SlideShare a Scribd company logo
1
มัณฑัพยชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๖. มัณฑัพยชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๔๔)
ว่าด้วยมัณฑัพยคหบดี
(ดาบสกระทาสัจจวาจาว่า)
[๖๒] อาตมาต้องการบุญ มีจิตเลื่อมใส ประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้เพียง
๗ วันเท่านั้น ต่อแต่นั้น แม้จะไม่พอใจประพฤติพรหมจรรย์ ก็ยังประพฤติมาเกิน
๕๐ ปี ด้วยสัจจวาจานี้ ขอจงมีความสวัสดี ขอพิษจงคลาย
ขอยัญญทัตต์กุมารจงรอดชีวิต
(บิดากระทาสัจจวาจาว่า)
[๖๓] เพราะแต่ไหนแต่ไรมา ข้าพเจ้าเห็นแขกในเวลามาพัก
ก็ไม่ยินดีให้พัก อนึ่ง สมณะและพราหมณ์ทั้งหลายแม้ผู้เป็ นพหูสูต
ก็ไม่ทราบความที่ข้าพเจ้าไม่พอใจ ข้าพเจ้าแม้จะไม่พอใจก็ตาม ก็ยังให้ทาน
ด้วยสัจจวาจานี้ ขอจงมีความสวัสดี ขอพิษจงคลาย ขอยัญญทัตต์ลูกพ่อจงรอดชีวิต
(มารดากระทาสัจจวาจาว่า)
[๖๔] ลูกรัก อสรพิษที่มีพิษร้ายแรงตัวใด ได้โผล่ขึ้นจากปล่องมากัดเจ้า
วันนี้ อสรพิษตัวนั้น และบิดาของเจ้า ไม่มีความแตกต่างกันเลย
เพราะไม่ได้เป็ นที่รักของแม่ ด้วยสัจจวาจานี้ ขอจงมีความสวัสดี ขอพิษจงคลาย
ขอยัญญทัตต์ลูกชายจงรอดชีวิต
(นายมัณฑัพยะถามทีปายนดาบสว่า)
[๖๕] ชนบางพวกผู้สงบระงับ ฝึกตนแล้ว บวชเป็ นดาบส
มีรูปร่างไม่น่าใคร่ไม่มีเลย นอกเสียจากกัณหดาบส ท่านทีปายนดาบส
ท่านรังเกียจอะไร จึงไม่พอใจประพฤติพรหมจรรย์
(ทีปายนดาบสตอบว่า)
[๖๖] กัณหดาบสนั้นเป็ นคนโง่จริงหนอ เหมือนกับเด็กใบ้น้าลาย
ออกบวชด้วยศรัทธาแล้วยังกลับไปหาสิ่งนั้นอีก อาตมารังเกียจวาทะเช่นนี้
ถึงไม่พอใจก็ยังประพฤติพรหมจรรย์
ซึ่งเป็ นฐานะที่วิญญูชนสรรเสริญและเป็ นฐานะของสัตบุรุษ
อาตมาจึงบาเพ็ญบุญแม้อย่างนี้
(ทีปายนดาบสย้อนถามว่า)
[๖๗] ท่านเลี้ยงดูสมณะ พราหมณ์ และคนเดินทาง
ให้อิ่มหน่าด้วยข้าวและน้า เรือนของท่านนี้เพียบพร้อมด้วยข้าวและน้า
มีภักษาหารเปรียบดังอู่ข้าวอู่น้า เมื่อเป็นเช่นนั้น ท่านรังเกียจวาทะอะไร
ถึงไม่พอใจก็ยังให้ทานนี้
2
(นายมัณฑัพยะตอบว่า)
[๖๘] บิดาและปู่ของข้าพเจ้าเป็ นคนมีศรัทธา เป็ นทานบดี
เป็นผู้รู้ความประสงค์ของผู้ขอ ข้าพเจ้าผู้ประพฤติตามประเพณีของตระกูลนั้น
อย่าได้ชื่อว่า เป็นคนทาลายตระกูลคนสุดท้ายเลย ข้าพเจ้ารังเกียจวาทะเช่นนั้น
ถึงไม่พอใจก็ยังคงให้ทานนี้
(นายมัณฑัพยะถามภรรยาว่า)
[๖๙] นี่นางผู้มีทรวดทรงงาม เราได้นาเจ้าผู้ยังเป็นหญิงวัยรุ่น
ยังไม่มีปัญญาสามารถจัดแจงทรัพย์ได้มาจากตระกูลญาติ
และเจ้าก็มิได้บอกให้รู้ถึงความที่เจ้าไม่รักเรา ยังบาเรอเราโดยปราศจากความรัก
เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร เจ้าจึงยังอยู่ร่วมกับเราอย่างนี้ แม่นางผู้เจริญ
(ภรรยาตอบว่า)
[๗๐] ตั้งแต่ไหนแต่ไรเนิ่นนานมาแล้ว
หญิงสาวคนหนึ่งทิ้งสามีแล้วได้ชายอื่นเป็ นสามีไม่มีในตระกูลนี้
ขอดิฉันผู้ประพฤติตามประเพณีของตระกูลนั้น อย่าชื่อว่า
เป็นคนทาลายตระกูลคนสุดท้ายเลย ดิฉันรังเกียจวาทะเช่นนั้น
ถึงไม่พอใจก็ยังบาเรอท่านอยู่
(ภรรยากล่าวขอโทษนายมัณฑัพยะผู้เป็นสามีว่า)
[๗๑] ท่านมัณฑัพยะ วันนี้ดิฉันพูดคาที่ไม่ควรพูด เพื่อเห็นแก่ลูก
ขอท่านจงอดโทษถ้อยคาที่ดิฉันพูดนั้นเถิด ไม่มีสิ่งอื่นใดในโลกนี้
จะยิ่งไปกว่าความรักลูก ขอยัญญทัตต์ลูกของเรานั้นจงรอดชีวิตเถิด
มัณฑัพยชาดกที่ ๖ จบ
--------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
มัณฑัพยชาดก
ว่าด้วย ความรักที่มีต่อบุตร
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภภิกษุผู้กระสันรูปหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้
ส่วนเนื้อเรื่องจักมีแจ้งใน กุสราชชาดก.
พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ
ได้ยินว่าเธอกระสันจริงหรือ? เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า จริงพระเจ้าข้า ดังนี้
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เมื่อครั้งพระพุทธเจ้ายังไม่เกิดขึ้น
โบราณกบัณฑิตได้บวชในลัทธินอกพุทธศาสนา ไม่มีความยินดี
ยังประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้กว่า ๕๐ ปี
ไม่แสดงความที่ตนกระสันให้ปรากฏแก่ใครๆ เพราะกลัวหิริโอตตัปปะจะทาลาย
เธอบวชในศาสนาที่จะนาออกจากทุกข์เห็นปานนี้
3
ตั้งอยู่เฉพาะพระพักตร์ของพระพุทธเจ้าผู้เป็นครูเช่นเรา
เหตุไรจึงทาความกระสันให้ปรากฏในท่ามกลางบริษัท ๔
เหตุไรจึงไม่รักษาหิริโอตตัปปะของตนไว้
แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล
พระราชาทรงพระนามว่าโกสัมพิกะ ครองราชสมบัติอยู่ในพระนครโกสัมพีแคว้น
วังสะ ครั้งนั้น ณ นิคมแห่งหนึ่ง มีพราหมณ์สองคนมีสมบัติคนละ ๘๐ โกฏิ
เป็นสหายรักกันเห็นโทษในกามคุณ ให้ทานเป็นการใหญ่ แล้วทั้งสองก็ละกาม
ทั้งๆ ที่มหาชนกาลังร้องไห้คร่าครวญอยู่
ได้ออกไปสร้างอาศรมบวชอยู่ในถิ่นหิมพานต์
เที่ยวแสวงหาเผือกมันผลไม้เลี้ยงชีพอยู่ ๕ ปี ยังไม่สามารถทาฌานให้เกิดขึ้นได้.
ครั้นล่วงไป ๕๐ ปี เพื่อต้องการจะเสพรสเค็มรสเปรี้ยว
จึงเที่ยวไปตามชนบทถึงแคว้นกาสี ณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งในแคว้นกาสีนั้น
ท่านทีปายนดาบสมีสหายคฤหัสถ์อยู่คนหนึ่ง
ชื่อมัณฑัพยะ ทั้งสองดาบสได้ไปเยี่ยมเขา เขาเห็นสองดาบสนั้นแล้วก็มีความยินดี
สร้างบรรณศาลาถวายแล้วบารุงด้วยปัจจัย ๔
สองดาบสอยู่ที่นั้น ๓-๔ พรรษาแล้วลานายมัณฑัพยะ
เที่ยวจาริกไปถึงเมืองพาราณสี อาศัยอยู่ในอธิมุตติกสุสาน ทีปายนดาบสอยู่ ณ
ที่นั้นพอควรแก่อัธยาศัยแล้ว ก็กลับไปสู่สานักสหายนั้นอีก
แต่มัณฑัพยะดาบสยังอยู่ที่ป่าช้านั้นเอง.
อยู่มาวันหนึ่ง โจรคนหนึ่งขโมยของภายในเมือง ถือเอาทรัพย์ออกไป
เมื่อเจ้าของเรือนและเจ้าหน้าที่ตื่นขึ้นรู้ว่าขโมย ก็พากันตามจับ
จึงหนีออกทางท่อน้า
รีบวิ่งเข้าป่าช้าทิ้งห่อทรัพย์ไว้ที่ประตูบรรณศาลาแห่งพระดาบสแล้วหนีไป
พวกมนุษย์ที่ตามจับเห็นห่อทรัพย์เข้าจึงคุกคามว่า ไอ้ชฎิลร้าย
กลางคืนเจ้าเที่ยวขโมยเขา กลางวันทาถือเพศดาบสอยู่
ทุบตีแล้วจับตัวนาส่งพระราชา พระราชาไม่ทรงพิจารณาก่อน
รับสั่งให้ราชบุรุษเอาตัวไปเสียบหลาวเสีย
พวกราชบุรุษนาตัวไปเสียบหลาวไม้ตะเคียนที่ป่าช้านั้น เสียบหลาวไม่เข้า
จึงเปลี่ยนเอาหลาวไม้สะเดาเสียบก็ไม่เข้าอีก เอาหลาวเหล็กเสียบก็ไม่เข้า
ดาบสจึงใคร่ครวญดูบุพกรรมของตน ลาดับนั้น
ท่านก็เกิดญาณเครื่องระลึกชาติได้ ใช้ญาณนั้นใคร่ครวญดูก็ได้รู้แล้ว
ถามว่า ก็อะไรเป็ นบุพกรรมของท่าน
ตอบว่า การเอาหนามไม้ทองหลางเสียบแมลงวัน
เป็นบุพกรรมของท่าน.
4
นัยว่า ในภพก่อนท่านเกิดเป็นบุตรนายช่างไม้ ไปถากไม้กับบิดา
จับแมลงวันมาตัวหนึ่งแล้วเอาหนามไม้ทองหลางมาเสียบ
บาปกรรมนั้นเองมาถึงเข้า
ท่านรู้ตัวว่า ไม่อาจพ้นบาปกรรมนี้ได้ จึงได้กล่าวกะราชบุรุษว่า
ถ้าท่านต้องการจะเอาหลาวเสียบเราจงเอาหลาวไม้ทองหลาง
พวกราชบุรุษก็กระทาตามเสียบเข้าแล้วก็วางคนซุ่มรักษาอยู่แล้วหลีกไป
พวกที่ซุ่มรักษาอยู่ได้คอยดูผู้ที่จะมาหาดาบส.
ครั้งนั้น ทีปายนดาบสคิดว่า
เราไม่ได้พบสหายนานแล้วจึงมาสานักของท่านมัณฑัพยะดาบส ได้ฟังข่าวในระห
ว่างทางในวันนั้นเองว่า มัณฑัพยะดาบสถูกหลาวเสียบก็ไป ณ ที่นั้นแล้วยืนอยู่ ณ
ส่วนข้างหนึ่ง
ถามว่า เพื่อน! ท่านได้ทาผิดอย่างไรหรือ ?
เมื่อดาบสนั้นตอบว่า เราไม่ได้ทาผิด
จึงถามว่า ท่านอาจจะรักษาใจตนไม่ให้มีความขุ่นเคืองได้หรือไม่?
มัณฑัพยะดาบสตอบว่า เพื่อน! ผู้ที่จับเรามาส่งพระราชา
เรามิได้มีใจขุ่นเคืองเลย
ทีปายนดาบสกล่าวว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น
ร่มเงาของผู้มีศีลเช่นท่านเป็นความสุขสาหรับเรา แล้วเข้าไปนั่งพิงหลาวอยู่
หยาดโลหิตที่ออกจากตัวมัณฑัพยะดาบสก็หยดลงต้องทีปายนดาบส
หยาดโลหิตเหล่านั้นหยดลงที่สรีระอันมีสีดุจทอง แห้งดาไปทั้งตัว
ตั้งแต่นั้นมา
ท่านจึงได้นามเติมต้นว่ากัณหทิปายนะ ท่านนั่งพิงหลาวนั้นเองตลอดคืนยังรุ่ง
วันรุ่งขึ้น พวกคนรักษาจึงไปกราบทูลเหตุการณ์นั้นแด่พระราชา
พระราชาทรงพระดาริว่า เรื่องนี้เราทาลงไปโดยไม่พิจารณา
จึงรีบเสด็จไปที่นั้นแล้ว
ตรัสถามทีปายนดาบสว่า ดูก่อนบรรพชิต
เหตุไรท่านจึงนั่งพิงหลาวอยู่?
ทีปายนดาบสตอบว่า มหาบพิตร อาตมภาพนั่งรักษาดาบสนี้อยู่
ก็มหาบพิตรทรงทราบแล้วหรือว่า ดาบสนี้ทาผิดหรือไม่ได้ทาผิด
จึงได้ลงพระราชอาญาอย่างนี้
พระราชาตรัสบอกว่า ลงโทษไปโดยไม่พิจารณา.
พระดาบสจึงกล่าวแก่พระราชาว่า มหาบพิตร
ธรรมดาพระราชาควรจะพิจารณาก่อนแล้วจึงกระทาดังนี้ แล้วแสดงธรรมว่า
คฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ถ้าเป็นคนเกียจคร้านแล้วไม่ดีดังนี้เป็ นต้น
พระราชาทรงทราบว่า มัณฑัพยะดาบสไม่มีความผิด
5
จึงรับสั่งให้ถอนหลาวออก พวกราชบุรุษไม่สามารถจะถอนหลาวออกได้
มัณฑัพยะดาบสทูลพระราชาว่า มหาบพิตร
อาตมภาพถึงความพินาศย่อยยับอย่างนี้ก็ด้วยอานาจกรรมที่ได้ทาไว้แต่ปางก่อน
ไม่มีใครอาจถอนหลาวออกจากตัวอาตมภาพได้
ถ้าพระองค์มีพระราชประสงค์จะพระราชทานชีวิตแก่อาตมภาพไซร้
ก็จงโปรดให้เอาเลื่อยมาตัดหลาวนี้ให้เสมอหนัง
พระราชารับสั่งให้กระทาตามนั้น
ภายในร่างกายได้มีหลาวอยู่ภายในเรื่อยมา.
ได้ยินว่า ครั้งนั้น ดาบสนั้นเอาหนามทองหลางเรียวๆ
เสียบก้นแมลงวัน หนามทองหลางติดอยู่ในตัวแมลงวัน
แต่แมลงวันไม่ตายเพราะถูกเสียบ ตายเมื่อหมดอายุของตน ฉะนั้น
ดาบสนี้จึงไม่ตาย. พระราชาทรงนมัสการพระดาบสทั้งสองให้ขมาโทษแล้ว
นิมนต์ให้อยู่ในพระราชอุทยาน ทรงบารุงแล้ว.
ตั้งแต่นั้นมา
มัณฑัพยะดาบสได้ชื่อเติมหน้าว่า อาณิมัณฑัพยะ ท่านอาศัยพระราชาอยู่ในพระร
าชอุทยานนั้น
ส่วนทีปายนดาบสรักษาแผลมัณฑัพยดาบสหายดีแล้วไปสานักนายมัณฑัพยะผู้เป็
นสหายคฤหัสถ์ของตน.
บุรุษผู้หนึ่งเห็นทีปายนดาบสนั้นเข้าไปสู่บรรณศาลา
จึงบอกแก่นายมัณฑัพยะผู้เป็นสหาย นายมัณฑัพยะนั้นได้ฟังข่าวก็ยินดี
พาบุตรภรรยาถือเครื่องสักการะมีของหอมดอกไม้และเครื่องลูบไล้เป็ นต้น
เป็นอันมากไปสู่บรรณศาลา ไหว้ทีปายนดาบสแล้ว ล้างเท้าทาน้ามันให้
ถวายน้าปานะให้ดื่ม แล้วนั่งฟังข่าวอาณิมัณฑัพยะดาบส
ครั้งนั้น บุตรของเขาชื่อยัญญทัตตกุมารเล่นลูกข่างอยู่ในที่สุดที่จงกรม
ก็ที่จอมปลวกแห่งหนึ่งใกล้บรรณศาลานั้น มีอสรพิษตัวหนึ่งอาศัยอยู่
ลูกข่างที่กุมารปาเหนือพื้นดินได้เข้าไปตกถูกศีรษะอสรพิษในโพรงจอมปลวก
กุมารนั้นไม่รู้จึงเอามือล้วงเข้าไปในโพรง ครานั้นอสรพิษเดือดดาลจึงกัดเอามือ
เขาสลบล้มลง ณ ที่นั้นด้วยกาลังอสรพิษ
ลาดับนั้น มารดาบิดารู้ว่าลูกถูกอสรพิษกัด
จึงยกกุมารขึ้นแล้วอุ้มมาที่พระดาบสให้นอนลง แทบเท้าแล้วกล่าวว่า ท่านเจ้าข้า
ธรรมดาบรรพชิตย่อมจะรู้โอสถหรือปริต
ขอท่านได้โปรดทาบุตรของข้าพเจ้าให้หายโรคเถิด. พระดาบสกล่าวว่า
เราไม่รู้โอสถ เราเป็ นบรรพชิตจักทาเวชกรรมไม่ได้.
พระดาบสถูกเขาขอร้องว่า ถ้าเช่นนั้น
ขอท่านได้ตั้งเมตตาในกุมารทาสัตยาธิษฐานเถิด จึงรับว่า ดีแล้ว
6
เราจักทาสัจกิริยาแล้ววางมือลงที่ศีรษะยัญญทัตตกุมาร.
จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-
เราเป็นผู้มีความต้องการบุญ
ได้มีจิตเลื่อมใสประพฤติพรหมจรรย์อยู่เพียง ๗ วันเท่านั้น ต่อจากนั้นมา
แม้เราจะไม่มีความใคร่บรรพชา ก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ของเราอยู่ได้ถึง ๕๐
กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ยัญญทัตตกุมาร
พิษจงคลายออกยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด.
พร้อมกับสัจกิริยา
พิษในกายตอนบนของยัญญทัตตกุมารก็ตกเข้าแผ่นดินหมด
กุมารลืมนัยน์ตาขึ้นดูมารดาบิดาเรียกว่า แม่ แล้วพลิกนอน.
ลาดับนั้น กัณหทีปายนดาบสจึงกล่าวกะบิดาของกุมารนั้นว่า
กาลังของเรา เราทาได้เท่านั้น ท่านจงทากาลังของตนบ้างเถิด.
เขากล่าวว่า เราจักทาสัจกิริยาบ้าง แล้ววางมือลงที่หน้าอกบุตร
จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
เพราะเหตุที่เราเห็นแขกในเวลาที่มาถึงบ้านเพื่อจะพักอยู่
บางครั้งไม่พอใจจะให้พักเลย แม้สมณพราหมณ์ผู้เป็นพหูสูต
ก็ไม่ทราบความไม่พอใจของเรา แม้เราไม่ประสงค์จะให้ก็ให้ได้ ด้วยความสัตย์นี้
ขอความสวัสดีจงมีแก่ยัญญทัตตกุมาร พิษจงคลายออก
ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด.
เมื่อบิดาทาสัจกิริยาอย่างนี้แล้ว
พิษในกายตอนเหนือสะเอวก็ตกเข้าแผ่นดิน กุมารลุกขึ้นนั่งได้แต่ยังยืนไม่ได้.
ลาดับนั้น บิดาได้กล่าวกะมารดาของกุมารนั้นว่า ที่รัก เราได้ทากาลังของเราแล้ว
ทีนี้เจ้าจงทาสัจกิริยาให้บุตรลุกขึ้นเดินได้.
มารดากล่าวว่า ข้าแต่นาย
ความสัตย์ของฉันก็มีอยู่อย่างหนึ่งแต่ไม่อาจกล่าวต่อหน้านาย.
บิดากล่าวว่า อย่างไรๆ ก็กล่าวไปเถอะที่รัก
จงทาบุตรของเราให้หายโรค.
นางรับคาว่า ดีแล้ว เมื่อกระทาสัจกิริยา จึงได้กล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :-
ลูกรัก อสรพิษที่ออกจากโพรงกัดเจ้านั้นมีเดชมาก
ไม่เป็นที่รักของแม่ในวันนี้เลย อสรพิษนั้นกับบิดาของเจ้า ไม่แปลกกันเลย
ด้วยความสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ยัญญทัตตกุมาร พิษจงคลายออก
ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด.
พร้อมกับสัจกิริยา พิษทั้งหมดก็ตกลงเข้าแผ่นดิน
ยัญญทัตตเมื่อร่างกายหมดพิษแล้ว ก็ลุกขึ้นเริ่มจะเล่นต่อไป
เมื่อบุตรลุกขึ้นได้แล้วอย่างนี้.
7
นายมัณฑัพยะเมื่อถามถึงอัธยาศัยของทีปายนดาบส จึงได้กล่าวคาถาที่
๔ ว่า :-
ก็นักพรตทั้งหลายเป็นผู้สงบระงับ ฝึกฝนตนแล้ว ย่อมเว้นรอบ
นอกจากท่านกัณหะแล้วที่จะเป็ นผู้ทนฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์ไม่มีเลย ดูก่อนท่
านทีปายนะ ท่านเกลียดชังอะไร? จึงสู้ฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้.
พึงทราบความแห่งคาอันเป็ นคาถานั้นว่า
อิสรชนทั้งหลายมีกษัตริย์เป็ นต้นเหล่าใดเหล่าหนึ่งละกามเสียแล้ว
จึงบวชในโลกนี้ ชนเหล่านั้นนอกจากท่านกัณหะ
คือชนเหล่าอื่นเว้นท่านกัณหะผู้เจริญ
ที่ชื่อว่าจะเป็นผู้ทนฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์ ย่อมไม่มี
ก็ท่านเหล่านั้นทั้งหมดชื่อว่าเป็นผู้สงบเพราะระงับกิเลสด้วยฌานภาวนา
ชื่อว่าเป็นผู้ฝึกแล้วเพราะฝึกจักษุทวารเป็นต้นให้พ้นจากพยศหมดพิษ
ยินดียิ่งแล้วจึงประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้ ท่านทีปายนะผู้เจริญ
ก็ท่านเกลียดชังความชั่วเพราะเหตุอะไร จึงสู้ฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้
ทาไมจึงไม่สึกมาครองเรือนเล่า?
เมื่อพระดาบสจะบอกเรื่องราวแก่เขา จึงได้กล่าวคาถาที่ ๕ ว่า :-
บุคคลออกบวชด้วยศรัทธาแล้ว กลับเข้าบ้านอีก เป็ นคนเหลวไหล
เป็นคนกลับกลอก เราเกลียดต่อถ้อยคาเช่นนี้ จึงสู้ฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์อยู่
นี้เป็นฐานะที่วิญญูชนสรรเสริญ และเป็ นฐานะของสัตบุรุษทั้งหลาย
เราเป็นผู้กระทาบุญด้วยประการฉะนี้.
บัณฑิตพึงทราบเนื้อความแห่งคาเป็นคาถานั้นว่า :-
เราเกลียดถ้อยคาเช่นนี้ว่า บุคคลเชื่อกรรมอันดาและผลแห่งกรรม
ละสมบัติเป็นอันมากออกบวช แล้วกลับมาเพื่อสิ่งที่ตนละอีก
บุคคลนี้นั้นเป็ นคนเหลวไหลหนอ เป็ นคนกลับกลอกเหมือนเด็กชาวบ้านหนอ
แม้จะไม่ปรารถนาเพราะกลัวหิริและโอตตัปปะของตนจะทาลาย
ก็ต้องทนประพฤติพรหมจรรย์ไป ก็ธรรมดาว่าบรรพชาและบุญนั้นแม้นิดหน่อย
ก็เป็นฐานะที่วิญญูชนทั้งหลาย
คือบัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้นสรรเสริญอย่างยิ่ง
และเป็นฐานะที่อยู่ของสัตบุรุษทั้งหลายเหล่านั้น
เราเป็นผู้กระทาบุญด้วยประการฉะนี้ คือด้วยเหตุแม้นี้
แม้จะร้องไห้จนน้าตานองหน้า ก็ฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้.
พระดาบส ครั้นบอกอัธยาศัยของตนอย่างนี้แล้ว
เมื่อจะย้อนถามนายมัณฑัพยะ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๖ ว่า :-
ท่านเลี้ยงดูสมณพราหมณ์ และคนเดินทาง
ให้อิ่มหนาสาราญด้วยข้าวน้าและภิกษาหาร
8
เรือนของท่านนี้บริบูรณ์ด้วยข้าวและน้าเป็นเหมือนบ่อน้า เออ
ก็ท่านเกลียดต่อถ้อยคาอะไร แม้ไม่ประสงค์ก็ให้ทานนี้ได้.
ลาดับนั้น นายมัญฑัพยะเมื่อจะบอกอัธยาศัยของตน จึงกล่าวคาถาที่ ๗
ว่า :-
บิดามารดาและปู่ย่าตายายของเรา เป็ นคนมีศรัทธา เป็นทานบดี
รู้หลักนักปราชญ์ เราอนุวัตรตามธรรมเนียมของตระกูลนั้น กาหนดใจไว้ว่า
อย่าได้เป็นคนตัดธรรมเนียมแห่งตระกูลภายหลัง เราเกลียดถ้อยคาเช่นนี้
แม้ไม่ประสงค์ก็ให้ทานนี้ได้.
ก็แหละ ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว นายมัณฑัพยะ
เมื่อจะถามภรรยาของตน
จึงได้กล่าวคาถาที่ ๘ ว่า :-
ดูก่อนนางผู้มีร่างกายงาม เรานาเจ้าผู้ยังเป็ นสาวรุ่น
มีปัญญายังไม่สามารถมาแต่ตระกูลญาติ
แม้เจ้าก็ยังไม่เคยแสดงความไม่รักใคร่เรา เจ้าไม่มีความรักใคร่ปฏิบัติเราอยู่ เออ
ก็นางผู้เจริญการที่เจ้าอยู่ร่วมกับเราเห็นปานนี้ได้ เพราะเหตุอะไร?
ลาดับนั้น เมื่อภรรยาจะบอกแก่สามี จึงได้กล่าวคาถาที่ ๙ ว่า :-
ตั้งแต่ไหนแต่ไรนานมาแล้ว อันภรรยาที่มีสามีบ่อยๆ
มิได้มีในตระกูลนี้ ดิฉันอนุวัตรตามธรรมเนียมของตระกูลนั้น กาหนดใจไว้ว่า
ขออย่าให้เป็นคนตัดธรรมเนียมของตระกูลในภายหลังเลย
ดิฉันเกลียดต่อถ้อยคาเช่นนี้ แม้จะไม่มีความพอใจก็ปฏิบัติท่านได้.
นาย ตั้งแต่ไหนแต่ไรนานมาแล้วจนกระทั่งถึง ๗ ชั่วตระกูล
อันภรรยาที่มีสามีบ่อยๆ มิได้มีในตระกูลแห่งญาติของดิฉันเลย
แม้หญิงบางคนจะทิ้งกะสามีแล้วก็ไม่เคยที่จะคว้าเอาชายอื่นมาเป็นสามีเลย.
ดิฉันเมื่อจะอนุวัตรตามธรรมเนียมของตระกูล
คือตามประเพณีของตระกูลนั้น กาหนดใจไว้ว่า ขอเราอย่าพึงเป็นหญิงกลับกลอก
คนสุดท้ายในตระกูลของตนเถิด เกลียดวาทะว่า
เป็นหญิงตัดธรรมเนียมของตระกูลคนสุดท้ายในตระกูลนั้น
แม้จะไม่มีความพอใจก็ปฏิบัติท่านได้ คือเป็นผู้ทาความขวนขวาย
เป็นผู้บาเรอใกล้เท้าท่านได้.
ครั้นนางได้กล่าวอย่างนี้แล้ว
จึงคิดว่าความลับที่ไม่ควรจะกล่าวต่อหน้าสามี เราได้กล่าวแล้วเขาคงโกรธเรา
เราจะขอโทษเขาต่อหน้าพระดาบสผู้เข้าถึงตระกูลของเรา
เมื่อจะให้สามีอดโทษ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑๐ ว่า :-
ข้าแต่ท่านมัณฑัพยะ วันนี้ดิฉันพูดถ้อยคาที่ไม่ควรจะพูด
9
ขอท่านจงอดโทษถ้อยคานั้นให้แก่ดิฉัน เพราะเห็นแก่ลูกเถิด สิ่งอื่นอะไรๆ
ในโลกนี้ที่จะรักเท่าบุตรมิได้มี ยัญญทัตตบุตรของเรานี้ก็ได้รอดชีวิตแล้ว.
ลาดับนั้น นายมัณฑัพยะได้กล่าวกะภรรยาว่า ลุกขึ้นเถิด ที่รัก
เราอดโทษให้เจ้า ตั้งแต่นี้ไปเจ้าอย่าได้มีจิตกระด้าง แม้เราก็จะไม่เกลียดเจ้า.
พระดาบสโพธิสัตว์กล่าวกะนายมัณฑัพยะว่า อาวุโส
การที่ท่านหาทรัพย์ได้มาโดยลาบาก
แล้วบริจาคทานโดยไม่เชื่อกรรมและผลแห่งกรรมนั้นเป็นการไม่สมควร
แต่นี้ไปท่านจงเชื่อกรรมและผลแห่งกรรมให้ทานเถิด.
นายมัณฑัพยะรับคาว่า ดีแล้ว แล้วกล่าวกะพระดาบสโพธิสัตว์ว่า
ท่านผู้เจริญ ท่านดารงอยู่ในความเป็ นทักขิไณยบุคคลของข้าพเจ้า
ไม่มีความยินดีประพฤติพรหมจรรย์เป็นการไม่สมควร
ตั้งแต่นี้ไปขอท่านจงทาจิตให้เลื่อมใส มีจิตบริสุทธิ์ ยินดีในฌาน
ประพฤติพรหมจรรย์โดยลักษณะที่ข้าพเจ้าทาสักการะแก่ท่านในบัดนี้แล้ว
จะได้รับผลมากเถิด.
แล้วสองสามีภรรยาก็นมัสการพระมหาสัตว์ แล้วลุกจากอาสนะไป.
ตั้งแต่นั้นมา ภรรยาก็มีความเสน่หาในสามีเป็นอย่างดี
นายมัณฑัพยะก็มีจิตเลื่อมใสถวายทานด้วยศรัทธา
พระโพธิสัตว์ก็บรรเทาความเบื่อหน่ายเสียได้
ทาฌานและอภิญญาให้เกิดแล้วเป็นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
พระศาสดา
ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรงประกาศสัจธรรม เวลาจบสัจจะ
ภิกษุผู้กระสันได้ดารงอยู่ในโสดาปัตติผล.
พระทศพลทรงประชุมชาดกว่า
นายมัณฑัพยะในครั้งนั้น ได้มาเป็ น พระอานนท์ ในบัดนี้
ภรรยาในครั้งนั้น ได้มาเป็น นางวิสาขา ในบัดนี้
บุตรในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระราหุล ในบัดนี้
อาณิมัณฑัพยะดาบส ได้มาเป็น พระสารีบุตร ในบัดนี้
ส่วนกัณหทีปายนดาบสในครั้งนั้น คือ เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถากัณหทีปายนชาดกที่ ๖
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 444 มัณฑัพยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
027 อภิณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
027 อภิณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx027 อภิณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
027 อภิณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
310 สัยหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
310 สัยหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx310 สัยหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
310 สัยหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
155 ภัคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
155 ภัคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx155 ภัคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
155 ภัคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 444 มัณฑัพยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
443 จูฬโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
286 สาลูกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
027 อภิณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
027 อภิณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx027 อภิณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
027 อภิณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
436 สมุคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
095 มหาสุทัศนะชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
310 สัยหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
310 สัยหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx310 สัยหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
310 สัยหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
159 โมรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
087 มังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
155 ภัคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
155 ภัคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx155 ภัคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
155 ภัคคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
279 สตปัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
maruay songtanin
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 

444 มัณฑัพยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 มัณฑัพยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๖. มัณฑัพยชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๔๔) ว่าด้วยมัณฑัพยคหบดี (ดาบสกระทาสัจจวาจาว่า) [๖๒] อาตมาต้องการบุญ มีจิตเลื่อมใส ประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้เพียง ๗ วันเท่านั้น ต่อแต่นั้น แม้จะไม่พอใจประพฤติพรหมจรรย์ ก็ยังประพฤติมาเกิน ๕๐ ปี ด้วยสัจจวาจานี้ ขอจงมีความสวัสดี ขอพิษจงคลาย ขอยัญญทัตต์กุมารจงรอดชีวิต (บิดากระทาสัจจวาจาว่า) [๖๓] เพราะแต่ไหนแต่ไรมา ข้าพเจ้าเห็นแขกในเวลามาพัก ก็ไม่ยินดีให้พัก อนึ่ง สมณะและพราหมณ์ทั้งหลายแม้ผู้เป็ นพหูสูต ก็ไม่ทราบความที่ข้าพเจ้าไม่พอใจ ข้าพเจ้าแม้จะไม่พอใจก็ตาม ก็ยังให้ทาน ด้วยสัจจวาจานี้ ขอจงมีความสวัสดี ขอพิษจงคลาย ขอยัญญทัตต์ลูกพ่อจงรอดชีวิต (มารดากระทาสัจจวาจาว่า) [๖๔] ลูกรัก อสรพิษที่มีพิษร้ายแรงตัวใด ได้โผล่ขึ้นจากปล่องมากัดเจ้า วันนี้ อสรพิษตัวนั้น และบิดาของเจ้า ไม่มีความแตกต่างกันเลย เพราะไม่ได้เป็ นที่รักของแม่ ด้วยสัจจวาจานี้ ขอจงมีความสวัสดี ขอพิษจงคลาย ขอยัญญทัตต์ลูกชายจงรอดชีวิต (นายมัณฑัพยะถามทีปายนดาบสว่า) [๖๕] ชนบางพวกผู้สงบระงับ ฝึกตนแล้ว บวชเป็ นดาบส มีรูปร่างไม่น่าใคร่ไม่มีเลย นอกเสียจากกัณหดาบส ท่านทีปายนดาบส ท่านรังเกียจอะไร จึงไม่พอใจประพฤติพรหมจรรย์ (ทีปายนดาบสตอบว่า) [๖๖] กัณหดาบสนั้นเป็ นคนโง่จริงหนอ เหมือนกับเด็กใบ้น้าลาย ออกบวชด้วยศรัทธาแล้วยังกลับไปหาสิ่งนั้นอีก อาตมารังเกียจวาทะเช่นนี้ ถึงไม่พอใจก็ยังประพฤติพรหมจรรย์ ซึ่งเป็ นฐานะที่วิญญูชนสรรเสริญและเป็ นฐานะของสัตบุรุษ อาตมาจึงบาเพ็ญบุญแม้อย่างนี้ (ทีปายนดาบสย้อนถามว่า) [๖๗] ท่านเลี้ยงดูสมณะ พราหมณ์ และคนเดินทาง ให้อิ่มหน่าด้วยข้าวและน้า เรือนของท่านนี้เพียบพร้อมด้วยข้าวและน้า มีภักษาหารเปรียบดังอู่ข้าวอู่น้า เมื่อเป็นเช่นนั้น ท่านรังเกียจวาทะอะไร ถึงไม่พอใจก็ยังให้ทานนี้
  • 2. 2 (นายมัณฑัพยะตอบว่า) [๖๘] บิดาและปู่ของข้าพเจ้าเป็ นคนมีศรัทธา เป็ นทานบดี เป็นผู้รู้ความประสงค์ของผู้ขอ ข้าพเจ้าผู้ประพฤติตามประเพณีของตระกูลนั้น อย่าได้ชื่อว่า เป็นคนทาลายตระกูลคนสุดท้ายเลย ข้าพเจ้ารังเกียจวาทะเช่นนั้น ถึงไม่พอใจก็ยังคงให้ทานนี้ (นายมัณฑัพยะถามภรรยาว่า) [๖๙] นี่นางผู้มีทรวดทรงงาม เราได้นาเจ้าผู้ยังเป็นหญิงวัยรุ่น ยังไม่มีปัญญาสามารถจัดแจงทรัพย์ได้มาจากตระกูลญาติ และเจ้าก็มิได้บอกให้รู้ถึงความที่เจ้าไม่รักเรา ยังบาเรอเราโดยปราศจากความรัก เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร เจ้าจึงยังอยู่ร่วมกับเราอย่างนี้ แม่นางผู้เจริญ (ภรรยาตอบว่า) [๗๐] ตั้งแต่ไหนแต่ไรเนิ่นนานมาแล้ว หญิงสาวคนหนึ่งทิ้งสามีแล้วได้ชายอื่นเป็ นสามีไม่มีในตระกูลนี้ ขอดิฉันผู้ประพฤติตามประเพณีของตระกูลนั้น อย่าชื่อว่า เป็นคนทาลายตระกูลคนสุดท้ายเลย ดิฉันรังเกียจวาทะเช่นนั้น ถึงไม่พอใจก็ยังบาเรอท่านอยู่ (ภรรยากล่าวขอโทษนายมัณฑัพยะผู้เป็นสามีว่า) [๗๑] ท่านมัณฑัพยะ วันนี้ดิฉันพูดคาที่ไม่ควรพูด เพื่อเห็นแก่ลูก ขอท่านจงอดโทษถ้อยคาที่ดิฉันพูดนั้นเถิด ไม่มีสิ่งอื่นใดในโลกนี้ จะยิ่งไปกว่าความรักลูก ขอยัญญทัตต์ลูกของเรานั้นจงรอดชีวิตเถิด มัณฑัพยชาดกที่ ๖ จบ -------------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา มัณฑัพยชาดก ว่าด้วย ความรักที่มีต่อบุตร พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภภิกษุผู้กระสันรูปหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้ ส่วนเนื้อเรื่องจักมีแจ้งใน กุสราชชาดก. พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ ได้ยินว่าเธอกระสันจริงหรือ? เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า จริงพระเจ้าข้า ดังนี้ จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เมื่อครั้งพระพุทธเจ้ายังไม่เกิดขึ้น โบราณกบัณฑิตได้บวชในลัทธินอกพุทธศาสนา ไม่มีความยินดี ยังประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้กว่า ๕๐ ปี ไม่แสดงความที่ตนกระสันให้ปรากฏแก่ใครๆ เพราะกลัวหิริโอตตัปปะจะทาลาย เธอบวชในศาสนาที่จะนาออกจากทุกข์เห็นปานนี้
  • 3. 3 ตั้งอยู่เฉพาะพระพักตร์ของพระพุทธเจ้าผู้เป็นครูเช่นเรา เหตุไรจึงทาความกระสันให้ปรากฏในท่ามกลางบริษัท ๔ เหตุไรจึงไม่รักษาหิริโอตตัปปะของตนไว้ แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล พระราชาทรงพระนามว่าโกสัมพิกะ ครองราชสมบัติอยู่ในพระนครโกสัมพีแคว้น วังสะ ครั้งนั้น ณ นิคมแห่งหนึ่ง มีพราหมณ์สองคนมีสมบัติคนละ ๘๐ โกฏิ เป็นสหายรักกันเห็นโทษในกามคุณ ให้ทานเป็นการใหญ่ แล้วทั้งสองก็ละกาม ทั้งๆ ที่มหาชนกาลังร้องไห้คร่าครวญอยู่ ได้ออกไปสร้างอาศรมบวชอยู่ในถิ่นหิมพานต์ เที่ยวแสวงหาเผือกมันผลไม้เลี้ยงชีพอยู่ ๕ ปี ยังไม่สามารถทาฌานให้เกิดขึ้นได้. ครั้นล่วงไป ๕๐ ปี เพื่อต้องการจะเสพรสเค็มรสเปรี้ยว จึงเที่ยวไปตามชนบทถึงแคว้นกาสี ณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งในแคว้นกาสีนั้น ท่านทีปายนดาบสมีสหายคฤหัสถ์อยู่คนหนึ่ง ชื่อมัณฑัพยะ ทั้งสองดาบสได้ไปเยี่ยมเขา เขาเห็นสองดาบสนั้นแล้วก็มีความยินดี สร้างบรรณศาลาถวายแล้วบารุงด้วยปัจจัย ๔ สองดาบสอยู่ที่นั้น ๓-๔ พรรษาแล้วลานายมัณฑัพยะ เที่ยวจาริกไปถึงเมืองพาราณสี อาศัยอยู่ในอธิมุตติกสุสาน ทีปายนดาบสอยู่ ณ ที่นั้นพอควรแก่อัธยาศัยแล้ว ก็กลับไปสู่สานักสหายนั้นอีก แต่มัณฑัพยะดาบสยังอยู่ที่ป่าช้านั้นเอง. อยู่มาวันหนึ่ง โจรคนหนึ่งขโมยของภายในเมือง ถือเอาทรัพย์ออกไป เมื่อเจ้าของเรือนและเจ้าหน้าที่ตื่นขึ้นรู้ว่าขโมย ก็พากันตามจับ จึงหนีออกทางท่อน้า รีบวิ่งเข้าป่าช้าทิ้งห่อทรัพย์ไว้ที่ประตูบรรณศาลาแห่งพระดาบสแล้วหนีไป พวกมนุษย์ที่ตามจับเห็นห่อทรัพย์เข้าจึงคุกคามว่า ไอ้ชฎิลร้าย กลางคืนเจ้าเที่ยวขโมยเขา กลางวันทาถือเพศดาบสอยู่ ทุบตีแล้วจับตัวนาส่งพระราชา พระราชาไม่ทรงพิจารณาก่อน รับสั่งให้ราชบุรุษเอาตัวไปเสียบหลาวเสีย พวกราชบุรุษนาตัวไปเสียบหลาวไม้ตะเคียนที่ป่าช้านั้น เสียบหลาวไม่เข้า จึงเปลี่ยนเอาหลาวไม้สะเดาเสียบก็ไม่เข้าอีก เอาหลาวเหล็กเสียบก็ไม่เข้า ดาบสจึงใคร่ครวญดูบุพกรรมของตน ลาดับนั้น ท่านก็เกิดญาณเครื่องระลึกชาติได้ ใช้ญาณนั้นใคร่ครวญดูก็ได้รู้แล้ว ถามว่า ก็อะไรเป็ นบุพกรรมของท่าน ตอบว่า การเอาหนามไม้ทองหลางเสียบแมลงวัน เป็นบุพกรรมของท่าน.
  • 4. 4 นัยว่า ในภพก่อนท่านเกิดเป็นบุตรนายช่างไม้ ไปถากไม้กับบิดา จับแมลงวันมาตัวหนึ่งแล้วเอาหนามไม้ทองหลางมาเสียบ บาปกรรมนั้นเองมาถึงเข้า ท่านรู้ตัวว่า ไม่อาจพ้นบาปกรรมนี้ได้ จึงได้กล่าวกะราชบุรุษว่า ถ้าท่านต้องการจะเอาหลาวเสียบเราจงเอาหลาวไม้ทองหลาง พวกราชบุรุษก็กระทาตามเสียบเข้าแล้วก็วางคนซุ่มรักษาอยู่แล้วหลีกไป พวกที่ซุ่มรักษาอยู่ได้คอยดูผู้ที่จะมาหาดาบส. ครั้งนั้น ทีปายนดาบสคิดว่า เราไม่ได้พบสหายนานแล้วจึงมาสานักของท่านมัณฑัพยะดาบส ได้ฟังข่าวในระห ว่างทางในวันนั้นเองว่า มัณฑัพยะดาบสถูกหลาวเสียบก็ไป ณ ที่นั้นแล้วยืนอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง ถามว่า เพื่อน! ท่านได้ทาผิดอย่างไรหรือ ? เมื่อดาบสนั้นตอบว่า เราไม่ได้ทาผิด จึงถามว่า ท่านอาจจะรักษาใจตนไม่ให้มีความขุ่นเคืองได้หรือไม่? มัณฑัพยะดาบสตอบว่า เพื่อน! ผู้ที่จับเรามาส่งพระราชา เรามิได้มีใจขุ่นเคืองเลย ทีปายนดาบสกล่าวว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น ร่มเงาของผู้มีศีลเช่นท่านเป็นความสุขสาหรับเรา แล้วเข้าไปนั่งพิงหลาวอยู่ หยาดโลหิตที่ออกจากตัวมัณฑัพยะดาบสก็หยดลงต้องทีปายนดาบส หยาดโลหิตเหล่านั้นหยดลงที่สรีระอันมีสีดุจทอง แห้งดาไปทั้งตัว ตั้งแต่นั้นมา ท่านจึงได้นามเติมต้นว่ากัณหทิปายนะ ท่านนั่งพิงหลาวนั้นเองตลอดคืนยังรุ่ง วันรุ่งขึ้น พวกคนรักษาจึงไปกราบทูลเหตุการณ์นั้นแด่พระราชา พระราชาทรงพระดาริว่า เรื่องนี้เราทาลงไปโดยไม่พิจารณา จึงรีบเสด็จไปที่นั้นแล้ว ตรัสถามทีปายนดาบสว่า ดูก่อนบรรพชิต เหตุไรท่านจึงนั่งพิงหลาวอยู่? ทีปายนดาบสตอบว่า มหาบพิตร อาตมภาพนั่งรักษาดาบสนี้อยู่ ก็มหาบพิตรทรงทราบแล้วหรือว่า ดาบสนี้ทาผิดหรือไม่ได้ทาผิด จึงได้ลงพระราชอาญาอย่างนี้ พระราชาตรัสบอกว่า ลงโทษไปโดยไม่พิจารณา. พระดาบสจึงกล่าวแก่พระราชาว่า มหาบพิตร ธรรมดาพระราชาควรจะพิจารณาก่อนแล้วจึงกระทาดังนี้ แล้วแสดงธรรมว่า คฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ถ้าเป็นคนเกียจคร้านแล้วไม่ดีดังนี้เป็ นต้น พระราชาทรงทราบว่า มัณฑัพยะดาบสไม่มีความผิด
  • 5. 5 จึงรับสั่งให้ถอนหลาวออก พวกราชบุรุษไม่สามารถจะถอนหลาวออกได้ มัณฑัพยะดาบสทูลพระราชาว่า มหาบพิตร อาตมภาพถึงความพินาศย่อยยับอย่างนี้ก็ด้วยอานาจกรรมที่ได้ทาไว้แต่ปางก่อน ไม่มีใครอาจถอนหลาวออกจากตัวอาตมภาพได้ ถ้าพระองค์มีพระราชประสงค์จะพระราชทานชีวิตแก่อาตมภาพไซร้ ก็จงโปรดให้เอาเลื่อยมาตัดหลาวนี้ให้เสมอหนัง พระราชารับสั่งให้กระทาตามนั้น ภายในร่างกายได้มีหลาวอยู่ภายในเรื่อยมา. ได้ยินว่า ครั้งนั้น ดาบสนั้นเอาหนามทองหลางเรียวๆ เสียบก้นแมลงวัน หนามทองหลางติดอยู่ในตัวแมลงวัน แต่แมลงวันไม่ตายเพราะถูกเสียบ ตายเมื่อหมดอายุของตน ฉะนั้น ดาบสนี้จึงไม่ตาย. พระราชาทรงนมัสการพระดาบสทั้งสองให้ขมาโทษแล้ว นิมนต์ให้อยู่ในพระราชอุทยาน ทรงบารุงแล้ว. ตั้งแต่นั้นมา มัณฑัพยะดาบสได้ชื่อเติมหน้าว่า อาณิมัณฑัพยะ ท่านอาศัยพระราชาอยู่ในพระร าชอุทยานนั้น ส่วนทีปายนดาบสรักษาแผลมัณฑัพยดาบสหายดีแล้วไปสานักนายมัณฑัพยะผู้เป็ นสหายคฤหัสถ์ของตน. บุรุษผู้หนึ่งเห็นทีปายนดาบสนั้นเข้าไปสู่บรรณศาลา จึงบอกแก่นายมัณฑัพยะผู้เป็นสหาย นายมัณฑัพยะนั้นได้ฟังข่าวก็ยินดี พาบุตรภรรยาถือเครื่องสักการะมีของหอมดอกไม้และเครื่องลูบไล้เป็ นต้น เป็นอันมากไปสู่บรรณศาลา ไหว้ทีปายนดาบสแล้ว ล้างเท้าทาน้ามันให้ ถวายน้าปานะให้ดื่ม แล้วนั่งฟังข่าวอาณิมัณฑัพยะดาบส ครั้งนั้น บุตรของเขาชื่อยัญญทัตตกุมารเล่นลูกข่างอยู่ในที่สุดที่จงกรม ก็ที่จอมปลวกแห่งหนึ่งใกล้บรรณศาลานั้น มีอสรพิษตัวหนึ่งอาศัยอยู่ ลูกข่างที่กุมารปาเหนือพื้นดินได้เข้าไปตกถูกศีรษะอสรพิษในโพรงจอมปลวก กุมารนั้นไม่รู้จึงเอามือล้วงเข้าไปในโพรง ครานั้นอสรพิษเดือดดาลจึงกัดเอามือ เขาสลบล้มลง ณ ที่นั้นด้วยกาลังอสรพิษ ลาดับนั้น มารดาบิดารู้ว่าลูกถูกอสรพิษกัด จึงยกกุมารขึ้นแล้วอุ้มมาที่พระดาบสให้นอนลง แทบเท้าแล้วกล่าวว่า ท่านเจ้าข้า ธรรมดาบรรพชิตย่อมจะรู้โอสถหรือปริต ขอท่านได้โปรดทาบุตรของข้าพเจ้าให้หายโรคเถิด. พระดาบสกล่าวว่า เราไม่รู้โอสถ เราเป็ นบรรพชิตจักทาเวชกรรมไม่ได้. พระดาบสถูกเขาขอร้องว่า ถ้าเช่นนั้น ขอท่านได้ตั้งเมตตาในกุมารทาสัตยาธิษฐานเถิด จึงรับว่า ดีแล้ว
  • 6. 6 เราจักทาสัจกิริยาแล้ววางมือลงที่ศีรษะยัญญทัตตกุมาร. จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :- เราเป็นผู้มีความต้องการบุญ ได้มีจิตเลื่อมใสประพฤติพรหมจรรย์อยู่เพียง ๗ วันเท่านั้น ต่อจากนั้นมา แม้เราจะไม่มีความใคร่บรรพชา ก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ของเราอยู่ได้ถึง ๕๐ กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ยัญญทัตตกุมาร พิษจงคลายออกยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด. พร้อมกับสัจกิริยา พิษในกายตอนบนของยัญญทัตตกุมารก็ตกเข้าแผ่นดินหมด กุมารลืมนัยน์ตาขึ้นดูมารดาบิดาเรียกว่า แม่ แล้วพลิกนอน. ลาดับนั้น กัณหทีปายนดาบสจึงกล่าวกะบิดาของกุมารนั้นว่า กาลังของเรา เราทาได้เท่านั้น ท่านจงทากาลังของตนบ้างเถิด. เขากล่าวว่า เราจักทาสัจกิริยาบ้าง แล้ววางมือลงที่หน้าอกบุตร จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :- เพราะเหตุที่เราเห็นแขกในเวลาที่มาถึงบ้านเพื่อจะพักอยู่ บางครั้งไม่พอใจจะให้พักเลย แม้สมณพราหมณ์ผู้เป็นพหูสูต ก็ไม่ทราบความไม่พอใจของเรา แม้เราไม่ประสงค์จะให้ก็ให้ได้ ด้วยความสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ยัญญทัตตกุมาร พิษจงคลายออก ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด. เมื่อบิดาทาสัจกิริยาอย่างนี้แล้ว พิษในกายตอนเหนือสะเอวก็ตกเข้าแผ่นดิน กุมารลุกขึ้นนั่งได้แต่ยังยืนไม่ได้. ลาดับนั้น บิดาได้กล่าวกะมารดาของกุมารนั้นว่า ที่รัก เราได้ทากาลังของเราแล้ว ทีนี้เจ้าจงทาสัจกิริยาให้บุตรลุกขึ้นเดินได้. มารดากล่าวว่า ข้าแต่นาย ความสัตย์ของฉันก็มีอยู่อย่างหนึ่งแต่ไม่อาจกล่าวต่อหน้านาย. บิดากล่าวว่า อย่างไรๆ ก็กล่าวไปเถอะที่รัก จงทาบุตรของเราให้หายโรค. นางรับคาว่า ดีแล้ว เมื่อกระทาสัจกิริยา จึงได้กล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :- ลูกรัก อสรพิษที่ออกจากโพรงกัดเจ้านั้นมีเดชมาก ไม่เป็นที่รักของแม่ในวันนี้เลย อสรพิษนั้นกับบิดาของเจ้า ไม่แปลกกันเลย ด้วยความสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ยัญญทัตตกุมาร พิษจงคลายออก ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด. พร้อมกับสัจกิริยา พิษทั้งหมดก็ตกลงเข้าแผ่นดิน ยัญญทัตตเมื่อร่างกายหมดพิษแล้ว ก็ลุกขึ้นเริ่มจะเล่นต่อไป เมื่อบุตรลุกขึ้นได้แล้วอย่างนี้.
  • 7. 7 นายมัณฑัพยะเมื่อถามถึงอัธยาศัยของทีปายนดาบส จึงได้กล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :- ก็นักพรตทั้งหลายเป็นผู้สงบระงับ ฝึกฝนตนแล้ว ย่อมเว้นรอบ นอกจากท่านกัณหะแล้วที่จะเป็ นผู้ทนฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์ไม่มีเลย ดูก่อนท่ านทีปายนะ ท่านเกลียดชังอะไร? จึงสู้ฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้. พึงทราบความแห่งคาอันเป็ นคาถานั้นว่า อิสรชนทั้งหลายมีกษัตริย์เป็ นต้นเหล่าใดเหล่าหนึ่งละกามเสียแล้ว จึงบวชในโลกนี้ ชนเหล่านั้นนอกจากท่านกัณหะ คือชนเหล่าอื่นเว้นท่านกัณหะผู้เจริญ ที่ชื่อว่าจะเป็นผู้ทนฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์ ย่อมไม่มี ก็ท่านเหล่านั้นทั้งหมดชื่อว่าเป็นผู้สงบเพราะระงับกิเลสด้วยฌานภาวนา ชื่อว่าเป็นผู้ฝึกแล้วเพราะฝึกจักษุทวารเป็นต้นให้พ้นจากพยศหมดพิษ ยินดียิ่งแล้วจึงประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้ ท่านทีปายนะผู้เจริญ ก็ท่านเกลียดชังความชั่วเพราะเหตุอะไร จึงสู้ฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้ ทาไมจึงไม่สึกมาครองเรือนเล่า? เมื่อพระดาบสจะบอกเรื่องราวแก่เขา จึงได้กล่าวคาถาที่ ๕ ว่า :- บุคคลออกบวชด้วยศรัทธาแล้ว กลับเข้าบ้านอีก เป็ นคนเหลวไหล เป็นคนกลับกลอก เราเกลียดต่อถ้อยคาเช่นนี้ จึงสู้ฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์อยู่ นี้เป็นฐานะที่วิญญูชนสรรเสริญ และเป็ นฐานะของสัตบุรุษทั้งหลาย เราเป็นผู้กระทาบุญด้วยประการฉะนี้. บัณฑิตพึงทราบเนื้อความแห่งคาเป็นคาถานั้นว่า :- เราเกลียดถ้อยคาเช่นนี้ว่า บุคคลเชื่อกรรมอันดาและผลแห่งกรรม ละสมบัติเป็นอันมากออกบวช แล้วกลับมาเพื่อสิ่งที่ตนละอีก บุคคลนี้นั้นเป็ นคนเหลวไหลหนอ เป็ นคนกลับกลอกเหมือนเด็กชาวบ้านหนอ แม้จะไม่ปรารถนาเพราะกลัวหิริและโอตตัปปะของตนจะทาลาย ก็ต้องทนประพฤติพรหมจรรย์ไป ก็ธรรมดาว่าบรรพชาและบุญนั้นแม้นิดหน่อย ก็เป็นฐานะที่วิญญูชนทั้งหลาย คือบัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้นสรรเสริญอย่างยิ่ง และเป็นฐานะที่อยู่ของสัตบุรุษทั้งหลายเหล่านั้น เราเป็นผู้กระทาบุญด้วยประการฉะนี้ คือด้วยเหตุแม้นี้ แม้จะร้องไห้จนน้าตานองหน้า ก็ฝืนใจประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้. พระดาบส ครั้นบอกอัธยาศัยของตนอย่างนี้แล้ว เมื่อจะย้อนถามนายมัณฑัพยะ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๖ ว่า :- ท่านเลี้ยงดูสมณพราหมณ์ และคนเดินทาง ให้อิ่มหนาสาราญด้วยข้าวน้าและภิกษาหาร
  • 8. 8 เรือนของท่านนี้บริบูรณ์ด้วยข้าวและน้าเป็นเหมือนบ่อน้า เออ ก็ท่านเกลียดต่อถ้อยคาอะไร แม้ไม่ประสงค์ก็ให้ทานนี้ได้. ลาดับนั้น นายมัญฑัพยะเมื่อจะบอกอัธยาศัยของตน จึงกล่าวคาถาที่ ๗ ว่า :- บิดามารดาและปู่ย่าตายายของเรา เป็ นคนมีศรัทธา เป็นทานบดี รู้หลักนักปราชญ์ เราอนุวัตรตามธรรมเนียมของตระกูลนั้น กาหนดใจไว้ว่า อย่าได้เป็นคนตัดธรรมเนียมแห่งตระกูลภายหลัง เราเกลียดถ้อยคาเช่นนี้ แม้ไม่ประสงค์ก็ให้ทานนี้ได้. ก็แหละ ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว นายมัณฑัพยะ เมื่อจะถามภรรยาของตน จึงได้กล่าวคาถาที่ ๘ ว่า :- ดูก่อนนางผู้มีร่างกายงาม เรานาเจ้าผู้ยังเป็ นสาวรุ่น มีปัญญายังไม่สามารถมาแต่ตระกูลญาติ แม้เจ้าก็ยังไม่เคยแสดงความไม่รักใคร่เรา เจ้าไม่มีความรักใคร่ปฏิบัติเราอยู่ เออ ก็นางผู้เจริญการที่เจ้าอยู่ร่วมกับเราเห็นปานนี้ได้ เพราะเหตุอะไร? ลาดับนั้น เมื่อภรรยาจะบอกแก่สามี จึงได้กล่าวคาถาที่ ๙ ว่า :- ตั้งแต่ไหนแต่ไรนานมาแล้ว อันภรรยาที่มีสามีบ่อยๆ มิได้มีในตระกูลนี้ ดิฉันอนุวัตรตามธรรมเนียมของตระกูลนั้น กาหนดใจไว้ว่า ขออย่าให้เป็นคนตัดธรรมเนียมของตระกูลในภายหลังเลย ดิฉันเกลียดต่อถ้อยคาเช่นนี้ แม้จะไม่มีความพอใจก็ปฏิบัติท่านได้. นาย ตั้งแต่ไหนแต่ไรนานมาแล้วจนกระทั่งถึง ๗ ชั่วตระกูล อันภรรยาที่มีสามีบ่อยๆ มิได้มีในตระกูลแห่งญาติของดิฉันเลย แม้หญิงบางคนจะทิ้งกะสามีแล้วก็ไม่เคยที่จะคว้าเอาชายอื่นมาเป็นสามีเลย. ดิฉันเมื่อจะอนุวัตรตามธรรมเนียมของตระกูล คือตามประเพณีของตระกูลนั้น กาหนดใจไว้ว่า ขอเราอย่าพึงเป็นหญิงกลับกลอก คนสุดท้ายในตระกูลของตนเถิด เกลียดวาทะว่า เป็นหญิงตัดธรรมเนียมของตระกูลคนสุดท้ายในตระกูลนั้น แม้จะไม่มีความพอใจก็ปฏิบัติท่านได้ คือเป็นผู้ทาความขวนขวาย เป็นผู้บาเรอใกล้เท้าท่านได้. ครั้นนางได้กล่าวอย่างนี้แล้ว จึงคิดว่าความลับที่ไม่ควรจะกล่าวต่อหน้าสามี เราได้กล่าวแล้วเขาคงโกรธเรา เราจะขอโทษเขาต่อหน้าพระดาบสผู้เข้าถึงตระกูลของเรา เมื่อจะให้สามีอดโทษ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑๐ ว่า :- ข้าแต่ท่านมัณฑัพยะ วันนี้ดิฉันพูดถ้อยคาที่ไม่ควรจะพูด
  • 9. 9 ขอท่านจงอดโทษถ้อยคานั้นให้แก่ดิฉัน เพราะเห็นแก่ลูกเถิด สิ่งอื่นอะไรๆ ในโลกนี้ที่จะรักเท่าบุตรมิได้มี ยัญญทัตตบุตรของเรานี้ก็ได้รอดชีวิตแล้ว. ลาดับนั้น นายมัณฑัพยะได้กล่าวกะภรรยาว่า ลุกขึ้นเถิด ที่รัก เราอดโทษให้เจ้า ตั้งแต่นี้ไปเจ้าอย่าได้มีจิตกระด้าง แม้เราก็จะไม่เกลียดเจ้า. พระดาบสโพธิสัตว์กล่าวกะนายมัณฑัพยะว่า อาวุโส การที่ท่านหาทรัพย์ได้มาโดยลาบาก แล้วบริจาคทานโดยไม่เชื่อกรรมและผลแห่งกรรมนั้นเป็นการไม่สมควร แต่นี้ไปท่านจงเชื่อกรรมและผลแห่งกรรมให้ทานเถิด. นายมัณฑัพยะรับคาว่า ดีแล้ว แล้วกล่าวกะพระดาบสโพธิสัตว์ว่า ท่านผู้เจริญ ท่านดารงอยู่ในความเป็ นทักขิไณยบุคคลของข้าพเจ้า ไม่มีความยินดีประพฤติพรหมจรรย์เป็นการไม่สมควร ตั้งแต่นี้ไปขอท่านจงทาจิตให้เลื่อมใส มีจิตบริสุทธิ์ ยินดีในฌาน ประพฤติพรหมจรรย์โดยลักษณะที่ข้าพเจ้าทาสักการะแก่ท่านในบัดนี้แล้ว จะได้รับผลมากเถิด. แล้วสองสามีภรรยาก็นมัสการพระมหาสัตว์ แล้วลุกจากอาสนะไป. ตั้งแต่นั้นมา ภรรยาก็มีความเสน่หาในสามีเป็นอย่างดี นายมัณฑัพยะก็มีจิตเลื่อมใสถวายทานด้วยศรัทธา พระโพธิสัตว์ก็บรรเทาความเบื่อหน่ายเสียได้ ทาฌานและอภิญญาให้เกิดแล้วเป็นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ทรงประกาศสัจธรรม เวลาจบสัจจะ ภิกษุผู้กระสันได้ดารงอยู่ในโสดาปัตติผล. พระทศพลทรงประชุมชาดกว่า นายมัณฑัพยะในครั้งนั้น ได้มาเป็ น พระอานนท์ ในบัดนี้ ภรรยาในครั้งนั้น ได้มาเป็น นางวิสาขา ในบัดนี้ บุตรในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระราหุล ในบัดนี้ อาณิมัณฑัพยะดาบส ได้มาเป็น พระสารีบุตร ในบัดนี้ ส่วนกัณหทีปายนดาบสในครั้งนั้น คือ เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถากัณหทีปายนชาดกที่ ๖ -----------------------------------------------------