SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
นพ. สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์
กรมควบคุมโรค
ปัญหาสุขภาพเด็กที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม
 เด็กถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่สุดที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
 สรีระวิทยาของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ ทาให้เด็กมีโอกาสที่จะรับ
สัมผัสกับสิ่งคุกคามสูงกว่าผู้ใหญ่
 โรคหรือปัญหาสุขภาพที่สาคัญ คือ โรคระบบหายใจ โรคมะเร็ง โรค
ระบบประสาท และความผิดปกติของการพัฒนาการเจริญเติบโต
 ในขณะที่ประเทศต่างๆ มีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมารับผิดชอบเป็น
การเฉพาะ แต่ประเทศไทยยังขาดความตระหนักในกลุ่มบุคลากร
ทางด้านการแพทย์และประชาชน รวมทั้งการผลักดันเชิงนโยบายใน
ทุกระดับ
ปัญหาโรคจากสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ
1. มลพิษทางอากาศ
2. มลพิษทางน้า
3. มลพิษจากภาคอุตสาหกรรม
4. มลพิษจากการเกษตรกรรม: สารกาจัดศัตรูพืชและสัตว์
5. มลพิษจากขยะและของเสียที่เป็นพิษ
6. อุบัติภัยทั้งจากธรรมชาติและการกระทาของมนุษย์
7. ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงของอากาศ
8. การขยายของเมือง
สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมใน
ประเทศไทย
ตัวอย่างปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม
ที่มาข้อมูล: ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยสานักโรคจากการประกอบอาชีพฯ 2557
กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม
กลุ่ม
เปราะบาง
กลุ่มที่อาศัยใน
พื้นที่เสี่ยง
กลุ่มผู้บริโภภ
-เด็ก
-คนชรา
-ผู้เจ็บป่ วย
-สตรีมี
ครรภ์
มลพิษจากอุตสาหกรรม จ.ระยอง
หมอกควันจากไฟป่ า
ในภาคเหนือตอนบน
สารเคมีรั่วไหลที่คลองเตยก.ท.ม.
และมลพิษทางเสียงรอบสุวรรณภูมิ
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง
การปนเปื้อนของแคดเมียม
ในนาข้าว อ.แม่สอดจ.ตาก
สารปนเปื้อนในเหมือง
ทองคา จ.เลย และพิจิตร
ฝุ่ นละออง , ฝุ่ นหินทราย และ
ปัญหาบ่อขยะ จ.สระบุรี
สารหนูที่ร่อนพิบูลย์
จ.นครศรีธรรมราช
โรงไฟฟ้ าลาตะคอง จ.นครราชสีมา
-10
10
30
50
70
90
110
130
150
22/1/200925/1/200928/1/200931/1/20093/2/20096/2/20099/2/200912/2/200915/2/200918/2/200921/2/2009
Dates
LevelAQI
เชียงราย เชียงใหม่
น่าน พระตาหนักภูพิงคราชนิเวศน์
พะเยา แพร่
แม่ฮ่องสอน โรงเรียนยุพราชจ.เชียงใหม่
ลาปาง ลาพูน
การรับสัมผัสสารตะกั่ว
ในเด็กปฐมวัย
จากสิ่งแวดล้อม
ลักษณะความเสี่ยงของเด็กจากการรับสัมผัส
มลพิษสิ่งแวดล้อม
 จากการที่เด็กประกอบอาชีพหรือทางาน (Occupational health risks)
 จากการเป็นสมาชิกในครอบครัว ที่มีการประกอบอาชีพที่เสี่ยง (Para-
occupational health risks)
 จากการอยู่ในชุมชนที่ใกล้แหล่งกาเนิดมลพิษ (Community health risks)
 จากการเป็นผู้บริโภค (Consumer health risks)
จานวนการป่วยด้วยโรคจากสิ่งแวดล้อมในกลุ่มเด็ก ในปี พ.ศ. 2556
รายงานการเฝ้ าระวังโรค สานักระบาดวิทยา
โรค ผู้ป่วยทั้งหมด เด็กอายุ 0-15 ปี (%) เด็กอายุ 0-5 ปี (%ของเด็ก
ทั้งหมด)
Pesticide 547 32 (5.9%) 22 (68.8%)
Solvent 15 3 (20%) 2 (66.7%)
Toxic gas 43 14 (32.6%) 3 (21.4%)
Env. Lung diseases 184 8 (4.3%) 4 (50%)
Lead 53 0 0
Total 850 57 (6.7%) 31 (54.4%)
สถานการณ์สุขภาพของเด็กไทย
จากการสารวจสภาวะสุขภาพของเด็กไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 ปี พ.ศ.
2551 -2552 (รศ. นพ. วิชัยเอกพลากร และคณะ) พบว่า
 ร้อยละ 78 เคยได้รับควันบุหรี่จากผู้อื่น ในรอบเดือนที่ผ่านมา
 เด็กอายุ 6 - 14 ปี เตี้ยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 3.5 น้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ
3.7 น้าหนักเกินและอ้วน ร้อยละ 9.7 และมีระดับ IQ ต่ากว่าปกติ ร้อยละ
44.8
 เด็กไทย อายุ 6 - 14 ปี เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหืด
ปัญหาพัฒนาการเด็กและปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
 ในสหรัฐอเมริกา พบว่า 3% ของเด็กที่มีปัญหาทางด้านการพัฒนาการ เกิดจากการรับ
สัมผัสมลพิษในสิ่งแวดล้อมและอีก 25%เกิดจากปัจจัยผสมระหว่างกรรมพันธุ์และ
สิ่งแวดล้อม
 โดยสารพิษที่สาคัญ คือ สารตะกั่ว ปรอท Polychlorinated Biphenyls
(PCB) และ สารกาจัดศัตรูพืช
 ปัจจุบันมีการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสารเคมีในสิ่งแวดล้อม (Obesogen)
กับผลกระทบที่ก่อให้เกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (DM type 2) และโรคอ้วน
โดยเฉพาะในเด็ก
 กลไกการเกิดโรค คือ สารดังกล่าวจะไปเปลี่ยนแปลงกระบวนการแบ่งเซลล์ไขมัน
(adipocytes) หรือรบกวนระบบกลไกการควบคุมความหิวหรือพฤติกรรมการ
กินอาหาร
 สารเคมีที่อาจมีฤทธิ์ดังกล่าว เช่น นิโคติน สารหนู Phthalates, Bisphenol
A (BPA), Pesticides และ POPs
ผลกระทบทางสุขภาพในภาคเกษตรกรรม
 สถิติการนาเข้าสารเคมีป้ องกันกาจัดศัตรูพืช ระหว่าง พ.ศ.2540-2553
สถานการณ์สารเคมีกาจัดศัตรูพืชในประเทศไทย
ที่มา: กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปี
จานวนผู้ได้รับการคัด
กรอง(คน)
เสี่ยงและ/หรือไม่
ปลอดภัย(คน)
ร้อยละผลเสี่ยงและ/
หรือไม่ปลอดภัย
2554 533,524 173,243 32.47
2555 244,822 75,749 30.94
2556 314,805 96,227 30.57
2557 314,603 107,989 34.33
(ที่มาข้อมูล: ผลการดาเนินงานด้านอาชีวอนามัยภาคเกษตร ปี 2554-2557
สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์การเจ็บป่ วยด้วยโรคจากสารกาจัดศัตรูพืชในประเทศไทย
ข้อมูลการตรวจคัดกรองสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในกลุ่มเกษตรกร ปี 2554-2557
 ปี พ.ศ.2546-2555(
ค.ศ.2003-2012) ผู้ป่ วย
ได้รับพิษจากสารเคมีป้ องกัน
กาจัดศัตรูพืช เฉลี่ยปีละ
1,734 ราย
ที่มา สรุปรายงานการเฝ้ าระวังโรค ประจาปี 2555 สานักระบาดวิทยา
สถานการณ์การเจ็บป่ วยด้วยโรคจากสารกาจัดศัตรูพืชในประเทศไทย
อัตราป่ วยจากการได้รับพิษจากสารเคมีป้ องกันกาจัด
ศัตรูพืช ปี 2003-2012
ปัญหามลพิษทางอากาศ
โดยเฉพาะปัญหาหมอกควันในเขตจังหวัด
ภาคเหนือ
มลพิษทางอากาศ
 อากาศทั่วไปหรืออากาศภายนอกอาคาร (Ambient air)
 อากาศภายในอาคาร (Indoor air)
ชนิดของมลพิษทางอากาศ
 มลพิษหลัก (Criteria air pollutants): CO, NO2 ,Ozone,
PM, Lead, SO2
 มลพิษจาเพาะ (Hazardous air pollutants): VOC,
pesticides, radionuclides
แหล่งกาเนิด
 จากการจราจร
 จากการประกอบอาชีพทั้งภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบริการ
 จากการใช้ชีวิตประจาวัน: การเผาขยะ
 จากภัยธรรมชาติ
ผลกระทบทางสุขภาพ
 ขึ้นอยู่กับพิษของมลพิษแต่ละชนิด
 ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
 ระบบอวัยวะที่รับผลกระทบ เช่น ระบบหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบ
ภูมิคุ้มกัน
 ผลกระทบมีตั้งแต่มีฤทธิ์ระคายเคืองไปจนถึงก่อให้เกิดมะเร็ง และเป็นสาเหตุ
ของการตายก่อนวัยอันควร
 ประชากรกลุ่มเสี่ยงคือ เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจาตัวในระบบอวัยวะที่
เกี่ยวข้อง
ผลกระทบต่อสุขภาพในเด็ก
 ทารกที่คลอดจากมารดาที่อาศัยในเขตการจราจรหนาแน่น มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นถึง
50% ที่จะมีโอกาสเสียชีวิตภายหลังการคลอด เมื่อเปรียบเทียบกับทารกกลุ่มอื่น
 เด็กที่อาศัยในเขตที่มีมลพิษจากการจราจรหนาแน่น มีโอกาสที่จะป่วยเป็นโรคหู
น้าหนวก (Otitis media) โรคหืดและอาการหืดจับรุนแรง รวมทั้งมีสมรรถภาพ
ของปอดต่ากว่าเด็กในพื้นที่อื่นอย่างมีนัยยะสาคัญทางสถิติ
แหล่งข้อมูล:เว็ปไซด์ศูนย์เชี่ยวชาญด้านอุตุนิยมวิทยาแห่งอาเซียน ประเทศสิงคโปร์
รูปแสดงตาแหน่งและจานวน Hotspot ทิศทางลม และการปกคลุมของหมอกควัน ซึ่งแปล
ผลจากภาพถ่ายดาวเทียม NOAA-18 วันที่ ๘ เมษายน 2558
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
1 4 7 10 13 16 19 22 25 28 31 3 6 9 12 15 18 21 24 27 2 5 8 11 14 17 20 23 26 29 1 4 7 10 13 16 19 22 25 28
มกราคม 2556 กุมภาพันธ์ 2556 มีนาคม 2556 เมษายน 2556
กราฟแสดงค่า PM10 ปี 2556
ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
สถานีอุตุนิยมวิทยาลาปาง อ.เมือง จ.ลาปาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านสบป้ าด อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านท่าสี อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง การประปาส่วนภูมิภาคแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง
สนามกีฬา อบจ จ.ลาพูน สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง จ.เชียงราย
สนง.สาธารณสุขอาเภอแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน
สานักงานเทศบาลเมืองน่าน อ.เมือง จ.น่าน สถานีอุตุนิยมวิทยาแพร่ อ.เมือง จ.แพร่
อุทยานการเรียนรู้กว๊านพะเยาอ.เมือง จ.พะเยา ค่ามาตรฐาน กรมควบคุมมลพิษ
ค่ามาตรฐาน WHO
0
50
100
150
200
250
300
350
1 4 7 10 13 16 19 22 25 28 31 3 6 9 12 15 18 21 24 27 2 5 8 11 14 17 20 23 26 29 1 4 7 10 13 16 19 22 25 28
มกราคม 2557 กุมภาพันธ์ 2557 มีนาคม 2557 เมษายน 2557
กราฟแสดงค่า PM10 ปี 2557
ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
สถานีอุตุนิยมวิทยาลาปาง อ.เมือง จ.ลาปาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านสบป้ าด อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง
การประปาส่วนภูมิภาคแม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง สนามกีฬา อบจ จ.ลาพูน
สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง จ.เชียงราย สนง.สาธารณสุขอาเภอแม่สาย อ.แม่สาย จ.เชียงราย
สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน สานักงานเทศบาลเมืองน่าน อ.เมือง จ.น่าน
สถานีอุตุนิยมวิทยาแพร่ อ.เมือง จ.แพร่ อุทยานการเรียนรู้กว๊านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา
ค่ามาตรฐาน กรมควบคุมมลพิษ ค่ามาตรฐาน WHO
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
1 4 7 10 13 16 19 22 25 28 31 3 6 9 12 15 18 21 24 27 2 5 8 11 14 17 20 23 26 29 1 4 7
มกราคม 2558 ก.พ.-58 มีนาคม 2558 เม.ย.-58
กราฟแสดงค่า PM10 ปี 2558
ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลาปาง
ต.สบป้ าด อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง ต.บ้านดง อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง
ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ลาพูน ต.เวียง อ.เมือง จ.เชียงราย ต.เวียงพางคา อ.แม่สาย จ.เชียงราย
ต.จองคา อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ต.ในเวียง อ.เมือง จ.น่าน ต.นาจักร อ.เมือง จ.แพร่
ต.เวียง อ.เมือง จ.พะเยา ค่ามาตรฐาน กรมควบคุมมลพิษ ค่ามาตรฐาน WHO
ที่มา:กรมควบคุมมลพิษ
จานวนผู้ป่วยด้วยกลุ่มโรคที่เฝ้ าระวังผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่ 8 จังหวัด สัปดาห์ที่ 13จาแนก
รายสัปดาห์ ปี พ.ศ.2558 เปรียบเทียบกับ ปี พ.ศ.2557และค่ามัธยฐานย้อนหลัง 3 ปี (2555-
2557)
ที่มา: สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10
0
500
1000
1500
2000
2500
wk1
wk2
wk3
wk4
wk5
wk6
wk7
wk8
wk9
wk10
wk11
wk12
wk13
wk14
wk15
wk16
wk17
กลุ่มโรคตาอักเสบ
Median 55-57 2558 2557
0
5000
10000
15000
20000
25000
30000
35000
40000
wk1
wk2
wk3
wk4
wk5
wk6
wk7
wk8
wk9
wk10
wk11
wk12
wk13
wk14
wk15
wk16
wk17
โรคหัวใจทุกชนิด
Median 55-57 2558 2557
0
5000
10000
15000
20000
25000
30000
wk1
wk2
wk3
wk4
wk5
wk6
wk7
wk8
wk9
wk10
wk11
wk12
wk13
wk14
wk15
wk16
wk17
โรคทางเดินหายใจทุกชนิด
Median 55-57 2558 2557
0
500
1000
1500
2000
2500
wk1
wk2
wk3
wk4
wk5
wk6
wk7
wk8
wk9
wk10
wk11
wk12
wk13
wk14
wk15
wk16
wk17
กลุ่มโรคผิวหนังอักเสบ
Median 55-57 2558 2557
0
2000
4000
6000
8000
10000
12000
2554 2555 2556
จานวน
ปี
จานวนผู้ป่วยโรคหอบหืด จาแนกตามช่วงอายุ ปี พ.ศ 2554-2556
Sum of 0-4 Sum of 5-9 Sum of 10-14 Sum of 15-19 Sum of 20-24 Sum of 25-29 Sum of 30-34
Sum of 35-39 Sum of 40-44 Sum of 45-49 Sum of 50-54 Sum of 55-59 Sum of 60 ขึ้นไป
0
5000
10000
15000
20000
25000
30000
35000 เกษตรกรรม
ค้าขาย
งานบ้าน
นักเรียน
ผู้ปลูกพืชไร่และพืชผัก
ไม่มีอาชีพ
ไม่ระบุ
รับจ้าง
รับราชการ
อื่นๆ
จำนวนผู้ป่ วยโรคหอบหืด จำแนกตำมอำชีพที่พบผู้ป่ วย
สูงสุด 10 อันดับแรก ปี 2556
0
500
1000
1500
2000
2500
ขอนแก่น
ชัยภูมิ
เชียงใหม่
นครราชสีมา
นครศรีธรรมราช
บุรีรัมย์
พระนครศรีอยุธยา
เพชรบูรณ์
ร้อยเอ็ด
อุบลราชธานี
จานวน
จังหวัด
จานวนผู้ป่ วยโรคหอบหืด สูงสุด10 อันดับแรก ปี 2556
ปัญหาสุขภาพในกลุ่มแรงงานเด็ก
กฎหมายที่เกี่ยวกับการจ้างงานแรงงานเด็ก
พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541หมวด 4 การใช้แรงงานเด็ก
 มาตรา 44 ห้ามจ้างเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี เป็นลูกจ้าง
 มาตรา 47 และ 48 ห้ามจ้างเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางานในช่วงเวลา 22.00 – 06.00
น. ห้ามทางานในวันหยุดและทางานล่วงเวลา
 มาตรา 49 ห้ามจ้างเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางานดังต่อไปนี้
1. งานหลอม เป่า หล่อ หรือรีดโลหะ
2. งานปั๊มโลหะ
3. งานเกี่ยวกับความร้อน ความเย็น ความสั่นสะเทือน เสียงและแสงที่มีอันตรายฯ
4. งานเกี่ยวกับสารเคมีที่เป็นอันตรายฯ
5. งานเกี่ยวกับจุลชีวันเป็นพิษฯ
กฎหมายที่เกี่ยวกับการจ้างงานแรงงานเด็ก (ต่อ)
 มาตรา 49 ห้ามจ้างเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางานดังต่อไปนี้ (ต่อ)
6. งานเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ ยกเว้นทางานในสถานบริการน้ามัน
เชื้อเพลิง
7. งานขับรถยกหรือรถปั้นจั่น
8. งานใช้เลื่อยเดินด้วยพลังไฟฟ้าหรือเครื่องยนต์
9. งานที่ต้องทาใต้ดิน ใต้น้า ในถ้า อุโมงค์หรือปล่องในภูเขา
10. งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี
11. งานทาความสะอาดเครื่องจักรหรือเครื่องยนต์ในขณะที่กาลังทางาน
12. งานที่ต้องทาบนนั่งร้านที่สูงพื้นดินตั้งแต่ 10 เมตรเป็นต้นไป
13. งานอื่นตามที่กาหนดในกระทรวง
รายงานการศึกษาสภาวะทางสุขภาพของพนักงานบริการใน
สถานีน้ามันเชื้อเพลิง (เด็กปั๊ม) ในปี พ.ศ. 2544
 สุ่มสารวจสถานีบริการน้ามันในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล 51 แห่ง
 มีพนักงานทางานทั้งหมด (ส่วนใหญ่ อายุ 15- 18 ปี) 853 คน
 พนักงานที่รับการตรวจสุขภาพ 323 คน (37.9%)
 ตรวจพบความผิดปกติของร่างกาย 15 (4.6%)
 พบความผิดปกติของเลือด (ส่วนใหญ่เป็นโลหิตจาง) 46%
 พบสารเบนซีนในเลือดเกินระดับมาตรฐาน 29%
 พบสาร Phenol ในปัสสาวะเกินระดับมาตรฐาน 4%
ปัญหาโรคปอดจากฝุ่นหิน อ. สีคิ้ว จ. นครราชสีมา
ปี ๒๕๕๖ จานวน ๑,๓๖๓ คน
แยกเป็น ชาย ๗๒๐ คน
หญิง ๖๔๓ คน
ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ๔๓๘ คน
ชาย ๒๒๐ คน
หญิง ๒๑๘ คน
กลุ่มอายุของผู้ประกอบอาชีพหินทราย
0
20
40
60
80
100
- ปี - ปี - ปี ปี ข้นไป
1.95
88.76
6.59 2.7
ร้อยละ
สิ่งคุกคามและผลกระทบต่อสุขภาพ
 โรคปอดจากฝุ่นหินทราย
 เสียงดัง
 การบาดเจ็บจากการทางาน
 ปัญหาท่าทางการทางาน (ปัญหาความผิดปกติของกระดูกและกล้ามเนื้อ มีรายงานการ
รักษาพยาบาลที่ รพสต. เฉลี่ย 3200 ครั้ง ต่อปี)
 ความเครียดจากการทางาน
ผลการคัดกรองสุขภาพผู้ทาอาชีพหินทราย
ปี
จานวนผู้ทาอาชีพหิน
ทราย
จานวนเข้ารับ
การ X-ray
จานวนผล
ผิดปกติ
๒๕๕๐ ๖๓๐ ๑๓ ๓
๒๕๕๑ ๖๓๐ ๓๔๑ ๒๕
๒๕๕๒ ๑,๑๒๘ ๐ ๐
๒๕๕๓ ๑,๑๒๘ ๖๗ ๕
๒๕๕๔ ๙๒๕+สัมผัส๔๓๘ ๐ ๐
๒๕๕๕ ๑,๓๖๓ ๕๖๓ ๘๗ ตาย ๑
๒๕๕๖ ๑,๓๖๓ ๓๐๐
ตาย ๓
สถานการณ์ปัญหาการปนเปื้อนสารโลหะ
ในแหล่งน้าในประเทศไทย
ปัญหาของน้าอุปโภคและบริโภค
 ปริมาณ: มากไป (น้าท่วม) หรือน้อยไป (ภาวะแล้ง)
 คุณภาพ: การปนเปื้อนในน้า
1. ปนเปื้อนสารเคมี
2. ปนเปื้อนเชื้อโรคหรือจุลชีพต่างๆ
ลักษณะการปนเปื้อนสารเคมีในน้า
จาแนกตามสาเหตุของการเกิด
1. เกิดตามธรรมชาติ
2. เกิดจากการกระทาของมนุษย์
จาแนกตามลักษณะของแหล่งก่อเหตุ
1. Point source: จากท่อของโรงงาน จากเรือ
2. Nonpoint source: จากการเพาะปลูก จากถนน จากการทาเหมือง
ฯลฯ
สารเคมีที่ปนเปื้อน
1. สารอินทรีย์: ที่สาคัญคือ Persistent Organic Pollutants
(POPs)
2. สารอนินทรีย์ เช่น โลหะหนักต่างๆ
3. สารผสมระหว่างอินทรีย์และอนินทรีย์เช่น methylmercury
ผลกระทบต่อสุขภาพ
 ขึ้นอยู่กับความเป็นพิษของสารแต่ละชนิด
 มีทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
 ความเป็นพิษขึ้นอยู่กับปริมาณ ช่วงเวลา ช่องทางที่รับสาร และสภาวะสุขภาพ
ของผู้รับผลกระทบ
สรุปสถานการณ์ปัญหาโรคพิษสารหนู
 พ.ศ. 2530 ได้มีการรายงานผู้ป่วยโรคพิษสารหนูที่ อ. ร่อนพิบูลย์ จ. นครศรีธรรมราช
 สาเหตุหลัก คือการบริโภคน้าจากแหล่งน้าธรรมชาติที่ปนเปื้อนสารหนูที่มาจากเหมือง
แร่ดีบุกเก่า โดยกรมควบคุมมลพิษ ตรวจบ่อน้าตื้นพบ 90 %มีสารหนูเกิน 50 µg/l
 จากการสารวจ พบมี 16 หมู่บ้านที่เสี่ยงของตาบลร่อนพิบูลย์ โดยมีจานวนผู้สัมผัส
28,673 คน และในจานวนนี้มี 3 หมู่บ้านที่มีความเสี่ยงสูง โดยมีประชากรถึง 7,924 คน
 จากการตรวจคัดกรอง พบผู้ป่วยอาการรุนแรง มากกว่า 1,000 ราย
นักเรียนมากกว่า 80% มีสารหนูตกค้างในเล็บและผมปริมาณค่อนข้างสูง นอกจากนี้ยัง
พบเด็กนักเรียนมากกว่า 22%มีอาการป่วยทางผิวหนัง
 ปี 2543 สานักระบาดวิทยา พบความชุกของพิษสารหนูเรื้อรัง 24.7%
คาดประมาณประชากรอาจป่วยด้วยพิษสารหนูเรื้อรัง 7,082 คน
 ปัจจุบันพบผู้ป่วยมะเร็งผิวหนัง กระเพาะปัสสาวะ ปอด ประมาณ 20 ราย
เสียชีวิต ประมาณ 8-10 ราย
สถานการณ์ปัญหาในภาพรวมทั้งประเทศ
 ปี 2546 พบ 5 หมู่บ้านเสี่ยงที่อาจจะมีสารหนูปนเปื้อนในน้าดื่ม ได้แก่ หมู่บ้าน
เสี่ยงใน น่าน สงขลา ราชบุรี สุพรรณบุรี และตาก
 น่าน และสงขลา น้าดื่มเกินมาตรฐาน WHO
 แหล่งน้าที่พบสารหนูสูง บ่อน้าตื้น น้าประปาหมู่บ้าน น้าผิวดิน
 ระดับสารหนูรวมในปัสสาวะ(totalarsenic)
- 39 µg/l ใน 22 จังหวัด
- 44 µg/l ใน 5 จังหวัด
สถานการณ์ปัญหาในภาพรวมทั้งประเทศ (ต่อ)
 จากการตรวจสารหนูระบุสปีชีส์ 744 ตัวอย่าง สรุปว่า พื้นที่ที่อาจจะมีสารหนู
ปนเปื้อนในแหล่งน้าดื่มของสุพรรณบุรี ราชบุรี ยะลา และสงขลาบางส่วนนั้น
ระดับการรับสัมผัสสารหนูของประชาชนอยู่ในระดับที่ยังไม่เสี่ยงสูง
 ไม่สามารถสรุปได้อย่างชัดเจนว่าพื้นที่เหล่านี้มีปัญหาสารหนูหรือไม่
 ศึกษาพฤติกรรมการดื่มและใช้น้า ติดตามเฝ้ าระวังทางสิ่งแวดล้อม และตรวจ
คัดกรองทางสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงซ้า ในพื้นที่ที่พบสารเมตาโบไลท์ของสารหนูอ
นินทรีย์ และ สารหนูอนินทรีย์ในรูป As(III) ,As(V)
 ดาเนินการสารวจในจังหวัดอื่นเพิ่มเติม เช่น จังหวัดตาก
สรุปปัญหาผลกระทบทางสุขภาพจากโลหะหนักในแหล่งน้า
สารมลพิษหลัก พื้นที่ที่เกิด สาเหตุ ความผิดปกติที่ตรวจ
พบ
ตะกั่ว ห้วยคลิตี้ จ.
กาญจนบุรี
โรงงานแต่งแร่
ตะกั่ว
เด็ก 24.8%
ผู้ใหญ่ 12.5%*
แคดเมี่ยม อ. แม่สอด จ. ตาก เหมืองสังกะสี? Cd-U12.5%
ไตเสื่อม 33.2%*
สารหนูและ
แมงกานีส
จ. พิจิตร พิษณุโลก
และเพชรบูรณ์
เหมืองทองคา? ในเด็ก
สารหนู 11%
แมงกานีส 70%
* ข้อมูลปี พ.ศ. 2552
ปัญหาสุขภาพจากขยะพิษ:
กรณีขยะอิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่
จังหวัดกาฬสินธุ์
52
ปริมาณของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรม
และจากชุมชน
0.0
0.2
0.4
0.6
0.8
1.0
1.2
1.4
1.6
1.8
2.0
2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547
ปริมำณ(ล้ำนตัน)
ปริมำณของเสียอันตรำยจำกภำคอุตสำหกรรมและจำก
ชุมชน ปี 2535-2547
จากภาคอุตสาหกรรม จากชุมชน
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2553
53
ปริมาณและสถานการณ์ E-waste
 ปี 2546 ประเทศไทย มี ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
หรือ E-waste 58,000 ตัน
 องค์การสหประชาชาติ คาดการณ์ว่า E-waste ของทั้งโลกจะเพิ่มขึ้นราว 40
ล้านตันต่อปี หรือเทียบได้กับปริมาณขยะในรถบรรทุกที่นามาเรียงต่อกัน
เป็นความยาวถึงครึ่งรอบโลก
 ประเทศกาลังพัฒนา รวมทั้งไทย ขาดระบบจัดการซาก E-waste ที่
เหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาการ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพทั้ง
ต่อผู้เก็บรวบรวม ผู้คัดแยกชิ้นส่วน ผู้รับซื้อของเก่า และต่อสิ่งแวดล้อมซึ่ง
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนทั่วไปด้วย
สำรโลหะหนัก ปริมำณที่ตรวจ
พบ
(mg/Kg)
ค่ำมำตรฐำน
คุณภำพดินที่ใช้
เพื่อกำรอยู่อำศัย
(mg/Kg)
ปรอท(Hg) 0.70 23
ตะกั่ว(Pb) 79,520 400
แคดเมี่ยม(Cd) 1.46 37
นิกเกิล(Ni) 75.2 1,600
แมงกำนีส(Mn) 1,519 1,800
ที่มำ: มูลนิธิเอเชีย (ประเทศไทย),2551
ปริมำณโลหะหนักที่ตรวจพบในตัวอย่ำงดินจุด
ทิ้งขยะของ อบต.โคกสะอำด
ปริมำณโลหะหนักที่ตรวจพบในตัวอย่ำงน้ำ
โลหะหนัก ปริมำณที่ตรวจพบ(mg/l) ค่ำมำตรฐำนกำร
ระบำยน้ำลงทำงน้ำ
ชลประทำน(mg/l)
ตัวอย่างที่1 ตัวอย่างที่2
ปรอท ‹0.001 ‹0.001 0.005
ตะกั่ว 0.02 0.01 0.1
แคดเมี่ยม 0.001 0.001 0.03
ทองแดง ‹0.1 ‹0.1 2.0
นิกเกิล 0.15 ‹0.1 0.2
แมงกานีส 0.16 0.17 0.5
ปริมำณโลหะหนักที่ตรวจพบในดินนำข้ำว
โลหะหนัก ปริมำณที่ตรวจพบ
(mg/kg)
มำตรฐำนคุณภำพ
ดินที่ใช้ประโยชน์
เพื่อกำรอยู่อำศัย
และเกษตรกรรม
(mg/kg)
ดินนาข ้าว
ใกล ้หลุมขยะ
ดินนาข ้าว
ต.หนองตอก
แป้น
ปรอท ‹0.1 ‹0.1 ไม่เกิน23
ตะกั่ว 2.48 3.70 ไม่เกิน400
แคดเมี่ยม ‹0.1 ‹0.1 ไม่เกิน37
ทองแดง ‹10.0 ‹10.0 ไม่ได ้กาหนด
นิกเกิล ‹10.0 ‹10.0 ไม่เกิน1600
แมงกานีส ‹10.0 228 ไม่เกิน1800
ปริมำณโลหะหนักในตัวอย่ำงข้ำวเปลือก
โลหะหนัก ปริมำณที่ตรวจ
พบ(mg/kg)
มำตรฐำนปริมำณโลหะ
หนักที่มีได้ในข้ำวเปลือก
ประเทศอินเดีย(mg/kg)
ปรอท ไม่มีหรือมี ‹0.01 1.0
ตะกั่ว 0.27 2.5
แคดเมี่ยม ไม่มีหรือมี‹0.06 1.5
ทองแดง 3.53 30.0
แมงกานีส 84.27 ไม่ได ้กาหนดไว ้
*ข้อมูลจำกManual on Standards of Paddy
;http:www.agmarknet.nic.in/Paddy_manual.htm
ค่าทางสถิติ ระดับตะกั่วในเลือด (µg/dl)
มัธยฐาน(Q1-Q3) 1.5(1.5-4.1)
ค่าต่าสุด 1.50
ค่าสูงสุด 13.20
ตารางแสดงผลการตรวจระดับตะกั่ว
ในเลือดเด็ก(n=124)
ระดับตะกั่วแยกตามระดับปริมาณตะกั่ว
ระดับตะกั่ว
(µg/dl)
จานวน ร้อยละ
ต่ากว่า 5 100 80.6
5-9.9 23 18.5
10 ขึ้นไป 1 0.8
รวม 124 100.0
หมายเหตุ:WHO กาหนดระดับตะกั่วในเลือดเด็กไม่ควรเกิน 10 (µg/dl)
ข้อสังเกตจากข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ
จากสิ่งแวดล้อมในเด็ก
 สถานการณ์ในภาพรวมของประเทศ (เมื่อเทียบกับสถานการณ์ปัญหา) ยังมีการ
รายงานน้อยกว่าที่ควรจะเป็น (Under- report)
 การศึกษาวิจัยหรือการสอบสวนโรคเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่ ยังขาด
การศึกษาผลกระทบในกลุ่มเด็ก
 การรายงานส่วนใหญ่มาจากกรณีศึกษาเป็นกรณีเฉพาะและเป็นการศึกษาแบบตัดขวาง
 สิ่งคุกคามที่ศึกษา คงเน้นที่ปัจจัยมลพิษสารเคมี ยังขาดการศึกษาในปัจจัยอื่น เช่น
ปัจจัยทางกายภาพ การยศาสตร์ ฯลฯ
ข้อจากัดในการวินิจฉัยหรือรายงานโรคที่เกิดจาก
สิ่งแวดล้อมในเด็ก
 เด็กไม่สามารถให้ข้อมูลหรือร้องเรียนเกี่ยวกับการรับสัมผัสมลพิษสิ่งแวดล้อมโดยตรงได้
 โรคจากสิ่งแวดล้อม มักมีลักษณะการรับสัมผัสเพียงเล็กน้อยแต่ต่อเนื่องยาวนาน รวมทั้งมักมี
ระยะฟักตัวนาน ทาให้ยากต่อการวินิจฉัย
 ความผิดปกติบางชนิด เกิดจากการรับสัมผัสของพ่อแม่ ไม่ได้เกิดจากการรับสัมผัสในกลุ่มเด็ก
โดยตรง ทาให้ยากต่อการหาสาเหตุ
 ความผิดปกติบางอย่างเกิดจากการรับสัมผัสในวัยเด็ก แต่มาแสดงอาการเมื่อเป็นผู้ใหญ่แล้ว
ทาให้มีความยากในการหาสาเหตุและก่อให้เกิดการขาดความตระหนักของปัญหาในกลุ่มเด็ก
 บุคลากรทางการแพทย์ขาดความตระหนักในปัญหาของกลุ่มเด็ก การเก็บข้อมูลและเก็บ
ตัวอย่างทางชีวภาพในเด็กมีความยากลาบาก ทาให้เกิดการละเลยที่จะศึกษาหรือรายงานผล
สรุป
 ปัญหาสถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อม นับวันมีความสาคัญและทวีความรุนแรงมาก
ยิ่งขึ้น
 ปัญหาโรคจากสิ่งแวดล้อมในเด็กมีแนวโน้มรุนแรงและเพิ่มมากยิ่งขึ้น
 สาเหตุของปัญหาเกิดจากการประกอบอาชีพ การอยู่ในแหล่งมลพิษ การปนเปื้อนใน
ห่วงโซ่อาหาร และการใช้ชีวิตประจาวัน
 ข้อมูลการศึกษาและรายงานต่าง เป็นแค่ส่วนหนึ่งของสถานการณ์ปัญหาจริงของ
ประเทศ
 การสร้างความตระหนักในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์และประชาชน การพัฒนา
วิชาการ การหามาตรการในการป้องกันและควบคุมโรค ถือเป็นความจาเป็นอย่าง
เร่งด่วน
ขอขอบพระคุณ
 ทีมงานของสานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข
 นายเกรียงศักดิ์มุ่งโตกลาง นักวิชาการสาธารณสุข สสอ. สีคิ้ว จ. นครราชสีมา
 หน่วยงานต่าง ที่เกี่ยวข้อง ในการให้ข้อมูลสนับสนุน
“It is our responsibility as parents,
scientists, regulators, and
physicians to protect the smallest
among us from environmental
hazards.”
Kenneth Olden
Director
The National Institute of Environmental Health Sciences

More Related Content

What's hot

เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกPikaya
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
แฮนด์บอล
แฮนด์บอลแฮนด์บอล
แฮนด์บอลkruda500
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
แฮนด์บอล
แฮนด์บอลแฮนด์บอล
แฮนด์บอล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 

Viewers also liked

World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยการเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์tassanee chaicharoen
 

Viewers also liked (7)

World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยการเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
 
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหาสารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์
 

Similar to สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย

Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศJittrapornKhumthongt
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลสารภี
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
งานนำเสนอ2.pptx
งานนำเสนอ2.pptxงานนำเสนอ2.pptx
งานนำเสนอ2.pptxSasiwan4
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)The Field Alliance
 
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน""อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"Fern Jariya
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556Narong Jaiharn
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพTerapong Piriyapan
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศAraya Toonton
 

Similar to สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย (20)

Nopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat PreparednessNopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat Preparedness
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
งานนำเสนอ2.pptx
งานนำเสนอ2.pptxงานนำเสนอ2.pptx
งานนำเสนอ2.pptx
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
 
Epidemiology
EpidemiologyEpidemiology
Epidemiology
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน""อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 

More from csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก

More from csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก (20)

The Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
The Research of Injuries and Depression among Taiwanese IndigenesThe Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
The Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
 
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
 
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in AustriaDistl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
 
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk StudentInjury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
 
Home after School
Home after School Home after School
Home after School
 
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
 
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the CommunitySurveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
 
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety toolTeacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
 
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
 
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violenceStrong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
 
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, JapanImpacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
 
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei ProvinceAn Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical ServiceServices and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
 
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
 
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
 
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclistsDeterminants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
 
Prevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowningPrevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowning
 
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
 

สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย

Editor's Notes

  1. 37
  2. 40