SlideShare a Scribd company logo
เรียนรู้ผ่านการเรียนรู้ผ่านการ
เล่นเล่น
กล้ามเนื้อมัดใหญ่กล้ามเนื้อมัดใหญ่ -- มัดเล็กมัดเล็ก
บทนำา
การเล่นของเด็ก ดูเหมือนเป็นเรื่อง
เล่นๆ แต่ความจริงแล้วเป็นเรื่องที่
สำาคัญและมอบคุณค่ามหาศาล ไม่ว่า
จะเล่นด้วยวิธีใด ก็เป็นการส่งเสริม
พัฒนาการเด็กทั้งสิ้นสำาหรับเด็กแล้ว
พัฒนาการของเด็กจะผ่านการเล่น
เป็นสื่อกลาง ตั้งแต่การพัฒนาสติ
ปัญญา ภาษาการสื่อสารของกล้าม
เนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่และ
กล้ามเนื้อมัดเล็ก หมายถึง การ
ใช้มือ การหยิบจับ ซึ่งเป็นพื้น
ฐานของการที่เด็กจะพัฒนาการ
การเขียน การทำางานในชีวิต
ประจำาวัน และการช่วยเหลือตัว
เอง
กล้ามเนื้อมัดใหญ่ คือ กล้าม
เนื้อแขนขา การทรงตัว ทำาให้
เด็กสุขภาพดี แข็งแรง
คล่องแคล่ว ทะมัดทะแมงเล่น
กีฬาได้ดี
•ด้านสังคมและจริยธรรม การที่
เด็กเล่นเป็นกลุ่ม จะเรียนรู้การปรับ
ตัวอยู่กับผู้อื่น พอใจที่จะอยู่ร่วมกับ
สังคมและมีกิจกรรมร่วมกัน รวมทั้ง
เรียนรู้ว่าทำาอย่างไรให้เป็นที่
ยอมรับของคนอื่น(การเล่นของเด็ก
โตก็จะมีกติกาเกิดขึ้น นั้นก็คือ พื้น
ฐานที่เด็กจะได้พัฒนาในด้านของ
การที่จะเติบโตขึ้นมาอยู่ในกฎ
ระเบียบของครอบครัว โรงเรียน
และสังคมได้)
•การเล่นของเด็กช่วงขวบปีแรก มัก
เป็นการเล่นคนเดียว เด็กที่โตขึ้นคือ
ประมาณ 2-3 ขวบ เด็กจะเริ่มเล่นรวม
กลุ่ม เมื่อเด็กเห็นคนอื่นเล่น ก็จะสนใจ
และเดินเข้ามาเล่นด้วย แต่เวลาเล่นกลับ
เล่นคนเดียว ไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์กัน
ของเล่นเด็กวัยนี้จะเป็นของเล่นที่เริ่มใช้
กล้ามเนื้อมัดย่อยและมัดใหญ่เข้ามาบ้าง
เช่น การขีดเขียนของเล่น ตอก เรียง
เตะ ขว้างเกิดขึ้นบ้าง สามารถที่จะเรียง
บล็อก สามารถต่อภาพจิ๊กซอร์ได้บ้าง
เล่นตุ๊กตาได้ เมื่อเด็กอายุ 3 ขวบขึ้นไป
• เมื่ออายุ 6 ขวบขึ้นไปจะเพิ่มการเล่นแบบเกม
ซึ่งมีกติกาจะเริ่มเข้ามา เช่น หมากฮอส เกม
เศรษฐี งูไต่บันได ซึ่งเด็กวัยนี้จะเริ่มเข้าใจ
กติกาการเล่นได้บ้างแล้ว เด็กจะเริ่มสนใจ
กีฬามากขึ้นเช่น ปิงปอง, แบดมินตัน,
ฟุตบอล การเล่นวัยนี้จะช่วยพัฒนาในเรื่อง
ของการเข้าสังคมได้มาก
ระบบโครงสร้างกระดูกระบบโครงสร้างกระดูก
และกล้ามเนื้อและกล้ามเนื้อ
โครงสร้างและหน้าที่ของ
ระบบต่างๆ
• ระบบโครงสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อ
1.ระบบโครงกระดูก
• ร่างกายของมนุษย์ที่เจริญเติบโตเต็มที่จะ
ประกอบด้วยกระดูกทั้งหมด 206 ชิ้น แบ่ง
เป็น กระดูกแกน 80 ชิ้น เช่น กะโหลก
ศีรษะ กระดูกสันหลัง
กระดูกก้นกบ กระดูกซี่โครง อีกพวกหนึ่งคือ
กระดูกรยางค์ จำานวน 126  ชิ้น เช่น
กระดูกแขนขา สะบัก ไหปลาร้า เชิงกราน
ความสำาคัญของกระดูก
• โครงกระดูกมีหน้าที่สำาคัญอยู่ 3 ประการ คือ
– ทำาหน้าที่เป็นโครงร่างของร่างกายให้ร่างกายคงรูป
อยู่ได้
– ป้องกันอันตรายให้แก่อยัยวะที่สำาคัญ เช่น สมอง
ไขสันหลัง หัวใจ ปอด ตับ
– เป็นที่ยึดของกล้ามเนื้อ การที่เราเคลื่อนไหวได้เป็น
ผลมาจากการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อที่ยึด
ติดกับกระดูก
2. ระบบ
กล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อเป็นอวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนไหว
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในร่างกายมนุษย์
ประกอบด้วยกล้ามเนื้อประมาณ 500 มัด แบ่ง
เป็น 3 ชนิด
1. กล้ามเนื้อลาย 
2. กล้ามเนื้อเรียบ
3. กล้ามเนื้อหัวใจ
  1. กล้าม
เนื้อลาย 
• เป็นกล้ามเนื้อยึดติดอยู่กับกระดูกโดยมีเอ็นยึด
กล้ามเนื้อจะทำางานประสานกันคือ ถ้ากล้ามเนื้อมัด
หนึ่งหดตัว กล้ามเนื้ออีกมัดหนึ่งจะคลายตัว
ทำาให้กรดูกสมารถหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อ
ด้านนอกที่เรียกว่า กล้ามเนื้อไบเซฟ ( bicep
muscle ) และกล้ามเนื้อท้องแขนด้านในที่
เรียกว่า กล้ามเนื้อไตรเซฟ ( tricep muscle )
ทำางานตรงกันข้าม การทำางานของกล้ามเนื้อใน
ลักษณะนี้เรียกว่า Antagonistic muscle
2. กล้ามเนื้อ
เรียบ
• เป็นกล้ามเนื้อที่พบในกระเพาะอาหาร ลำาไส้
ผนังหลอดเลือด
3. กล้ามเนื้อ
หัวใจ
• เป็นกล้ามเนื้อชนิดพิเศษพบเฉพาะในหัวใจ
เท่านั้น การทำางานของกล้ามเนื้อชนิดนี้จะมี
การหดตัวคลายตัวเป็นจังหวะด้วยตัวเอง
กล้ามเนื้อหัวใจจะมีการหดตัวและคลายตัว
เวลาที่มนุษย์ยังมีชีวิตอยู่
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบ
ประสาท
•       สิ่งมีชีวิตมีความสามารถในการแสดง
ปฏิกิริยาต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
ความสามารถนี้เรียกว่า การตอบสนองต่อสิ่ง
เร้า ซึ่งเป็นการประสาน
งานกัน หรือสัมพันธ์กันของระบบประสาท
ในคนเราระบบประสาทจะประกอบด้วยส่วน
สำาคัญ 3 ส่วน คือ สมอง ไขสันหลัง และเส้น
ประสาท
สมอง (brain)
•       สมองของคนเรามีนำ้าหนักประมาณ 1.3
กิโลกรัม บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ
สมองประกอบด้วยเซลล์ประสาทนับล้าน ๆ
เซลล์เชื่อมต่อกันทำางาน
ประสานกันทำาให้สามารถสื่อสารกันได้ทั่วถึง
ทุกเซลล์ จึงทำาให้สมองทำางานต่างๆ ที่สำาคัย
ได้มากมายหลายอย่าง สมองแบ่งออกเป็น 3
ส่วน คือ
• เซรีบรัม
• เซรีเบลลัม เป็นสมองที่ทำาหน้าที่เป็น
ศูนย์ประสานงานการเคลื่อนไหวของ
ร่างกายให้เป็นไป อย่างต่อเนื่องและ
ควบคุมการทรงตัวของร่างกาย
• เมดัลลา ออบลองกาตา เป็นส่วนของ
สมองที่อยู่ติดกับไขสันหลัง ทำาหน้าที่
เป็นศูนย์ควบคุมเกี่ยวกับการหายใจ
การย่อยอาหาร การเต้นของหัวใจ
ความดันเลือด การไอ การจาม การ
สะอึก และการอาเจียน
ไขสันหลัง
• ไขสันหลังเป็นส่วนต่อจากสมองอยู่ภายในกระดูก
สันหลังข้อแรกลงไปถึงกระดูกบั้นเอว ไขสันหลัง
มีหน้าที่ 3 ประการ ดังนี้
• ทำาหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากหน่วยรับความ
รู้สึก (reception) ไปสู่สมอง
• ทำาหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากสมองไปสู่
หน่วยปฏิบัติงาน (effector)
• เป็นศูนย์รีเฟล็กซ์
เส้นประสาท
(nerve)
• 1. ส่วนประกอบของระบบประสาท เส้นประสาทประกอบ
ด้วยใยประสาท (nerve fiber) หลายอันมารวมกันอยู่ ใย
ประสาทเป็นส่วนหนึ่งของเซลล์ประสาท (neurone) ใยประสาท
คือส่วนของเซลล์ที่ยื่นออกมาจากตัวเซลล์เป็นแขนงเล็กๆ ใย
ประสาทที่นำากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์เรียกว่า เดนไดรต์
(dendrite) ส่วนใยประสาท
ที่นำากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์เรียกว่า แอกซอน
(axon)เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์จะมีเดนไดรต์แยกออกจากตัว
เซลล์ 1 เส้น หรือหลายเส้นก็ได้
แต่แอกซอนจะมีเพียงเส้นเดียวเท่านั้น แอกซอนอาจจะสั้นหรือ
ยาวก็ได้ ถ้าจำาแนกเซลล์ประสาทตามการทำางานแล้วเซลล์
ประสาทที่ทำาหน้าที่รับ
ความรู้สึกจากอวัยวะต่างๆ เรียกว่า เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
(sensory neurone) อวัยวะที่รับความรู้สึกจากสิ่งกระตุ้น
ภายนอก ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนังซึ่งรับความรู้สึกเกี่ยว
กับ เสียง ภาพ กลิ่น รส และความรู้สึกร้อน เย็น เจ็บปวด เป็นต้น
2. การทำางานของ
ระบบประสาท
• การทำางานของระบบประสาทของคนเรานั้นเป็นการทำางานประสาน
กันระหว่างสมอง ไขสันหลังและเซลล์ประสาท จากภาพเมื่อปลาย
นิ้วมือซ้ายสัมผัส
กับนำ้าร้อนในจาน การทำางานของระบบประสาท จะมีขั้นตอนดังนี้
• ความร้อนจะกระตุ้นหน่วยรับความร้อนใต้ผิวหนัง บริเวณปลายนิ้ว
• กระแสความรู้สึกร้อนจะถูกส่งขึ้นไปตามเซลล์ประสาทรับความรู้สึก
ผ่านไขสันหลังไปสู่ศูนย์ประสาทรับความรู้สึกร้อนในสมอง
• สมองรับรู้ว่ามีความร้อนสัมผัสที่ปลายนิ้วมือข้างซ้าย
• ศูนย์ประสาทในสมองจะสั่งการลงมาตามเซลล์ประสาทสั่งการผ่าน
ไขสันหลัง ไปยังหน่วยปฏิบัติงาน คือ กล้ามเนื้อที่โคนแขน
• กล้ามเนื้อเมื่อได้รับคำาสั่งจะหดตัวทำาให้แขนพับงอ ทำาให้ปลายนิ้ว
หลุดจากนำ้าร้อน
• ดังนั้น การทำางานของระบบประสาทก็คือการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
หรือสิ่งกระตุ้น จากภาพความร้อน คือสิ่งเร้า การพับของแขนเพื่อ
หนีจากนำ้าร้อน คือการตอบสนองต่อสิ่งเร้านั่นเอง
จบแล้วค่ะ รักษา
สุขภาพนะค่ะ
ข้อมูล
จากwww.cf.mahidol.ac.th/
autopage/file/wedjanuar
y2009-10-10-33

More Related Content

Similar to Wedjanuary2009 10-10-33

Bblรวม
BblรวมBblรวม
Bblรวมสพฐ
 
การใช้เหตุผล
การใช้เหตุผลการใช้เหตุผล
การใช้เหตุผล
Dowroong Wittaya School
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงkkkkon
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
pop Jaturong
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
krutukSlide
 
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55tassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
บทบาทครู
บทบาทครูบทบาทครู
บทบาทครู
Pnong Club
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการchonchai55
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้Ummara Kijruangsri
 
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กการพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กSusheewa Mulmuang
 

Similar to Wedjanuary2009 10-10-33 (18)

Bblรวม
BblรวมBblรวม
Bblรวม
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
การใช้เหตุผล
การใช้เหตุผลการใช้เหตุผล
การใช้เหตุผล
 
Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 7 ภาค1ปี55
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
บทบาทครู
บทบาทครูบทบาทครู
บทบาทครู
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
 
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กการพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
 

Recently uploaded

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 

Recently uploaded (6)

กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 

Wedjanuary2009 10-10-33