์ออกมาทาให้ยากมาก
อีกทั้งเฟลมมิ่งขาดแคลนเครื่องมืออันทันสมัย คน และเวลา
ดังนั้นเขาจึงเขียนบทความลงในวารสารฉบับหนึ่ง เพื่อหาเงินทุนในการทดลอง
แต่ก็ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะไม่มีผู้ใดให้ความสนใจเลย ดังนั้นเรื่องนี้จึงต้องหยุดชะงัก
แต่เพียงเท่านี้ แต่การทดลองหาวิธีฆ่าเชื้อโรคของเฟลมมิ่งไม่ได้หยุดแต่เพียงเท่านี้
เขาได้ทาการค้นหาวิธีอื่นที่ง่ายกว่านี้
ในปี ค.ศ.1928 เฟลมมิ่งได้เลื่อนตาแหน่งเป็นศาสตราจารย์ประจาภาควิชาแบคทีเรีย
แต่เขาก็ยังคงทาการทดลองเพื่อค้นหาวิธีฆ่าเชื้อโรคต่อไป
เฟลมมิ่งได้ซื้ออุปกรณ์ชนิดใหม่สาหรับเพาะเชื้อแบคทีเรีย โดยลักษณะเป็นจานแก้วใส ก้นตื้น มีฝาปิด
เฟลมมิ่งได้ใส่พืชทะเลชนิดหนึ่งลงไปในจานทดลองที่มีแบคทีเรีย
จากนั้นปิดฝาให้สนิทเพื่อป้ องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมหล่นลงไป แล้วจึงนาไปเก็บไว้ในที่ที่มีอุณหภูมิ
37 องศาเซลเซียส ซึ่งเท่ากับอุณหภูมิในร่างกายมนุษย์หน้าที่ในการดูแลจานแบคทีเรีย
เฟลมมิ่งได้มอบให้กับผู้ช่วยของเขา อยู่มาวันหนึ่งผู้ช่วยของเขาลืมปิดฝาจาน
อีกทั้งยังตั้งทิ้งไว้บนโต๊ะใกล้กับหน้าต่างห้องทดลองอีกด้วย
ปรากฏว่ามีเชื้อราสีเทาเขียวมีลักษณะคล้ายกับราที่ขึ้นบนขนมปังอยู่เต็มไปหมด
เฟลมมิ่งโกรธผู้ช่วยของเขามาก แต่ถึงอย่างนั้นเฟลมมิ่งก็ไม่ได้ทิ้งจานทดลองอันนี้
และนามาไว้ที่มุมหนึ่งของห้อง เมื่อเฟลมมิ่งได้ทาการทดสอบอีกครั้งหนึ่งอย่างละเอียดและพบว่า
เชื้อราชนิดนี้ กินเชื้อแบคทีเรียนสเตปฟิโลคอกคัสได้เฟลมมิ่งได้เริ่มเพาะเชื้อราชนิดนี้ในขวดเพาะ
เมื่อเพาะชื้อราได้จานวนมากพอ เฟลมมิ่งได้นา เชื้อแบคทีเรีย 6 ชนิด ใส่ลงในจาน
แล้วนาเชื้อราใส่ลงไป ปรากฏว่าเชื้อราสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ถึง 4 ชนิด ที่เหลืออีก 2 ชนิด
เป็นแบคทีเรียชนิดร้านแรงที่ทาให้เกิดโรคอย่างแอนแทรกซ์
และคอตีบจากนั้นเฟลมมิ่งได้สอบถามไปยังนักวิทยาศาสตร์ผู้มีความรู้ทั้งหลายว่า เชื้อราชนิดนี้ชื่ออะไร
ในที่สุดเขาก็ได้คาตอบว่าเชื้อราชนิดนี้จัดอยู่ในกลุ่มเพนนิซิเลียม ชื่อว่า เพนนิซิเลียม อุมรูบรุม
ต่อมาเฟลมมิ่งได้นาเชื้อราชนิดนี้มาสกัดเป็นยาชื่อว่า เพนนิซิลิน
15
เฟลมมิ่งได้นายาชนิดนี้มาใช้กับสัตว์ทดลอง ซึ่งได้ผลเป็นอย่างดี แต่เขายังไม่กล้าใช้กับคน
เพราะยังไม่สามารถสกัดเพนนิซิลินบริสุทธิ์ได้
เฟลมมิ่งได้ทดลองแยกเพนนิซิลินหลายวิธีแต่ก็ไม่สามารถแยกได้
ดังนั้นเฟลมมิ่งจึงเขียนบทความลงในวารสาร การแพทย์เล่มหนึ่ง ซึ่งมีนักวิทยาศาสตร์ให้ความสนใจ
และสามารถแยกแพนนิซิลินบริสุทธิ์ได้สาเร็จ นักวิทยาศาสตร์ผู้นั้นก็คือ โฮวาร์ด วอลเทอร์ (Howard -
Walter) นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลีย
โรเบิร์ต คอค
(เยอรมัน: Heinrich Hermann Robert Koch; 11 ธันวาคม พ.ศ. 2386 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2453)
รูป 8 โรเบิร์ต คอค
ที่มา http://www.school.net.th/library/create-web/10000/history/10000-1698.html
โรเบิร์ต คอค (เยอรมัน: Heinrich Hermann Robert Koch; 11 ธันวาคม พ.ศ. 2386 — 27
พฤษภาคม พ.ศ. 2453) เป็นนายแพทย์ชาวเยอรมัน
ได้ศึกษาโรคที่เกิดจากแกะโดยเพาะเลี้ยงเชื้อนอกอวัยวะสัตว์จนสามารถอธิบายวงจรชีวิตของเชื้อดังกล่
าวได้เมื่อปี พ.ศ. 2419 (ค.ศ. 1876) ซึ่งภายหลังทราบกันดีว่าเป็นเชื้อที่ทาให้เกิดโรคแอนแทรค
(Bacillus anthracis) นับว่าเป็นครั้งแรกที่มีการอธิบายบทบาทของเชื้อโรคต่อการเกิดโรคได้อย่างชัดเจน
ต่อมาในปี พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) คอคได้ค้นพบเชื้อโรคที่ทาให้เกิดวัณโรค (Mycobacterium
16
tuberculosis) และได้พัฒนาการสกัดสารชื่อ ทูเบอร์คูลิน (Tuberculin)
ซึ่งช่วยในการตรวจสอบเชื้อวัณโรคได้ต่อมาในปี พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883)
คอคเดินทางไปยังอินเดียและได้ค้นพบเชื้อที่ทาให้เกิดอหิวาตกโรค (Vibrio cholerae)
และการเสนอสมมติฐานของคอค ซึ่งเป็นรากฐานของความรู้ทางโรคติดเชื้อในปัจจุบัน
คอคได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ในปี พ.ศ. 2448 (ค.ศ. 1905)
จึงได้ชื่อว่าเป็นผู้ริเริ่มสาขาวิชาจุลชีววิทยาสมัยใหม่ ร่วมกับคู่แข่งของเขาที่ปารีส คือหลุยส์ ปาสเตอร์
คอคเป็นผู้วางรากฐานการศึกษาการติดเชื้อและก่อตั้งสาขาวิชาเวชศาสตร์เขตร้อนในเยอรมัน
เอดเวิร์ด เจนเนอร์
(อังกฤษ: Edward Jenner; 17 พฤษภาคม 2292 — 26 มกราคม 2366)
รูป 9 เอดเวิร์ด เจนเนอร์
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/ Edward Jenner
เอดเวิร์ด เจนเนอร์ (อังกฤษ: Edward Jenner; 17 พฤษภาคม 2292 — 26 มกราคม 2366)
เป็นแพทย์ชนบทชาวอังกฤษผู้ซึ่งศึกษาธรรมชาติและสภาพแวดล้อมในวัยเด็ก
และได้รับการฝึกหัดทางการแพทย์ที่เมือง Berkeley มณฑล Gloucestershire สหราชอาณาจักร
มีชื่อเสียงในฐานะแพทย์คนแรกที่ศึกษาและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้ องกันโรคไข้ทรพิษ
17
เอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี
(อิตาลี: Evangelista Torricelli)
รูป 10 เอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี ที่มา ประทีป ชูหมื่นไวย์.
การค้นพบโดยบังเอิญในวงการวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: อักษรวัฒนา, ตุลาคม 2549
การประดิษฐ์คิดค้นของโตร์ริเชลลีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ เครื่องวัดความดันอากาศ หรือ
บารอมิเตอร์ (barometer) ซึ่งเกิดขึ้นจากการแก้ปัญหาการทดลองที่สาคัญ
การสร้างน้าพุกลางบ่อที่ขุดลึกประมาณ 16-18 เมตร ของแกรนด์ดยุกแห่งทัสโคนี
พยายามสูบน้าในท่อให้สูง 12 เมตรหรือมากกว่า โดยขณะลูกสูบยกน้าขึ้น
จะเกิดสุญญากาศทาให้เกิดแรงยกของเหลวขึ้นที่ปลายท่อขาออก แต่ค้นพบว่า
ไม่ว่าทาอย่างไรก็ขึ้นไปได้เพียงขีดจากัดที่ 9-10 เมตร ไม่สามารถสูบให้สูงกว่านี้
เมื่อ พ.ศ. 2186 (1643) โตร์ริเชลลี ทดลองเพิ่มเติมโดยใช้ ปรอท ซึ่งหนักเป็น 13-14 เท่า ของน้า
และพบว่า ได้ผลทานองเดียวกัน โดยขีดจากัดต่ากว่าเขาสร้างท่อที่มีความยาวประมาณ 1 เมตร
บรรจุด้วยปรอท ปลายข้างหนึ่งตัน แล้วติดตั้งในแนวตั้ง ให้ปลายอีกข้างจมอยู่ในอ่าง
ปรอทในท่อถูกยกขึ้นไปกับท่อได้สูงเพียงประมาณ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร
แม้ว่าท่อจะถูกยกให้สูงกว่านี้ ภายในเหนือปรอทเป็นสุญญากาศ (Torricellian vacuum)
วิธีนี้เป็นที่มาของหน่วยเทียบความดันของอากาศ โดยความดันอากาศที่ระดับน้าทะเลเท่ากับ 760
มิลลิเมตรของปรอท และที่ระดับความสูงกว่าระดับน้าทะเล ความดันอากาศจะน้อยกว่า 760
มิลลิเมตรของปรอท
19
เมื่อ พ.ศ. 2184 เขาประกาศการค้นพบนี้ว่า : [3] " บรรยากาศ
เป็นตัวการทาให้เกิดแรงกดของอากาศเปลี่ยนไปในเวลาต่างกัน "และสิ่งนี้คือ เครื่องวัดความดันอากาศ
เครื่องแรก เป็นการค้นพบที่สร้างชื่อเสียงตลอดกาลแก่เขา หลายศตวรรษต่อมา
ชื่อหน่วยในการวัดความดัน จึงถูกตั้งตามชื่อนามสกุลของเขาว่า ทอร์ (torr) ซึ่งก็คือ หน่วย
มิลลิเมตรปรอท นั่นเอง โดยเทียบ 1 มิลลิเมตรปรอท หรือ 1 ทอร์ เท่ากับประมาณ 133.322 ปาสคาล
ในหน่วยอนุพันธ์ของหน่วยเอสไอ
เขายังทดลองต่อมา พบอีกว่า แรงดันหรือความดันอากาศ ในแต่ะวัน
จะแตกต่างเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย นอกจากนี้ปัจจุบัน เข้าใจกันดีว่า ความสูงของของเหลวในท่อ
แปรผกผันกับ ความดันอากาศ (ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละระดับความสูง) อีกด้วย
เฟรเดอริก แกร์นท์ แบนติง
(อังกฤษ: Sir Frederick Grant Banting, KBE, MC, MD, FRSC)
รูป 11 เฟรเดอริก แกร์นท์ แบนติง
ที่มา www.Banting, Best, Macleod, Collip: Chasing a Cure for Diabetes.com
20
เฟรเดอริก แกร์นท์แบนติง (อังกฤษ: Sir Frederick Grant Banting, KBE, MC, MD, FRSC - 14
พฤศจิกายน พ.ศ. 2434 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484) นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชาวแคนาดา
แพทย์และผู้ได้รับรางวัลโนเบลจากการร่วมเป็นผู้ค้นพบอินซูลิน
แบนติงเกิดที่เมืองอัลลิสตัน ออนทาริโอ ประเทศแคนาดา
หลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโทรอนโตเมื่อ พ.ศ. 2459
ได้เข้ารับราชการทหารหน่วยการแพทย์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1
และได้รับไม้กางเขนระหว่างสงคราม
หลังสงครามได้กลับประเทศและเข้ารับการฝึกหัดเป็นศัลยแพทย์กระดูกที่โรงพยาบาลเด็กในโทรอนโต
ระหว่างปี พ.ศ. 2462 - พ.ศ. 2463 และในฤดูร้อนปีนั้น แบนติงได้ไปทางานเป็นแพทย์ในออนทาริโอ
ในขณะที่กาลังอ่านบทความจากวารสารการแพทย์
เขาได้บันทึกความคิดเกี่ยวกับวิธีการแยกสารหลั่งภายในของตับอ่อน
ซึ่งจะเป็นขั้นตอนสาคัญมากที่จะช่วยให้การรักษาโรคเบาหวานที่ได้ผล
ซึ่งในขั้นนี้เองที่ขั้นตอนทั้งหมดที่เคยทากันมาเพื่อแยกสารเพื่อให้แก่คนไข้ล้มเหลวมาโดยตลอด
ด้วยความที่แบนติงไม่ค่อยชอบการทางานเป็นแพทย์แต่มีความสนใจตื่นเต้นกับความคิดนี้มาก
เขาจึงย้ายจากออนทาริโอไปโทรอนโตโดยได้เริ่มงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยโทรอนโต เมื่อวันที่ 17
พฤษภาคม พ.ศ. 2464 ภายใต้การดูแลของศาสตราจารย์จอห์น แมคลอยด์
แบนติงได้รับมอบนักศึกษาปริญญาโทคนหนึ่งให้มาเป็นผู้ช่วย คือ ชาร์ล เบส
แบนติงได้ทาการทดลองอย่างหนัก โดยการผ่าตัดสุนัขเพื่อมัดท่อตับอ่อน
เพื่อทาให้เกิดการฝ่อบางส่วนแล้วจึงตัดเอาตับอ่อนออกในสัปดาห์ต่อมา
โดยหวังว่าตับอ่อนจะมีสารหลั่งที่สะอาด เข้มข้นและไม่ปนเปื้อน
จากนั้นจะทาการสะกัดไปรักษาสุนัขที่ป่วยเป็นเบาหวานโดยการรักษาด้วยการลดน้าตาลในเลือดเพื่อดู
ว่าจะได้ผลหรือไม่
หลายเดือนต่อมา
ดูเหมือนว่าวิธีการของแบนติงจะได้ผลเนื่องจากเขาสามารถทาให้สุนัขมีชีวิตอยู่ได้ด้วยการลดระดับน้าต
าลในเลือดลง และได้รีบรายงานให้แมคลอยด์ได้รับทราบ
21
ยังมีข้อสงสัยว่าวิธีของแบนติงยังหยาบและไม่ได้ผลจริง ต่อมา
จากการเข้าลงมือร่วมวิจัยโดยตรงของแมคลอยด์ และนักเคมีชื่อเจมส์ คอลลิบ
พบว่าการใช้ตับอ่อนของสุนัขได้ผลในทางปฏิบัติ จึงย้ายไปทากับลูกวัวและวัว
เทคนิคการผูกท่อตับอ่อนถูกยกเลิกไป หันมาใช้วิธีสะกัดที่ได้ผลดีในตับธรรมดาที่ไม่ต้องมัดท่อ
และเรียกสารที่สะกัดได้นี้ในระหว่าง พ.ศ. 2464-2465 ว่า "อินซูลิน"
การกระทานี้ได้รับการสรรเสิญว่าเป็นความก้าวหน้าสูงสุดในยุคนั้น
ไม่เพียงการค้นพบเพียงอินซูลิน
แต่ยังสามารถทาการผลิตเป็นจานวนมากในเวลานับได้เป็นเดือนเท่านั้น
เรียกได้ว่าสามารถช่วยชีวิตคนนับล้านทั่วโลกที่ป่วยจากโรคต่อมไร้ท่อและโรคเบาหวานซึ่งไม่สามารถ
รักษาและพยากรณ์โรคในขณะนั้นได้ทันที
ผู้ป่วยจากปัญหาการเผาผลาญไขมันและโปรตีนซึ่งนาไปสู่การตาบอดและเสียชีวิตในเวลาต่อมา
สามารถรับการรักษาได้ตั้งแต่เริ่มเป็นโรค
แบนติง และ แมคลอยด์ ได้รับรางวัลโนเบล สาขาการแพทย์แบนติงได้แบ่งเงินรางวัลให้เบสท์
เพราะเชื่อว่าเบสท์สมควรได้รับรางวัลมากกว่าแมคลอยด์
ผู้ซึ่งต่อมาก็ได้แบ่งเงินรางวัลให้แก่คอลลิบด้วยเช่นกัน
แบนติงได้สร้างความปลาบปลื้อให้แก่ชาวแคนาดาเป็นอันมาก
เนื่องจากเขาเป็นบุคคลแรกที่สร้างชื่อเสียงในระดับโลกให้แก่แคนาดา
รัฐบาลแคนาดาได้การสนับสนุนเงินวิจัยแก่แบนติงไปตลอดชีวิต ในปี พ.ศ. 2477 พระเจ้าจอร์จ ที่ 5
แห่งอังกฤษ ได้พระราชทานบรรดาศักดิ์ชั้นเซอร์แก่แบนติงเป็น เซอร์ เฟรเดอริก แบนติง
เฟรดริก ไบเออร์
22
รูป 12 เฟรดริก ไบเออร์
ที่มา http://didyouknow.org/thai/aspirinthai.htm
ยาแอสไพรินเป็นผลงานที่โด่งดังที่สุดของฮอฟฟ์แมนน์ แต่เขาก็ยังมีความสาเร็จเรื่องอื่นอีก
ไม่กี่วันภายหลังจากที่ฮอฟฟ์ แมนน์สังเคราะห์กรดอะซิติลซาลิซิลิกได้
เขาก็ผลิตสารประกอบออกมาอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งบริษัทไบเออร์หวังว่าจะเป็นที่นิยมกันอย่างมาก
แต่เป็นความนิยมที่มีผลร้ายกาจอยู่ใน ทุกวันนี้ สารประกอบที่ว่าคือไดอะซิติลมอร์ฟีน หรือเฮโรอีน
ซึ่งมีผู้สังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ ไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา โดยนักเคมีชาวอังกฤษชื่อซี. อาร์. เอ. ไรท์
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 แพทย์ยังคงพิจารณาสั่งยาเฮโรอีนให้คนไข้อยู่บ้าง แต่มาถึงปี 1931
ก็แทบจะไม่มีแพทย์ในประเทศใดใช้เฮโรอีน กันแล้ว
ในช่วงเริ่มต้น บริษัทของเฟรดริกไบเออร์ผลิตเฉพาะสารอนิลิน ไบเออร์เสียชีวิตในปี 1880
โดยที่ไม่ได้คิดเลยว่าบริษัทไบเออร์จะกลายมาเป็นยักษ์ใหญ่ในวงการเภสัชกรรมของโลกนับจนถึงปี
1891 ไบเออร์นาผลิตภัณฑ์ยาหลากหลายชนิดออกสู่ตลาด ทุกวันนี้บริษัทมีผลิตภัณฑ์มากกว่า 10,000
ชนิดทุกวันนี้เป็นที่รู้กันว่ายาแอสไพรินสามารถป้ องกันการเกิดหัวใจวาย โรคลมปัจจุบัน
และเมื่อไม่นานมานี้ก็พบว่าการกินแอสไพรินจะช่วยป้ องกันมะเร็งได้ด้วย เมื่อครั้งที่ยานอพอลโล 11
ออกไปสารวจดวงจันทร์ ยาชนิดนี้ก็ได้เดินทางสู่อวกาศโดยบรรจุอยู่ในชุดปฐมพยาบาล
แถมยังได้ขึ้นปกนิวสวีคในปี 1969 มาแล้วด้วย
อังตวน แวน เลเวนฮุค
23
รูป 13อังตวน แวน เลเวนฮุค
ที่มา Dobell, C. (1932, 1960) Anthony van Leeuwenhoek and his little animals.
อังตวน แวน เลเวนฮุค (ดัตช์: Antonie van Leeuwenhoek; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1632 - 26 สิงหาคม
ค.ศ. 1723) นักวิทยาศาสตร์ชาวดัตช์ ได้ชื่อว่าเป็น "บิดาแห่งวิชาจุลชีววิทยา"
และถือว่าเป็นนักจุลชีววิทยาคนแรก เขามีชื่อเสียงจากการพัฒนากล้องจุลทรรศน์
และมีส่วนสาคัญในการก่อตัังสาขาวิชา จุลชีววิทยา
เขาเป็นคนแรกที่สังเกตเห็นและสามารถบรรยายองค์ประกอบของเซลล์โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์ของเ
ขาที่สร้างขึ้นด้วยมือ นอกจากนี้เขายังเป็นคนแรกที่บันทึกผลสังเกตเส้นใยของกล้ามเนื้อ, แบคทีเรีย,
สเปอร์มาโตซัว และการไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอย แวน เลเวนฮุค
ไม่ได้เขียนหนังสือใดเป็นจริงเป็นจัง แต่เขียนจดหมายเอาไว้มาก
มารี กูรี (Marie Curie)
รูป 14 มารี กูรี (Marie Curie)
ที่มา http://hilight.kapook.com/view/72163
มารี กูรี เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1867 (พ.ศ. 2410)
และเสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ปี ค.ศ. 1934 (พ.ศ. 2477) ในวัย 66 ปี
ซึ่งเรียกได้ว่าเธอเป็นผู้หญิงเก่งแห่งยุคคนหนึ่งเลยทีเดียว
เพราะในขณะที่ผู้หญิงส่วนใหญ่ในยุคสมัยของเธอไม่ได้รับการศึกษา
หรือโอกาสเท่าเทียมกับผู้ชายนัก
เธอกลับมุ่งมั่นศึกษาค้นคว้าจนกระทั่งค้นพบรังสีเรเดียมที่สามารถยับยั้งการขยายตัวของโรคมะเร็งได้ใ
นที่สุด จนเป็นผลให้เธอได้รับรางวัลโนเบล ยิ่งไปกว่านั้น นอกจากความเฉลียวฉลาดของเธอแล้ว
การอุทิศตัวให้สังคมของเธอก็ยังทาให้หลาย ๆ คนประทับใจอีกด้วย
เพราะเธอเลือกที่จะไม่จดสิทธิบัตรสิ่งที่เธอค้นพบซึ่งจะทาให้เธอกลายเป็นเศรษฐีได้สบาย ๆ
แต่กลับเลือกอุทิศตัวเพื่อส่วนรวมและค้นคว้าต่อไปจนกระทั่งเสียชีวิตจากการใกล้ชิดรังสีเรเดียมมากเกิ
นไป ในที่สุด
ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Robert Darwin)
รูป 15 ชาลส์ ดาร์วิน ที่มา http://hilight.kapook.com/view/72163
ชาลส์ ดาร์วิน เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 (พ.ศ. 2352) และเสียชีวิตลงในวัย 73 ปี
ในวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1882 (พ.ศ. 2425) ซึ่งจนกระทั่งยุคปัจจุบัน
ทฤษฎีที่นักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติคนนี้คิดค้นขึ้นก็งยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่
เพราะมีทั้งคนที่ยอมรับและโต้แย้งในเวลาเดียวกัน
โดยดาร์วินได้เขียนนังสือเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสัตว์ต่าง ๆ ขึ้นมา
ซึ่งอ้างว่าสัตว์ทั้งหลายจะปรับสภาพร่างกายเพื่อให้เข้ากับการใช้ชีวิตและสภาพแวดล้อมทาให้มีลักษณะ
24
เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ
จนกลายเป็นวิวัฒนาการ ซึ่งแม้ในปัจจุบันเขาจะได้รับยกย่องเป็นนักวิทยาศาสตร์อัจฉริยะคนหนึ่ง
แต่อีกส่วนหนึ่งก็ยังมีผู้ที่ปฏิเสธแนวคิดของเขาเช่นกัน
โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestly)
รูป 16 โจเซฟ พริสต์ลีย์ที่มา
http://guru.sanook.com/pedia/topicJoseph_Priestly)/
ผู้ได้ฉายาบิดาแห่งวิชาเคมีก๊าซ (Father of Pneumatic Chemistry)
เป็นหนึ่งในนักเคมีผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในยุค ศตวรรษที่ 18
ผู้ค้นพบการใช้แอมโมเนีย พริสต์ลีย์เป็นชาวอังกฤษ
บิดาของเขามีอาชีพเป็นช่างทอผ้าที่มีฝีมือมากคนหนึ่ง แต่ฐานะก็ไม่ได้ร่ารวยมากมาย
แต่บิดาของเขาก็เล็งเห็นความสาคัญของการศึกษา
จึงได้ส่งเขาร่าเรียนจนถึงขั้นระดับมหาวิทยาลัยในลอนดอน (London University)
ในสาขาด้านอักษรศาสตร์และปรัชญา ซึ่งเป็นวิชาที่เขาสนใจเรียนมาตั้งแต่เด็ก
ทาให้เขาได้เรียนรู้ภาษาต่างๆเช่น กรีก ละติน และฮิบรู ช่วยทาให้เขาสามารถอ่านภาษาต่างๆได้มากมาย
รวมทั้งยังสนใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ตั้งแต่นั้นมา
จนเขาจบมาเป็นอาจารย์สอนวิชาด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดีที่สถาบันวอร์ริงตัน (Warrington
Academy)
พริสต์ลีย์มีความสนใจด้านวิทยาศาสตร์แต่เขามีความรู้ด้านนี้น้อย
แต่อาศัยการอ่านจากตารับตารา มากมายและโชคดีที่เขาสามารถอ่านภาษา ละติน และ กรีกได้ดี
25
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete
รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete

More Related Content

What's hot

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
sutima piboon
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
Ocean'Funny Haha
 
กระบี่กระบอง
กระบี่กระบองกระบี่กระบอง
กระบี่กระบอง
พัน พัน
 

What's hot (20)

ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
ก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Haก้าวทันคุณภาพ Ha
ก้าวทันคุณภาพ Ha
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิดก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
กระบี่กระบอง
กระบี่กระบองกระบี่กระบอง
กระบี่กระบอง
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 

Similar to รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete

เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
benty2443
 

Similar to รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete (20)

ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
ปั่นน้ำใจให้ผู้ป่วยยากไร้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami program
 

Recently uploaded

Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
George638435
 

Recently uploaded (8)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdfMeaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
Meaning Recognition การใช้คำศัพท์ให้ตรงความหมาย.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

รายงาน 5 บท Is แพทย์สากล 20 person complete

  • 1. กิตติกรรมประกาศ การศึกษารายงานIS ประเภทการศึกษา รวบรวมข้อมูล เรื่อง“20 บุคคลในวงการแพทย์สากล” เล่มนี้สาเร็จลุล่วงโดยได้รับความอนุเคราะห์อย่างดี จากครูสุภัตรา มาทามาซึ่งได้กรุณาให้คาปรึกษาแนะนาแนวคิดวิธีการและเสียสละเวลาอันมีค่าแก้ไขข้อบกพร่องของเ นื้อหาและสานวนภาษาด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่ง คณะผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารโรงเรียนน้าปาดชนูปถัมภ์คณะครูทุกท่านที่ได้ให้การสนับสนุนใ นการดาเนินการศึกษารายงานเล่มนี้จนสาเร็จด้วยดี นางสาวฉัตราภรณ์ สุขชีพ ผู้จัดทา ข
  • 2. สารบัญ เรื่อง ...........................................................................................................................................หน้า บทคัดย่อ....................................................................................................................................... ก กิตติกรรมประกาศ.........................................................................................................................ข คานา............................................................................................................................................. ค สารบัญ......................................................................................................................................... ง สารบัญรูปภาพ ............................................................................................................................ จ บทที่ 1 บทนา ........................................................................................................................... 1 ที่มาและความสาคัญ........................................................................................................ 1 วัตถุประสงค์....................................................................................................................2 ขอบเขตของการศึกษา.................................................................................................... 2 นิยามศัพท์เฉพาะ............................................................................................................2-3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................................. 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................4-31 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินโครงการ……………………………………………………..32 บทที่4 ผลการศึกษา …………………………………………………………………….…….. 33-35 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ.....................................................................................36 บรรณานุกรม............................................................................................................................. 37 ค
  • 3. บทคัดย่อ เรื่องราวเกี่ยวกับการค้นพบวิธีรักษาโรคใหม่ๆเป็นเรื่องที่น่าสนใจชวนติดตามมากที่สุดเรื่องห นึ่งในประวัติศาสตร์แห่งมนุษยชาติ บุคคลสาคัญในวงการแพทย์ทั้งชายและหญิงบุคคลเหล่านี้ช่วยขยายความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับร่างกายและจิตใจของมนุษย์ตลอดเวลาหลายุคหลายสมัยที่ผ่านมา บุคคลในวงการแพทย์ทั้งชายและหญิงจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นแพทย์พยาบาล เภสัชกร ผู้เชี่ยวชาญ ด้านยา หรือสมุนไพร นางผดุงครรภ์ และอีกหลายๆคนได้มีส่วนร่วมในการคิดค้นหาหน ทางต่อต้านเชื้อโรค และในบรรดาบุคคลทางการแพทย์หลายคนมีเรื่องราวที่น่าสนใจเป็นพิเศษ การจัดทารายงาน เรื่อง “ ยี่สิบบุคคลในวงการแพทย์สากล ” ครั้งนี้ จัดทาขึ้นเป็นผลงานการศึกษาประจาวิชารายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS) เพื่อให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับบุคคลทางการแพทย์ผู้คิดค้น และพัฒนาทางวงการการรักษาทางการแพทย์ และยา เข้ามาศึกษาหาความรู้ เพื่อเป็นประโยชน์ให้แก่ผู้ที่สนใจแล้วนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ศึกษาถึงชีวประวัติ แนวคิด และผลงาน ของบุคคลในวงการแพทย์ และมีแรงบันดาลใจในการประกอบอาชีพทางการแพทย์ โดยมีจุดประสงค์ เพื่อเป็นที่เผยแพร่ชีวประวัติ “ยี่สิบบุคคลในวงการแพทย์สากล” แก่ผู้ที่สนใจ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจนอกจากนี้ยังสามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในโอกาส ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน และสร้างสรรค์ ต่อยอดได้อีกด้วย ก
  • 4. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ถ้าเริ่มนับตั้งแต่เมื่อครั้งเกิดมนุษย์ขึ้นครั้งแรกมาจนถึงปัจจุบัน จะพบว่าตลอดระยะเวลา อันยาวนานนั้นมนุษย์ที่อาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันก็ได้พัฒนาตัวเองขึ้นเรื่อยๆ และสิ่งหนึ่งที่มีวิวัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมๆกับมนุษย์ก็คือ "การแพทย์" การแพทย์เปรียบเสมือน เพื่อนคนหนึ่งที่เติบโตมาพร้อมกับมนุษย์ในอดีตที่มนุษย์ยังไม่ค่อยเจริญนัก พวกเขายังไม่มีความรู้ ทางการแพทย์เลย แต่ในปัจจุบันเมื่อมนุษย์เจริญขึ้นมากก็ทาให้การแพทย์นั้นก้าวหน้าได้ เช่นเดียวกันถ้าจะมองดีๆก็จะพบว่าการแพทย์ของไทยเริ่มนับจากศูนย์แล้วก็ค่อยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาถามที่ว่า “การแพทย์ของมนุษย์พัฒนาขึ้นมาได้อย่างไร?” คงจะเป็นจุดชนวนที่ทาให้เราต้องมองย้อนกลับไปในอดีตเพื่อค้นหาคาตอบอีกครั้ง เป็นไปไม่ได้แน่ว่าอยู่ดีๆการแพทย์ของไทยนั้นก็จะพัฒนาขึ้นมาเอง จะต้องมีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ช่วยทาให้การแพทย์ของมนุษย์เรานั้นเจริญขึ้น เรื่องราวเกี่ยวกับการค้นพบวิธีรักษาโรคใหม่ๆเป็นเรื่องที่น่าสนใจชวนติดตามมากที่สุดเรื่องหนึ่ง ในประวัติศาสตร์แห่งมนุษยชาติ บุคคลสาคัญในวงการแพทย์ทั้งชายและหญิงบุคคลเหล่านี้ ช่วยขยายความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับร่างกายและจิตใจของมนุษย์ตลอดเวลาหลายุคหลายสมัยที่ผ่านมา บุคคลในวงการแพทย์ทั้งชายและหญิงจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นแพทย์พยาบาล เภสัชกร ผู้เชี่ยวชาญ ด้าน ยา หรือ สมุนไพร นางผดุงครรภ์ และอีกหลายๆคนได้มีส่วนร่วมในการคิดค้นหาหนทาง ต่อต้านเชื้อโรค และในบรรดาบุคคลทางการแพทย์หลายคนมีเรื่องราวที่น่าสนใจเป็นพิเศษ ซึ่งได้รวบรวมเอาไว้ในรายงานการค้นคว้าเล่มนี้ 1
  • 5. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาชีวประวัติ แนวคิด และผลงานของบุคคลในวงการแพทย์ 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ มาศึกษาและค้นคว้า 3.สามารถต่อยอดสร้างสรรค์เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ได้ 4. เพื่อทาให้เกิดความรู้พื้นฐานของการปฐมพยาบาลในเบื้องต้น 5. เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ประโยชน์สู่สังคม เพื่อส่วนรวม ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับชีวประวัติของบุคคลทางการแพทย์ทั้งยี่สิบคน ปรัชญาการดาเนินชีวิต และแนวคิดในการคิดค้นเครื่องมือทางการแพทย์วิธีการรักษา และยารักษาโรค รวมทั้งผลงานที่ผ่านมาและถูกศึกษาต่อมาสืบเนื่องจนถึงปัจจุบัน นิยามศัพท์เฉพาะ ยาที่มีความเสี่ยงสูง หมายถึง ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงกับผู้ป่วย อย่างมีนัยสาคัญ หรืออาจทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตหากมีการใช้ยาอย่างคลาดเคลื่อน ซึ่งความคลาดเคลื่อนนี้อาจเกิดขึ้นบ่อยหรือไม่มากนัก แต่ก่อให้เกิดความสูญเสียตามมา การให้บริการข้อมูลทางยา หมายถึง การบริการให้คาตอบหรือคาปรึกษาเรื่องเกี่ยวกับยาอย่างถูกต้องแม่นยาและปราศจากอคติ โดยผู้ให้บริการจะทาค้นคว้าข้อมูลอย่างเป็นระบบ ประเมินค่าข้อมูล ที่ค้นคว้าแล้วอย่างถี่ถ้วน และนาเสนออย่างไม่มีอคติรวมถึงอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ค้นคว้าด้วย ชื่อสามัญ หมายถึง ชื่อสามัญทางยา กลุ่มยา หมายถึง กลุ่มยาจาแนกตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา 2
  • 6. การป้ องกัน หมายถึง มาตรการและกิจกรรมต่างๆ ที่กาหนดขึ้นล่วงหน้า ทั้งทางด้านโครงสร้าง ( Structural Approach) แ ล ะ ที่ มิ ใ ช่ ด้ า น โ ค ร ง ส ร้ า ง (Non Structural Approach) เพื่อลดหรือควบคุมผลกระทบในทางลบจากสาธารณภัย การลดผลกระทบ หมายถึง กิจกรรมหรือวิธีการต่างๆ เพื่อหลีกเลี่ยงและลดผลกระทบทางลบ จากสาธารณภัย และยังหมายถึงการลดและป้ องกันมิให้เกิดเหตุหรือลดโอกาสที่อาจก่อให้เกิดสาธารณภัย การเตรียมความพร้อม หมายถึง มาตรการและกิจกรรมที่ดาเนินการล่วงหน้าก่อนเกิดสาธารณ- ภั ย เพื่ อ เต รี ย ม พ ร้ อ ม ก า ร จั ด ก า ร ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ฉุ ก เฉิ น ให้สามารถรับมือกับผลกระทบจากสาธารณภัยได้อย่างทันการณ์ และมีประสิทธิภาพ การจัดการในภาวะฉุกเฉิน หมายถึง การจัดตั้งองค์กรและการบริหารจัดการด้านต่างๆ เพื่ อ รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร จั ด ก า ร ส ถ า น ก า ร ณ์ ฉุ ก เฉิ น ทุ ก รู ป แ บ บ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเตรียมความพร้อมรับมือและการฟื้นฟูบูรณะ การฟื้นฟูบูรณะ หมายถึง การฟื้นฟูสภาพเพื่อทาให้สิ่งที่ถูกต้องหรือได้รับความเสียหายจาก ส าธ ารณ ภัยได้รับ ก ารช่ วยเห ลื อ แ ก้ไข ให้ ก ลับ คื น สู่ ส ภ าพ เดิ ม ห รื อ ดี ก ว่าเดิ ม รวมทั้งให้ผู้ประสบภัยสามารถดารงชีวิตตามสภาพปกติได้โดยเร็ว หน่วยงานของรัฐ หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ แต่ไม่หมายความรวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีความรู้ในเรื่องชีวประวัติ แนวคิด และผลงานของบุคคลในวงการแพทย์ 2. มีความเข้าใจเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล และ ร่างกายมนุษย์เบื้องต้น 3. รู้โอกาสที่จะนาความรู้ที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ประโยชน์สู่สังคม เพื่อส่วนรวม 5. นาแนวคิดที่ดีไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้ 6. มีความรู้พื้นฐาน เพื่อที่จะสามารถเรียนศึกษา ต่อยอดทางกระบวนการคิดได้ 3
  • 7. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ศึกษาโดยรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานความคิดนา ไปสู่กรอบการศึกษาค้นคว้าและเป็นข้อมูล ประกอบการศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายผลการศึกษาค้นคว้า ได้สรุปประเด็นสาคัญจึงนาเสนอตามลาดับหัวข้อและเนื้อหาสาระ ดังต่อไปนี้ ฮิปพอคราทีส (Hippocrates; ประมาณ พ.ศ. 83-166) รูป 1 ฮิปพอคราทีส (Hippocrates; ประมาณ พ.ศ. 83-166) ที่มา www. National Library of Medicine 2006.co. Us แพทย์ได้ชื่อว่าเป็น "บิดาแห่งการแพทย์ตะวันตก" และต้นตอของ "คาสัตย์สาบานฮิปพอครา- ทีส (Hippocrates oath) ในจรรยาบรรณแพทย์เกิดที่เกาะโต้ประเทศกรีซ 4
  • 8. ฮิปพอคราทีสได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในวงการแพทย์รุ่นโบราณ ว่าเป็นผู้รวบรวมเรื่องราว เกี่ยวกับวิชาการแพทย์ไว้มากกว่า 70 ชิ้นงาน โดยเฉพาะเรื่อง "ฮิปพอคราทีสคอร์ดปั้ม" แต่ในภายหลัง ก็เป็นที่ทราบกันว่าใน 70 เรื่องนี้มีไม่กี่ชิ้นที่เขียนโดยฮิปพอคราทีสเอง แต่เชื่อว่า ชิ้นงานทั้งหลายดังกล่าวเกิดจากการสะสมตาราและเอกสารในห้องสมุดของโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่ง ในสมัยนั้นซึ่งได้มาจากหลายแหล่ง เขียนโดยหลายคนที่มีความเห็นต่างๆ กัน แต่นามารวมผิดๆ ถูกๆ ภายใต้ชื่อฮิปพอคราทีส ฮิปพอคราทีส ได้ทาคุณประโยชน์ทางการแพทย์ไว้อย่างใหญ่หลวงโดยการรักษาคนไข้ อย่างมีแบบแผน ผิดกับแพทย์ทั่วไปในสมัยนั้นที่ตั้งตนเป็นผู้มีคาถาอาคมเป็นผู้วิเศษที่เชื่อว่า การเจ็บป่วยเป็นการถูกลงโทษโดยพระเจ้าต้องรักษาด้วยพิธีกรรม แต่ฮิปพอคราทีสกลับเห็นว่า เกิด จากสาเหตุทางธรรมชาติ ฮิปพอคราทีสเป็นคนแรกที่ทาระเบียนบันทึกอาการและประวัติของคนไข้ วางกฎเกณฑ์วิธีการปฏิบัติตนของแพทย์กับคนไข้ซึ่งยังคงถือปฏิบัติกันอยู่ถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ดีความสาเร็จของผู้เขียนรวมนิพนธ์ฮิปโปคราเคส ผู้ปฏิบัติวิชาแพทย์แบบฮิปโปคราเคส และผลงานของฮิปโปคราเคสเองถูกหลอมรวมกันไปอย่างแยกไม่ออก ทาให้มีข้อมูลตกทอดมาถึงปัจจุบันน้อยมากว่าสิ่งใดกันแน่ที่ฮิปโปคราเคสเป็นผู้คิด เขียน และทาจริงๆ แม้กระนั้นฮิปโปคราเคส ก็ได้รับการยกย่องเป็นแบบอย่างของการแพทย์ในยุคโบราณ โดยเฉพาะการเป็นผู้ทาให้เกิดความก้าวหน้าอย่างมากในการศึกษาวิชาแพทย์ทางคลินิกอย่างเป็นระบบ รวบรวมวิชาแพทย์ คาสอนการแพทย์ในอดีตเอาไว้ และสั่งสอนเวชปฏิบัติแก่แพทย์ผ่านคาปฏิญาณฮิปโปคราเคส รวมนิพนธ์ และงานชิ้นอื่นๆ คาสัตย์สาบานฮิปพอคราทีส โดยย่อคือ ณ ที่ใดก็ตามที่ข้าพเจ้าไป ข้าพเจ้าจะทาก็เพื่อประโยชน์ของคนไข้เท่านั้น ข้าพเจ้าจะไม่ทาให้เกิดความผิดพลาดใดๆ และสิ่งที่ข้าพเจ้าได้ยินได้ฟังระหว่างการรักษาคนไข้ ข้าพเจ้าจะไม่นาไปเปิดเผยต่อบุคคลที่สาม นอกจากนี้ยังวลีคาคมในการรักษาโรคเชื่อว่าเป็นของฮิปพอคราทีสคือ "โรคที่สิ้นหวังแล้วก็ต้องรักษาด้วยวิธีสิ้นหวัง" 5
  • 9. อองรี ดูนองต์ (ฝรั่งเศส: Henri Dunant) รูป 2 อองรี ดูนองต์ (ฝรั่งเศส: Henri Dunant) ที่มา Henri Dunant image & some info ชื่อเต็ม ช็อง อองรี ดูนองต์ (ฝรั่งเศส: Jean Henri Dunant) (8 พฤษภาคม ค.ศ. 1828 - 30 ตุลาคม ค.ศ. 1910) เป็นนักธุรกิจ และนักช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ชาวสวิส เขาเป็นผู้ให้กาเนิดคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศและสภากาชาดประจาชาติ เพื่อช่วยเหลิอบรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัยสงครามและภัยพิบัติต่างๆ และได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ในปี ค.ศ. 1901 ร่วมกับ เฟรเดรีก ปาสซี (ฝรั่งเศส: Frederic Passy) นายอองรี ดูนองต์ เกิดที่เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นผู้เคร่งศาสนา โดยมีความเชื่อตามแนวทางของนิกายคาลวิน และตั้งมั่นในหลักการ "จงรักเพื่อนบ้านของท่าน" ("Love thy neighbor") เขาได้เดินทางไปทั่วยุโรปเพื่อบรรยายถึงความชั่วร้ายเรื่องความเป็นทาส (อังกฤษ: slavery) ในปี ค.ศ. 1859 ระหว่างอยู่ที่ประเทศอิตาลี เขาได้ไปที่สนามรบของสงครามแห่งโซลเฟริโน และได้เห็นทหาร ที่ได้รับบาดเจ็บนับพันคน ถูกปล่อยทิ้งรอความตายในสนามรบตามยถากรรม โดยไม่ได้รับแม้แต่การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ที่อาจรักษาชีวิตของคนเหล่านี้ได้ 6
  • 10. หลังจากที่เขากลับถึงกรุงเจนีวา เขาได้เขียนบทความเกี่ยวกับประสบการณ์ครั้งนี้ของเขา ในชื่อ Un Souvenir de Solferino (ความทรงจาแห่งซอล -เฟริโน) ซึ่งได้ตีพิมพ์ในวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862 ในบทความเขาได้พยายามผลักดันให้มีการจัดตั้ง เครือข่ายนานาชาติของอาสาสมัครเพื่อบรรเทาทุกข์ขึ้น หนังสือของเขาได้รับความสนใจจาก สภาบริหารประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (อังกฤษ: Switzerland's Federal Council) และส่งผลให้ประเทศสวิตเซอร์แลนด์สนับสนุนให้มีการประชุมสัมมนานานาชาติขึ้นในปี ค.ศ. 1863 เพื่ออภิปรายถึงแนวความคิดของดูนองต์ที่เขาได้เขียนไว้ในบทความ เก้าบทความ (Nine Articles) มีประเทศเข้าร่วมการประชุมสัมนาในวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1864 ทั้งหมด 16 ประเทศ และในจานวนนั้น 12 ประเทศ ได้ให้การสนับสนุนในเนื้อหา ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็น คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ และอนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง นอกจากนี้ อองรี ดูนองต์ ยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มฟรีเมสันรีในขณะที่มีการให้รางวัลโนเบลเป็นครั้งแรกนั้น ก็มีข้อโต้แย้งว่า เขาควรจะได้รับรางวัลนี้หรือไม่[ต้องการอ้างอิง] เนื่องจากในขณะนั้นองค์กรกาชาดได้ถูกจัดตั้งเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว และบทบาทของ อองรี ดูนองต์ ก็ได้ถูกลืมเลือนไปเช่นกัน ได้มีข้อเสนอให้เขาได้รับรางวัลโนเบลในสาขาแพทยศาสตร์ เนื่องมาจากบทบาทขององค์กรกาชาดในขณะนั้น ผลการประนีประนอมในท้ายที่สุดได้มีการตัดสินให้เป็นรางวัลร่วมในสาขาสันติภาพ โดยได้รับร่วมกับ เฟรเดอริก พาสซี ซึ่งเป็นนักต่อสู้เพื่อสันติภาพที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศส และถึงแม้ว่าอองรี ดูนองต์ จะมีชีวิตที่ยากจนในขณะนั้น แต่เขาก็บริจาคเงินรางวัลที่ได้รับทั้งหมดเพื่อการกุศล อองรี ดูนองต์เสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1910 7
  • 11. หลุยส์ ปาสเตอร์ (27 ธันวาคม ค.ศ. 1822 - 28 กันยายน ค.ศ. 1895) รูป 3 หลุยส์ ปาสเตอร์ ที่มา http://www.9engineer.com/scientist/Louis%20Pasteur.htm หลุยส์ ปาสเตอร์ (ภาษาฝรั่งเศส: [lwi pastœʁ] ; 27 ธันวาคม ค.ศ. 1822 - 28 กันยายน ค.ศ. 1895) นักเคมีและนักจุลชีววิทยา เกิดที่เมืองโดล ประเทศฝรั่งเศส ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัย เบซากองและมหาวิทยาลัยปารีส ต่อมาได้ดารงตาแหน่งอาจารย์ในสถาบันการศึกษาที่สตราบวร์กลิลล์ และมหาวิทยาลัยปารีส และได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์สาขาเคมีที่มหาวิทยาลัยซอร์บอนน์ ในปี พ.ศ. 2410ปาสเตอร์เป็นผู้แถลงว่าการเน่าและการหมักเกิดจากเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ปาสเตอร์ ได้ค้นพบปรากฏการณ์นี้ในระหว่างการศึกษาว่าเหตุใดเหล้าองุ่นจึงเสียรสขณะบ่ม แต่เมื่อนาเหล้าองุ่นไปอุ่นให้ร้อนแล้วจึงป้ องกันไม่เหล้าองุ่นกลายเป็นน้าส้มสายชูได้ 8
  • 12. ซึ่งการกระทาลักษณะนี้ต่อมาได้พัฒนาเป็นการฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ (Pasteurization) การค้นพบนี้ทาให้สาขาวิชาจุลชีววิทยาโดดเด่นก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว การทดลองที่มีชื่อเสียงของปาสเตอร์เมื่อปี พ.ศ. 2424 ที่พิสูจน์ให้เห็นว่าแกะและวัวที่ได้รับ การฉีด “วัคซีน” ที่ทาจากเชื้อจุลินทรีย์บาซิลไล ซึ่งเป็นเป็นสมมติฐานของโรคแอนแทรคที่ถูกทาให้อ่อนจางลงของเขา สามารถต่อสู้กับโรคระบาดที่มีอันตรายของสัตว์คือโรคแอนแทรคดังกล่าวได้โดยไม่ติดโรค ในปี พ.ศ. 2431 สถาบันปาสเตอร์ได้รับการจัดตั้งขึ้นในกรุงปารีสเพื่อต่อสู้กับโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งปาสเตอร์ได้ทางานประจาในสถาบันนี้จนถึงแก่กรรม ปัจจุบัน สถาบันปาสเตอร์ยังคงเป็นสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกที่ยังคงทางานวิจัยงานด้าน จุลชีววิทยาอยู่ รวมทั้งการค้นพบเชื้อไวรัสเอชไอวี ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเอดส์ พาราเซลซัส (อังกฤษ: Paracelsus; 11 พฤศจิกายน หรือ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1493 - 24 กันยายน ค.ศ. 1541) รูป 4 พาราเซลซัส ที่มา Von den Krankheiten so die Vernunfft Berauben. Basel พาราเซลซัส มีชื่อเดิมว่า Philippus Areolus Theophrastus Bombastus von Hohenheim เกิดและเติบโตที่หมู่บ้าน Einsiedeln ประเทศสวิซเซอร์แลนด์ เป็นลูกชายของ วิลฮิม บอมบาสต์ (Wilhelm Bombast von Hohenheim) นักเคมีและฟิสิกส์ กับ หญิงชาวสวิส ในตอนเด็กเขาได้ทางาน เป็นนักวิเคราะห์ที่เหมือง จนเมื่ออายุได้16 ปี เขาก็ได้เข้าศึกษาต่อด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBasel 9
  • 13. ภายหลังจากที่ย้ายไปที่ Vienna เขาก็ได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยFerrara จากการเป็นนักฟิสิกส์เร่ร่อนและช่างขุดแร่ทาให้เขาได้เดินทางไปในหลายๆประเทศทั้งเยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน ฮังการี เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และรัสเซีย พาราเซลซัสศึกษาวิชาหลายแขนง หนึ่งในนั้นคือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เป็นวิชาที่สาคัญในการพัฒนาวิชาการแพทย์ของเขา หลังจากการศึกษาครั้งนี้เขาได้คิดค้นเครื่องรางของขลังทางดาราศาสตร์สาหรับป้ องกันโรคด้วยใช้สัญลั กษณ์ 12 นักษัตรโดยแต่สัญลักษณ์ก็จะป้ องกันโรคได้แตกต่างกัน และเขายังได้ประดิษฐ์อักษรเวทมนตร์เพื่อสลักชื่อเทพลงในเครื่องรางของเขาอีกด้วย พาราเซลซัสเป็นผู้ริเริ่มนาสารเคมีและแร่ธาตุมาใช้เป็นยารักษาโรค เขาใช้คาว่าซิงค์แทนธาตุสังกะสี ในปี 1526 โดยมาจากศัพท์เยอรมันซิงค์ที่แปลว่าแหลมคมตามรูปร่างของตัวผลึกสังกะสี เขาใช้ในการทดลองเพื่อศึกษาร่างกายมนุษย์ นอกจากนี้เขายังมีส่วนรับผิดชอบในการผลิตทิงเจอร์ฝิ่นอีกด้วยด้วยความหยิ่งยโสของพาราเซลซัสเป็น ที่เลื่องลืออย่างมากทาให้นักฟิสิกส์ทั่วทั้งยุโรปโกรธเกลียดเขา นั่นทาให้เขาดารงตาแหน่งแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBaselได้ไม่ถึงปี ในขณะที่มีเพื่อนร่วมงานของเขากล่าวหาว่าเขาเป็นคนเผาตาราแพทย์พื้นเมือง จากนั้นเขาก็ถูกขับไล่ออกจากเมือง หลังจากถูกขับออกจากเมืองพาราเซลซัสก็ได้ระเหเร่ร่อนไปยัง ยุโรป แอฟริกา และเอเชียบางส่วนเพื่อศึกษาความหาความรู้เพิ่มเติม เขาได้แก้ไขตาราและเขียนขึ้นใหม่ แต่เขาก็ต้องพบกับปัญหาในการหาผู้ผลิต จนกระทั่งปี 1536 หนังสือเรื่อง Die Grosse Wundartznei (การผ่าตัดที่สมบูรณ์) ของเขาได้ตีพิมพ์และกู้เชื่อเสียงของเขาคืนมาได้ ในชีวิตของพาราเซลซัสได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการกาเนิดลัทธิ ลูเธอร์รันและความคิดเห็นของเขาในเรื่องธรรมชาติจักรวาลก็มีความเข้าใจมากกว่าคาบรรยายใน ทางศาสนา พาราเซลซัสเสียชีวิตเมื่อตอนอายุได้48 ปีตามธรรมชาติ ศพของเขาก็ได้รับการฝังที่ป่าช้าโบสถ์เซบาสเตียนในSalzburgตามปรารถนาของเขา และได้ย้ายมาไว้ในสุสานนอกชานโบสถ์ในปัจจุบัน หลังจากการตายของพาราเซลซัส ศาสตร์ความรู้ของเขาก็ได้เป็นที่รู้จักมากขึ้นและถูกนาไปใช้อย่างแพร่หลายโดยผู้ที่ต้องการล้มล้างฟิสิก ส์แบบเก่า คติประจาตัวของพาราเซลซัสก็คือ “Alterius non sit qui suus esse potest” หมายความว่า “อย่าปล่อยให้มีใครที่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้ไปเป็นของผู้อื่น” 10 10
  • 14. วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ (อังกฤษ: William Harvey; 1 เมษายน ค.ศ. 1578 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1657) รูป 5 วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ที่มา The life and work of William Harvey @ Ward's Book of Days ระบบการไหลเวียนโลหิตในร่างกายมนุษย์ เป็นสิ่งที่ทาให้มนุษย์มีชีวิตอยู่ได้แต่ยังไม่มีนักวิทยาศาสตร์หรือนายแพทย์ท่านใดรู้ความจริงที่ว่าเลือดเดิ นทางอย่างไรในร่างกาย อีกทั้งหน้าที่ของหัวใจก็เป็นสิ่งสาคัญ เมื่อประมาณปี 600 ก่อนคริสต์ศักราช นายแพทย์ชาวกรีก คลาดิอุส กาเลน (Clandius Galen) ได้ศึกษาและอธิบายว่า ระบบโลหิตในร่างกายมนุษย์มีลักษณะคล้ายน้าขึ้นน้าลง ส่วนหัวใจมีหน้าที่ในการทาให้เลือดอุ่น ส่วนหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดาไม่มีส่วนใดเกี่ยวข้องกันเลย เพราะฉะนั้นวิธีการรักษาเมื่อเลือดมีอุณหภูมิสูงขึ้น ทาได้โดยการผ่าตัดนาเลือดดาออกมา ในปี ค.ศ. 1628 วิลเลี่ยมตีพิมพ์ผลงานลงในหนังสือ "การทางานของหัวใจและระบบการไหลเวียน ของเลือดในร่างกายสัตว์" มีรายละเอียดเกี่ยวกับการทางานของหัวใจว่ามีหน้าที่ในการสูบฉีดโลหิต ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับการทางานของหัวใจว่ามีหน้าที่ในการสูบฉีดโลหิต ลักษณะของหัวใจคล้าย กับถุงกล้ามเนื้อที่เต้นอยู่ตลอดเวลา และการเต้นของหัวใจก็ทาให้เกิดการไหลเวียนของโลหิตโดยมีเลือดแดงที่ไหลออกจากหัวใจไปหล่อเลี้ ยงทุกส่วนของร่างกาย จากนั้นเลือดแดงจะกลายเป็นเลือดดา และกลับขึ้นมาสู่หัวใจอีกครั้งหนึ่ง เลือดจะถูกส่งเข้าไปยังห้องหัวใจซีกขวาด้านบนก่อน จากนั้นจึงไหลเข้าสู่ห้องหัวใจซีกขวาด้านล่าง และส่งออกจากห้องนี้ไปสู่ปอด ซึ่งมีหน้าที่นาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbondioxide) 11
  • 15. ในเลือดออกไป แล้วนาก๊าซออกซิเจนที่หายใจเข้าไปแทนที่ เมื่อปอดฟอกเลือดดาให้เป็นเลือดแดงแล้วจะถูกส่งกลับไปยังห้องหัวใจซีกซ้ายด้านบนอีกครั้งหนึ่ง จากนั้นจะถูกส่งไปยังห้องหัวใจซีกซ้ายด้านล่าง ซึ่งมีหน้าที่ในการส่งเลือดไปเลี้ยงทุกส่วนของร่างกายและจะเป็นระบบเช่นนี้เรื่อยไป เพราะฉะนั้นเมื่อใดที่หัวใจหยุดเต้นก็เท่ากับว่าหยุดการสบฉีดโลหิต เลือดในร่างกายก็จะกลายเป็นเลือดดา ร่างกายไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้และเสียชีวิตในที่สุด นอกจากนี้แล้ววิลเลี่ยมยังพบหน้าที่ของลิ้นหัวใจ ซึ่งอยู่ระหว่างห้องหัวใจต่าง ๆ ว่ามีหน้าที่ในการป้ องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับไปทางเดิม นอกจากนี้ เขายังพบหน้าที่ของลิ้นหัวใจ ซึ่งอยู่ระหว่างห้องหัวใจต่างๆ ว่าทาหน้าที่ป้ องกันไม่ให้เลือดไหลย้อน เมื่อวิลเลี่ยมเผยแพร่ผลงานการค้นพบออกไปปรากฏว่าวงการแพทย์ไม่เห็นด้วยและถูกต่อต้านอย่างหนั ก วิลเลี่ยมทางานเป็นแพทย์ประจาราชสานักอยู่นานกว่า 25 ปี จนในที่สุดเขาก็ลาออกจากหน้าที่ในปี ค.ศ. 1646 เนื่องจากชราภาพมากแล้วและ สียชีวิตในปีต่อมาที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1657การค้นพบของเขาไม่สูญเปล่า เมื่ออังตวน แวน เลเวนฮุค (Anton Van Leeuwenhoek) สามารถประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ได้สาเร็จ ทาให้สามารถพิสูจน์ได้ว่าระบบการไหลเวียน โลหิตของมนุษย์เป็นอย่างที่วิลเลี่ยมได้เคยกล่าวเอาไว้ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Conrad Röntgen - 27 มีนาคม พ.ศ. 2388 — 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466) 12
  • 16. รูป 6 วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน ที่มา Biography at the official Nobel site ในช่วงปี พ.ศ. 2438 เรินต์เกนได้ใช้อุปกรณ์ที่พัฒนาโดยเพื่อนร่วมงานผู้มีชื่อเสียงคือ อีวาน พัลยูอิ (Ivan Palyui) นามาให้ คือหลอดไฟที่เรียกว่า "หลอดพัลยูอิ" ซึ่งเรินต์เกนพร้อมกับผู้ร่วมงานคนอื่นๆ ได้แก่ ไฮริช รูดอล์ฟ เฮิร์ทซ์, วิลเลียม ครูกส์, นิโคลา เทสลา และฟิลิบ ฟอน เลนาร์ด ต่างทาการทดลองและทดสอบผลกระทบของการปล่อยประจุไฟฟ้าแรงดึงสูงในหลอดแก้วสุญญากาศนี้ จนถึงปลายปี พ.ศ. 2408 บรรดานักค้นคว้าเหล่านี้จึงได้เริ่มทดลองค้นคว้าหาคุณสมบัติของรังสีแคโทดข้างนอกหลอด ในต้นเดือนพฤศจิกายน เรินต์เกนได้ทดลองซ้าโดยใช้หลอดของเลนาร์ดโดยทาช่องหน้าต่างด้วยอลูมเนียมบางๆ เพื่อให้รังสีผ่านออกและใช้กระดาษแข็งปิดทับเพื่อป้ องกันไม่ให้แผ่นอะลูมิเนียมเสียหายจากไฟฟ้าสถิต ย์กาลังแรงที่จะเป็นในการสร้างรังสีแคโทด เรินต์เกนรู้ว่ากระดาษแข็งจะช่วยป้ องกันไม่ให้แสงหนีออก แต่เขาได้สังเกตเป็นว่ากระดาษแข็งที่ทาด้วยแบเรียม ปลาติโนไซยาไนด์ (barium platinocyanide) ที่อยู่ใกล้ขอบช่องอะลูมิเนียมเกิดการเรืองแสง เรินต์เกน พบว่าหลอดของครูกส์ที่มีผนังหลอดหนาก็อาจเกิดการเรืองแสงในลักษณะเช่นนี้ได้ ในบ่ายวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 เรินต์เกนตั้งใจแน่วแน่ว่าจะทดสอบความคิดนี้ เขาได้บรรจงทาแผ่นกระดาษแข็งอย่างระมัดระวังให้เหมือนกับที่ใช้กับหลอดของเลนาร์ด 13
  • 17. โดยปิดหลอดฮิททอร์ฟ- ครูกส์ด้วยกระดาษแข็งแล้วต่อขั้วจากขดลวดเหนี่ยวนาของรุห์มคอร์ฟเพื่อสร้างประจุไฟฟ้าสถิตย์ แต่ก่อนที่เรินต์เกนจะตั้งจอที่ทาด้วยแบเรียมปลาติโนไซยาไนด์เพื่อทดสอบความคิด เขาได้ปิดม่านปิดไฟให้ห้องมืดลงเพื่อดูว่าแผ่นกระดาษแข็งปิดแสงได้มิดหรือไม่ ในขณะที่ปล่อยกระแสจากขดลวดเหนี่ยวนาขยับกระดาษแข็งให้แน่นแล้วหันไปเตรียมการขั้นถัดไป เรินต์เกนได้พบว่า ณ จุดนี้เองที่เกิดมีแสงเรืองๆ ขนาดอ่อนๆ ปรากฏที่ปลายโต๊ะที่ห่างออกไป 1 เมตร เพื่อให้แน่ใจ เรินต์เกนได้ปล่อยกระแสจากขดลวดเหนี่ยวนาอีกหลายครั้ง แสงเรืองๆ ก็ยังเกิดขึ้นเหมือนเดิม เขาจุดไม้ขีดไฟดูจึงได้เห็นสิ่งที่อยู่ปลายโต๊ะนั้นแท้จริงก็คือแผ่นกระดาษแข็งทาสารแบเรียมฯ ที่เตรียมไว้สาหรับการทดลองขั้นต่อไปมั่นเอง เรินต์เกนคาดเดาว่าสิ่งนี้อาจเกิดจากแสงชนิดใหม่ก็ได้วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันศุกร์ เขาจึงถือโอกาสใช้วันหยุดสุดสัปดาห์ทาการทดลองซ้าและทาการบันทึกครั้งแรกไว้ ในหลายสัปดาห์ต่อมา เรินต์เกนกินและนอนในห้องทดลองเพื่อทดสอบคุณสมบัติต่างๆ ของแสงชนิดใหม่ที่ยังไม่รู้ว่าเป็นอะไร เขาจึงเรียกชื่อลาลองไปก่อนว่า "รังสี X" เนื่องจากต้องใช้สูตรคณิตศาสตร์กับสิ่งที่ยังไม่รู้จักมาก่อน แม้ว่าจะมีผู้เรียกชื่อรังสีนี้ว่า "รังสีเรินต์เกน" เพื่อเป็นเกียรติ แต่ตังเรินต์เกนเองกลับจงใจใช้ชื่อว่า "รังสีเอกซ์" เรื่อยมาการค้นพบรังสีเอกซ์ของเรินต์เกนไม่ใช่อุบัติเหตุ หรือจากการทางานตามลาพัง ในการเสาะแสวงหาคาตอบ เรินต์เกนและผู้คิดค้นในงานประเภทนี้ในหลายประเทศก็ได้ช่วยกันทาอยู่ การค้นพบเป็นสิ่งที่จะต้องเกิดอย่างเห็นๆ กันอยู่แล้ว ความจริงแล้ว รังสีเอกซ์ได้ถูกสร้างขึ้นและเกิดรูปในฟิล์มแล้วที่มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย 2 ปีก่อนหน้านั้น เพียงแต่ว่าคนที่ทดลองทาไม่ได้ตระหนักว่าตนเองได้ค้นพบสิ่งที่ยิ่งใหญ่เข้าแล้ว จึงเก็บฟิล์มเข้าแฟ้มสาหรับใช้อ้างอิงในการทดลองอื่นๆ ในอนาคต ทาให้พลาดในการได้ชื่อว่าตนเป็นผู้ค้นพบสิ่งสาคัญที่สุดทางฟิสิกส์
  • 18. อาเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง Alexander Flemming รูป 7 อาเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง ที่มา TIME Magazine Cover: Dr. Alexander Fleming -- May 15, 1944. Cover Credit: ERNEST เมื่อสงครามจบสิ้นลง เฟลมมิ่งได้เข้าทางานเป็นอาจารย์สอนที่วิทยาลัยเซนต์แมรี่ ในระหว่างที่เขาทางานอยู่ที่วิทยาลัยเซนต์แมรี่ เขาได้ทาการทดลองเกี่ยวกับแบคทีเรียตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า สเตปฟิโลคอกคัส (Staphylococcus) ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคเซฟติซีเมีย (Septicemia) หรือการติดเชื้อแบคทีเรียเลือด อาการของโรคจะทาให้ผู้ป่วยมีอาการปวดบาดแผลมาก และทาให้ เสียชีวิตได้ในเวลาต่อมา เฟลมมิ่งได้เพาะเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ลงบนจากแก้วเพื่อหาวิธีการฆ่าเชื้อโรคชนิดนี้ให้ได้ และยาฆ่าเชื้อต้องไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เขาพยายามค้นหาสารสกัดจากสิ่งต่าง ๆ หลายชนิด เช่น น้ามูก เนื่องจากครั้งหนึ่งเฟลมมิ่งป่วยเป็นหวัด มีน้ามูกไหล เขาคิดว่าน้ามูกเป็นสิ่งที่ร่างกายผลิตขึ้นมา ดังนั้นเขาจึงใช้น้ามูกหยดลงในจานที่มีแบคมีเรีย ผลปรากฏว่าสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ตายหมด แต่เป็น เชื้อแบคทีเรียที่ไม่ร้ายแรงนัก จากนั้นเฟลมมิ่งได้ทดลองนาสิ่งที่ร่างกายผลิตได้ทดลอง ต่อมาคือน้าตา เขาใช้น้าตา 2-3 หยด หยดลงในจานแบคทีเรีย ปรากฏว่าน้าตาสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ดีกว่าน้ามูกเสียอีก แต่น้าตาเป็นสิ่งที่หา ยากมาก เฟลมมิ่งจึงต้องหาอย่างอื่นมาทดแทน เขาพบว่าในน้าตามีเอนไซม์ ซึ่งน่าจะเป็นสิ่งที่ทาลายแบคทีเรียได้ 14
  • 19. เฟลมมิ่งได้นาเล็บ เส้นผม และผิวหนังมาทดลอง แต่เอนไซม์ที่สกัดได้มักมีผลกระทบต่อร่างกายในที่สุดเขาก็ค้นพบเอนไซม์ชนิดหนึ่งในไข่ขาวชื่อว่า ไลโซไซม์ แต่การแยกไลโซไซม์บริสุทธิ์ออกมาทาให้ยากมาก อีกทั้งเฟลมมิ่งขาดแคลนเครื่องมืออันทันสมัย คน และเวลา ดังนั้นเขาจึงเขียนบทความลงในวารสารฉบับหนึ่ง เพื่อหาเงินทุนในการทดลอง แต่ก็ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะไม่มีผู้ใดให้ความสนใจเลย ดังนั้นเรื่องนี้จึงต้องหยุดชะงัก แต่เพียงเท่านี้ แต่การทดลองหาวิธีฆ่าเชื้อโรคของเฟลมมิ่งไม่ได้หยุดแต่เพียงเท่านี้ เขาได้ทาการค้นหาวิธีอื่นที่ง่ายกว่านี้ ในปี ค.ศ.1928 เฟลมมิ่งได้เลื่อนตาแหน่งเป็นศาสตราจารย์ประจาภาควิชาแบคทีเรีย แต่เขาก็ยังคงทาการทดลองเพื่อค้นหาวิธีฆ่าเชื้อโรคต่อไป เฟลมมิ่งได้ซื้ออุปกรณ์ชนิดใหม่สาหรับเพาะเชื้อแบคทีเรีย โดยลักษณะเป็นจานแก้วใส ก้นตื้น มีฝาปิด เฟลมมิ่งได้ใส่พืชทะเลชนิดหนึ่งลงไปในจานทดลองที่มีแบคทีเรีย จากนั้นปิดฝาให้สนิทเพื่อป้ องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมหล่นลงไป แล้วจึงนาไปเก็บไว้ในที่ที่มีอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ซึ่งเท่ากับอุณหภูมิในร่างกายมนุษย์หน้าที่ในการดูแลจานแบคทีเรีย เฟลมมิ่งได้มอบให้กับผู้ช่วยของเขา อยู่มาวันหนึ่งผู้ช่วยของเขาลืมปิดฝาจาน อีกทั้งยังตั้งทิ้งไว้บนโต๊ะใกล้กับหน้าต่างห้องทดลองอีกด้วย ปรากฏว่ามีเชื้อราสีเทาเขียวมีลักษณะคล้ายกับราที่ขึ้นบนขนมปังอยู่เต็มไปหมด เฟลมมิ่งโกรธผู้ช่วยของเขามาก แต่ถึงอย่างนั้นเฟลมมิ่งก็ไม่ได้ทิ้งจานทดลองอันนี้ และนามาไว้ที่มุมหนึ่งของห้อง เมื่อเฟลมมิ่งได้ทาการทดสอบอีกครั้งหนึ่งอย่างละเอียดและพบว่า เชื้อราชนิดนี้ กินเชื้อแบคทีเรียนสเตปฟิโลคอกคัสได้เฟลมมิ่งได้เริ่มเพาะเชื้อราชนิดนี้ในขวดเพาะ เมื่อเพาะชื้อราได้จานวนมากพอ เฟลมมิ่งได้นา เชื้อแบคทีเรีย 6 ชนิด ใส่ลงในจาน แล้วนาเชื้อราใส่ลงไป ปรากฏว่าเชื้อราสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ถึง 4 ชนิด ที่เหลืออีก 2 ชนิด เป็นแบคทีเรียชนิดร้านแรงที่ทาให้เกิดโรคอย่างแอนแทรกซ์ และคอตีบจากนั้นเฟลมมิ่งได้สอบถามไปยังนักวิทยาศาสตร์ผู้มีความรู้ทั้งหลายว่า เชื้อราชนิดนี้ชื่ออะไร ในที่สุดเขาก็ได้คาตอบว่าเชื้อราชนิดนี้จัดอยู่ในกลุ่มเพนนิซิเลียม ชื่อว่า เพนนิซิเลียม อุมรูบรุม ต่อมาเฟลมมิ่งได้นาเชื้อราชนิดนี้มาสกัดเป็นยาชื่อว่า เพนนิซิลิน 15
  • 20. เฟลมมิ่งได้นายาชนิดนี้มาใช้กับสัตว์ทดลอง ซึ่งได้ผลเป็นอย่างดี แต่เขายังไม่กล้าใช้กับคน เพราะยังไม่สามารถสกัดเพนนิซิลินบริสุทธิ์ได้ เฟลมมิ่งได้ทดลองแยกเพนนิซิลินหลายวิธีแต่ก็ไม่สามารถแยกได้ ดังนั้นเฟลมมิ่งจึงเขียนบทความลงในวารสาร การแพทย์เล่มหนึ่ง ซึ่งมีนักวิทยาศาสตร์ให้ความสนใจ และสามารถแยกแพนนิซิลินบริสุทธิ์ได้สาเร็จ นักวิทยาศาสตร์ผู้นั้นก็คือ โฮวาร์ด วอลเทอร์ (Howard - Walter) นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลีย โรเบิร์ต คอค (เยอรมัน: Heinrich Hermann Robert Koch; 11 ธันวาคม พ.ศ. 2386 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) รูป 8 โรเบิร์ต คอค ที่มา http://www.school.net.th/library/create-web/10000/history/10000-1698.html โรเบิร์ต คอค (เยอรมัน: Heinrich Hermann Robert Koch; 11 ธันวาคม พ.ศ. 2386 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) เป็นนายแพทย์ชาวเยอรมัน ได้ศึกษาโรคที่เกิดจากแกะโดยเพาะเลี้ยงเชื้อนอกอวัยวะสัตว์จนสามารถอธิบายวงจรชีวิตของเชื้อดังกล่ าวได้เมื่อปี พ.ศ. 2419 (ค.ศ. 1876) ซึ่งภายหลังทราบกันดีว่าเป็นเชื้อที่ทาให้เกิดโรคแอนแทรค (Bacillus anthracis) นับว่าเป็นครั้งแรกที่มีการอธิบายบทบาทของเชื้อโรคต่อการเกิดโรคได้อย่างชัดเจน ต่อมาในปี พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) คอคได้ค้นพบเชื้อโรคที่ทาให้เกิดวัณโรค (Mycobacterium 16
  • 21. tuberculosis) และได้พัฒนาการสกัดสารชื่อ ทูเบอร์คูลิน (Tuberculin) ซึ่งช่วยในการตรวจสอบเชื้อวัณโรคได้ต่อมาในปี พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883) คอคเดินทางไปยังอินเดียและได้ค้นพบเชื้อที่ทาให้เกิดอหิวาตกโรค (Vibrio cholerae) และการเสนอสมมติฐานของคอค ซึ่งเป็นรากฐานของความรู้ทางโรคติดเชื้อในปัจจุบัน คอคได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ในปี พ.ศ. 2448 (ค.ศ. 1905) จึงได้ชื่อว่าเป็นผู้ริเริ่มสาขาวิชาจุลชีววิทยาสมัยใหม่ ร่วมกับคู่แข่งของเขาที่ปารีส คือหลุยส์ ปาสเตอร์ คอคเป็นผู้วางรากฐานการศึกษาการติดเชื้อและก่อตั้งสาขาวิชาเวชศาสตร์เขตร้อนในเยอรมัน เอดเวิร์ด เจนเนอร์ (อังกฤษ: Edward Jenner; 17 พฤษภาคม 2292 — 26 มกราคม 2366) รูป 9 เอดเวิร์ด เจนเนอร์ ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/ Edward Jenner เอดเวิร์ด เจนเนอร์ (อังกฤษ: Edward Jenner; 17 พฤษภาคม 2292 — 26 มกราคม 2366) เป็นแพทย์ชนบทชาวอังกฤษผู้ซึ่งศึกษาธรรมชาติและสภาพแวดล้อมในวัยเด็ก และได้รับการฝึกหัดทางการแพทย์ที่เมือง Berkeley มณฑล Gloucestershire สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงในฐานะแพทย์คนแรกที่ศึกษาและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้ องกันโรคไข้ทรพิษ 17
  • 22. เอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี (อิตาลี: Evangelista Torricelli) รูป 10 เอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี ที่มา ประทีป ชูหมื่นไวย์. การค้นพบโดยบังเอิญในวงการวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: อักษรวัฒนา, ตุลาคม 2549 การประดิษฐ์คิดค้นของโตร์ริเชลลีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ เครื่องวัดความดันอากาศ หรือ บารอมิเตอร์ (barometer) ซึ่งเกิดขึ้นจากการแก้ปัญหาการทดลองที่สาคัญ การสร้างน้าพุกลางบ่อที่ขุดลึกประมาณ 16-18 เมตร ของแกรนด์ดยุกแห่งทัสโคนี พยายามสูบน้าในท่อให้สูง 12 เมตรหรือมากกว่า โดยขณะลูกสูบยกน้าขึ้น จะเกิดสุญญากาศทาให้เกิดแรงยกของเหลวขึ้นที่ปลายท่อขาออก แต่ค้นพบว่า ไม่ว่าทาอย่างไรก็ขึ้นไปได้เพียงขีดจากัดที่ 9-10 เมตร ไม่สามารถสูบให้สูงกว่านี้ เมื่อ พ.ศ. 2186 (1643) โตร์ริเชลลี ทดลองเพิ่มเติมโดยใช้ ปรอท ซึ่งหนักเป็น 13-14 เท่า ของน้า และพบว่า ได้ผลทานองเดียวกัน โดยขีดจากัดต่ากว่าเขาสร้างท่อที่มีความยาวประมาณ 1 เมตร บรรจุด้วยปรอท ปลายข้างหนึ่งตัน แล้วติดตั้งในแนวตั้ง ให้ปลายอีกข้างจมอยู่ในอ่าง ปรอทในท่อถูกยกขึ้นไปกับท่อได้สูงเพียงประมาณ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร แม้ว่าท่อจะถูกยกให้สูงกว่านี้ ภายในเหนือปรอทเป็นสุญญากาศ (Torricellian vacuum) วิธีนี้เป็นที่มาของหน่วยเทียบความดันของอากาศ โดยความดันอากาศที่ระดับน้าทะเลเท่ากับ 760 มิลลิเมตรของปรอท และที่ระดับความสูงกว่าระดับน้าทะเล ความดันอากาศจะน้อยกว่า 760 มิลลิเมตรของปรอท 19
  • 23. เมื่อ พ.ศ. 2184 เขาประกาศการค้นพบนี้ว่า : [3] " บรรยากาศ เป็นตัวการทาให้เกิดแรงกดของอากาศเปลี่ยนไปในเวลาต่างกัน "และสิ่งนี้คือ เครื่องวัดความดันอากาศ เครื่องแรก เป็นการค้นพบที่สร้างชื่อเสียงตลอดกาลแก่เขา หลายศตวรรษต่อมา ชื่อหน่วยในการวัดความดัน จึงถูกตั้งตามชื่อนามสกุลของเขาว่า ทอร์ (torr) ซึ่งก็คือ หน่วย มิลลิเมตรปรอท นั่นเอง โดยเทียบ 1 มิลลิเมตรปรอท หรือ 1 ทอร์ เท่ากับประมาณ 133.322 ปาสคาล ในหน่วยอนุพันธ์ของหน่วยเอสไอ เขายังทดลองต่อมา พบอีกว่า แรงดันหรือความดันอากาศ ในแต่ะวัน จะแตกต่างเปลี่ยนแปลงไปเล็กน้อย นอกจากนี้ปัจจุบัน เข้าใจกันดีว่า ความสูงของของเหลวในท่อ แปรผกผันกับ ความดันอากาศ (ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละระดับความสูง) อีกด้วย เฟรเดอริก แกร์นท์ แบนติง (อังกฤษ: Sir Frederick Grant Banting, KBE, MC, MD, FRSC) รูป 11 เฟรเดอริก แกร์นท์ แบนติง ที่มา www.Banting, Best, Macleod, Collip: Chasing a Cure for Diabetes.com 20
  • 24. เฟรเดอริก แกร์นท์แบนติง (อังกฤษ: Sir Frederick Grant Banting, KBE, MC, MD, FRSC - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2434 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484) นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชาวแคนาดา แพทย์และผู้ได้รับรางวัลโนเบลจากการร่วมเป็นผู้ค้นพบอินซูลิน แบนติงเกิดที่เมืองอัลลิสตัน ออนทาริโอ ประเทศแคนาดา หลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโทรอนโตเมื่อ พ.ศ. 2459 ได้เข้ารับราชการทหารหน่วยการแพทย์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และได้รับไม้กางเขนระหว่างสงคราม หลังสงครามได้กลับประเทศและเข้ารับการฝึกหัดเป็นศัลยแพทย์กระดูกที่โรงพยาบาลเด็กในโทรอนโต ระหว่างปี พ.ศ. 2462 - พ.ศ. 2463 และในฤดูร้อนปีนั้น แบนติงได้ไปทางานเป็นแพทย์ในออนทาริโอ ในขณะที่กาลังอ่านบทความจากวารสารการแพทย์ เขาได้บันทึกความคิดเกี่ยวกับวิธีการแยกสารหลั่งภายในของตับอ่อน ซึ่งจะเป็นขั้นตอนสาคัญมากที่จะช่วยให้การรักษาโรคเบาหวานที่ได้ผล ซึ่งในขั้นนี้เองที่ขั้นตอนทั้งหมดที่เคยทากันมาเพื่อแยกสารเพื่อให้แก่คนไข้ล้มเหลวมาโดยตลอด ด้วยความที่แบนติงไม่ค่อยชอบการทางานเป็นแพทย์แต่มีความสนใจตื่นเต้นกับความคิดนี้มาก เขาจึงย้ายจากออนทาริโอไปโทรอนโตโดยได้เริ่มงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยโทรอนโต เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 ภายใต้การดูแลของศาสตราจารย์จอห์น แมคลอยด์ แบนติงได้รับมอบนักศึกษาปริญญาโทคนหนึ่งให้มาเป็นผู้ช่วย คือ ชาร์ล เบส แบนติงได้ทาการทดลองอย่างหนัก โดยการผ่าตัดสุนัขเพื่อมัดท่อตับอ่อน เพื่อทาให้เกิดการฝ่อบางส่วนแล้วจึงตัดเอาตับอ่อนออกในสัปดาห์ต่อมา โดยหวังว่าตับอ่อนจะมีสารหลั่งที่สะอาด เข้มข้นและไม่ปนเปื้อน จากนั้นจะทาการสะกัดไปรักษาสุนัขที่ป่วยเป็นเบาหวานโดยการรักษาด้วยการลดน้าตาลในเลือดเพื่อดู ว่าจะได้ผลหรือไม่ หลายเดือนต่อมา ดูเหมือนว่าวิธีการของแบนติงจะได้ผลเนื่องจากเขาสามารถทาให้สุนัขมีชีวิตอยู่ได้ด้วยการลดระดับน้าต าลในเลือดลง และได้รีบรายงานให้แมคลอยด์ได้รับทราบ 21
  • 25. ยังมีข้อสงสัยว่าวิธีของแบนติงยังหยาบและไม่ได้ผลจริง ต่อมา จากการเข้าลงมือร่วมวิจัยโดยตรงของแมคลอยด์ และนักเคมีชื่อเจมส์ คอลลิบ พบว่าการใช้ตับอ่อนของสุนัขได้ผลในทางปฏิบัติ จึงย้ายไปทากับลูกวัวและวัว เทคนิคการผูกท่อตับอ่อนถูกยกเลิกไป หันมาใช้วิธีสะกัดที่ได้ผลดีในตับธรรมดาที่ไม่ต้องมัดท่อ และเรียกสารที่สะกัดได้นี้ในระหว่าง พ.ศ. 2464-2465 ว่า "อินซูลิน" การกระทานี้ได้รับการสรรเสิญว่าเป็นความก้าวหน้าสูงสุดในยุคนั้น ไม่เพียงการค้นพบเพียงอินซูลิน แต่ยังสามารถทาการผลิตเป็นจานวนมากในเวลานับได้เป็นเดือนเท่านั้น เรียกได้ว่าสามารถช่วยชีวิตคนนับล้านทั่วโลกที่ป่วยจากโรคต่อมไร้ท่อและโรคเบาหวานซึ่งไม่สามารถ รักษาและพยากรณ์โรคในขณะนั้นได้ทันที ผู้ป่วยจากปัญหาการเผาผลาญไขมันและโปรตีนซึ่งนาไปสู่การตาบอดและเสียชีวิตในเวลาต่อมา สามารถรับการรักษาได้ตั้งแต่เริ่มเป็นโรค แบนติง และ แมคลอยด์ ได้รับรางวัลโนเบล สาขาการแพทย์แบนติงได้แบ่งเงินรางวัลให้เบสท์ เพราะเชื่อว่าเบสท์สมควรได้รับรางวัลมากกว่าแมคลอยด์ ผู้ซึ่งต่อมาก็ได้แบ่งเงินรางวัลให้แก่คอลลิบด้วยเช่นกัน แบนติงได้สร้างความปลาบปลื้อให้แก่ชาวแคนาดาเป็นอันมาก เนื่องจากเขาเป็นบุคคลแรกที่สร้างชื่อเสียงในระดับโลกให้แก่แคนาดา รัฐบาลแคนาดาได้การสนับสนุนเงินวิจัยแก่แบนติงไปตลอดชีวิต ในปี พ.ศ. 2477 พระเจ้าจอร์จ ที่ 5 แห่งอังกฤษ ได้พระราชทานบรรดาศักดิ์ชั้นเซอร์แก่แบนติงเป็น เซอร์ เฟรเดอริก แบนติง เฟรดริก ไบเออร์ 22
  • 26. รูป 12 เฟรดริก ไบเออร์ ที่มา http://didyouknow.org/thai/aspirinthai.htm ยาแอสไพรินเป็นผลงานที่โด่งดังที่สุดของฮอฟฟ์แมนน์ แต่เขาก็ยังมีความสาเร็จเรื่องอื่นอีก ไม่กี่วันภายหลังจากที่ฮอฟฟ์ แมนน์สังเคราะห์กรดอะซิติลซาลิซิลิกได้ เขาก็ผลิตสารประกอบออกมาอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งบริษัทไบเออร์หวังว่าจะเป็นที่นิยมกันอย่างมาก แต่เป็นความนิยมที่มีผลร้ายกาจอยู่ใน ทุกวันนี้ สารประกอบที่ว่าคือไดอะซิติลมอร์ฟีน หรือเฮโรอีน ซึ่งมีผู้สังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ ไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา โดยนักเคมีชาวอังกฤษชื่อซี. อาร์. เอ. ไรท์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 แพทย์ยังคงพิจารณาสั่งยาเฮโรอีนให้คนไข้อยู่บ้าง แต่มาถึงปี 1931 ก็แทบจะไม่มีแพทย์ในประเทศใดใช้เฮโรอีน กันแล้ว ในช่วงเริ่มต้น บริษัทของเฟรดริกไบเออร์ผลิตเฉพาะสารอนิลิน ไบเออร์เสียชีวิตในปี 1880 โดยที่ไม่ได้คิดเลยว่าบริษัทไบเออร์จะกลายมาเป็นยักษ์ใหญ่ในวงการเภสัชกรรมของโลกนับจนถึงปี 1891 ไบเออร์นาผลิตภัณฑ์ยาหลากหลายชนิดออกสู่ตลาด ทุกวันนี้บริษัทมีผลิตภัณฑ์มากกว่า 10,000 ชนิดทุกวันนี้เป็นที่รู้กันว่ายาแอสไพรินสามารถป้ องกันการเกิดหัวใจวาย โรคลมปัจจุบัน และเมื่อไม่นานมานี้ก็พบว่าการกินแอสไพรินจะช่วยป้ องกันมะเร็งได้ด้วย เมื่อครั้งที่ยานอพอลโล 11 ออกไปสารวจดวงจันทร์ ยาชนิดนี้ก็ได้เดินทางสู่อวกาศโดยบรรจุอยู่ในชุดปฐมพยาบาล แถมยังได้ขึ้นปกนิวสวีคในปี 1969 มาแล้วด้วย อังตวน แวน เลเวนฮุค 23
  • 27. รูป 13อังตวน แวน เลเวนฮุค ที่มา Dobell, C. (1932, 1960) Anthony van Leeuwenhoek and his little animals. อังตวน แวน เลเวนฮุค (ดัตช์: Antonie van Leeuwenhoek; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1632 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1723) นักวิทยาศาสตร์ชาวดัตช์ ได้ชื่อว่าเป็น "บิดาแห่งวิชาจุลชีววิทยา" และถือว่าเป็นนักจุลชีววิทยาคนแรก เขามีชื่อเสียงจากการพัฒนากล้องจุลทรรศน์ และมีส่วนสาคัญในการก่อตัังสาขาวิชา จุลชีววิทยา เขาเป็นคนแรกที่สังเกตเห็นและสามารถบรรยายองค์ประกอบของเซลล์โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์ของเ ขาที่สร้างขึ้นด้วยมือ นอกจากนี้เขายังเป็นคนแรกที่บันทึกผลสังเกตเส้นใยของกล้ามเนื้อ, แบคทีเรีย, สเปอร์มาโตซัว และการไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอย แวน เลเวนฮุค ไม่ได้เขียนหนังสือใดเป็นจริงเป็นจัง แต่เขียนจดหมายเอาไว้มาก มารี กูรี (Marie Curie) รูป 14 มารี กูรี (Marie Curie) ที่มา http://hilight.kapook.com/view/72163
  • 28. มารี กูรี เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1867 (พ.ศ. 2410) และเสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ปี ค.ศ. 1934 (พ.ศ. 2477) ในวัย 66 ปี ซึ่งเรียกได้ว่าเธอเป็นผู้หญิงเก่งแห่งยุคคนหนึ่งเลยทีเดียว เพราะในขณะที่ผู้หญิงส่วนใหญ่ในยุคสมัยของเธอไม่ได้รับการศึกษา หรือโอกาสเท่าเทียมกับผู้ชายนัก เธอกลับมุ่งมั่นศึกษาค้นคว้าจนกระทั่งค้นพบรังสีเรเดียมที่สามารถยับยั้งการขยายตัวของโรคมะเร็งได้ใ นที่สุด จนเป็นผลให้เธอได้รับรางวัลโนเบล ยิ่งไปกว่านั้น นอกจากความเฉลียวฉลาดของเธอแล้ว การอุทิศตัวให้สังคมของเธอก็ยังทาให้หลาย ๆ คนประทับใจอีกด้วย เพราะเธอเลือกที่จะไม่จดสิทธิบัตรสิ่งที่เธอค้นพบซึ่งจะทาให้เธอกลายเป็นเศรษฐีได้สบาย ๆ แต่กลับเลือกอุทิศตัวเพื่อส่วนรวมและค้นคว้าต่อไปจนกระทั่งเสียชีวิตจากการใกล้ชิดรังสีเรเดียมมากเกิ นไป ในที่สุด ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Robert Darwin) รูป 15 ชาลส์ ดาร์วิน ที่มา http://hilight.kapook.com/view/72163 ชาลส์ ดาร์วิน เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 (พ.ศ. 2352) และเสียชีวิตลงในวัย 73 ปี ในวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1882 (พ.ศ. 2425) ซึ่งจนกระทั่งยุคปัจจุบัน ทฤษฎีที่นักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติคนนี้คิดค้นขึ้นก็งยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เพราะมีทั้งคนที่ยอมรับและโต้แย้งในเวลาเดียวกัน โดยดาร์วินได้เขียนนังสือเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสัตว์ต่าง ๆ ขึ้นมา ซึ่งอ้างว่าสัตว์ทั้งหลายจะปรับสภาพร่างกายเพื่อให้เข้ากับการใช้ชีวิตและสภาพแวดล้อมทาให้มีลักษณะ 24
  • 29. เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ จนกลายเป็นวิวัฒนาการ ซึ่งแม้ในปัจจุบันเขาจะได้รับยกย่องเป็นนักวิทยาศาสตร์อัจฉริยะคนหนึ่ง แต่อีกส่วนหนึ่งก็ยังมีผู้ที่ปฏิเสธแนวคิดของเขาเช่นกัน โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestly) รูป 16 โจเซฟ พริสต์ลีย์ที่มา http://guru.sanook.com/pedia/topicJoseph_Priestly)/ ผู้ได้ฉายาบิดาแห่งวิชาเคมีก๊าซ (Father of Pneumatic Chemistry) เป็นหนึ่งในนักเคมีผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในยุค ศตวรรษที่ 18 ผู้ค้นพบการใช้แอมโมเนีย พริสต์ลีย์เป็นชาวอังกฤษ บิดาของเขามีอาชีพเป็นช่างทอผ้าที่มีฝีมือมากคนหนึ่ง แต่ฐานะก็ไม่ได้ร่ารวยมากมาย แต่บิดาของเขาก็เล็งเห็นความสาคัญของการศึกษา จึงได้ส่งเขาร่าเรียนจนถึงขั้นระดับมหาวิทยาลัยในลอนดอน (London University) ในสาขาด้านอักษรศาสตร์และปรัชญา ซึ่งเป็นวิชาที่เขาสนใจเรียนมาตั้งแต่เด็ก ทาให้เขาได้เรียนรู้ภาษาต่างๆเช่น กรีก ละติน และฮิบรู ช่วยทาให้เขาสามารถอ่านภาษาต่างๆได้มากมาย รวมทั้งยังสนใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ตั้งแต่นั้นมา จนเขาจบมาเป็นอาจารย์สอนวิชาด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดีที่สถาบันวอร์ริงตัน (Warrington Academy) พริสต์ลีย์มีความสนใจด้านวิทยาศาสตร์แต่เขามีความรู้ด้านนี้น้อย แต่อาศัยการอ่านจากตารับตารา มากมายและโชคดีที่เขาสามารถอ่านภาษา ละติน และ กรีกได้ดี 25