SlideShare a Scribd company logo
การจัดทาเอกสาร มคอ 3 - 7
ดร. ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต
25 กุมภาพันธ์ 2558
เนื้อหาคาบรรยาย
• แนวโน้มการปฏิบัติงานในยุคปัจจุบัน
• ความสาคัญของ มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา
• ปัญหาในการจัดทาเอกสาร มคอ ๓ และ ๕ พร้อมกับคาแนะนา
ในการแก้ไขการจัดทาเอกสารให้ดีขึ้น
• สรุป
การปฏิบัติงานทั่วไป
• หน่วยงานหลายแห่งประสบปัญหาในการปฏิบัติงานมาก โดยเฉพาะ
หน่วยงานขนาดใหญ่ที่มีหน่วยงานย่อยปฏิบัติงานลักษณะเดียวกัน เช่น
มหาวิทยาลัยมีคณะต่างๆจานวนมาก หรือ กระทรวงมหาดไทยมีจังหวัด
ถึง 76 จังหวัด.
• ความสาเร็จของหน่วยงานย่อยส่วนมากขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติที่มีทักษะและ
ความสามารถสูง
• การเปรียบเทียบความสาเร็จของหน่วยงานย่อยกระทาได้ยาก
• เมื่อผู้ปฏิบัติงานที่มีความสามารถสูงถูกโยกย้ายไป หน่วยงานก็มีปัญหา
• Performance จึงขึ้นๆลงๆ ตามตัวผู้บริหารที่มีความสามารถ
ความสามารถในการปฏิบัติงานขึ้นอยู่กับอะไร?
• บุคลากร หน่วยงานต้องการได้บุคลากรที่เก่งที่สุด แต่ไม่มี
หน่วยงานใดสามารถมีบุคลากรที่เก่งที่สุดในทุกด้าน
• เทคโนโลยี หน่วยงานสามารถซื้อเทคโนโลยีที่เยี่ยมยอดที่สุดมา
ใช้ แต่ความสามารถในการใช้ก็ขึ้นอยู่กับทักษะและ
ความสามารถของคน รวมทั้งการมีบุคลากรด้านเทคโนโลยีที่เก่ง
และมีความสามารถสูงมาเป็นผู้พัฒนา, จัดฝึกอบรม, และ ให้
ความช่วยเหลือ
• กระบวนงาน หน่วยงานต้องมีกระบวนงานเพื่อให้บุคลากร
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิผล
เป้าหมายของการปฏิบัติงานได้เปลี่ยนไป
• เดิมเป้าหมายของการปฏิบัติงานคือทางานให้เสร็จสิ้นตามหน้าที่
และที่สาคัญที่สุดคือให้หัวหน้าและผู้บริหารพอใจ
• แต่ปัจจุบันนี้เป้าหมายได้เปลี่ยนไปแล้ว นั่นคือ
– การปฏิบัติงานต้องให้ถูกต้องตรงตามกฎหมาย, กฎระเบียบ, มาตรฐาน
– การปฏิบัติงานต้องทาให้ลูกค้าและผู้รับบริการพอใจ
– การปฏิบัติงานต้องมีประสิทธิภาพ, ประสิทธิผล และ คุณภาพ
– การปฏิบัติงานต้องได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นตลอดเวลา เพื่อให้
หน่วยงานมีความยั่งยืน
– การปฏิบัติงานต้องทาให้ผู้ปฏิบัติได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้น
การพัฒนาตนเองของหน่วยงานต่างๆ
• เพื่อตอบสนองต่อแนวทางการปฏิบัติงานแบบใหม่ หน่วยงานจานวน
มากจึงได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานของตนเองด้วยวิธี
ต่างๆ
– การรื้อปรับระบบ (Business Process Reengineering)
– การนามาตรฐาน ISO มาใช้ เช่น ISO 9000 ที่มีหลักการง่ายๆว่า จดบันทึก
วิธีการที่คุณทา แล้ว ทาตามวิธีการที่คุณบันทึก
– การทางานที่หลากหลาย ทาให้หน่วยงานที่ต้องกากับดูแลงานเฉพาะกิจต้อง
ศึกษาและพัฒนามาตรฐานกลางมากขึ้น เช่น กระทรวงศึกษาธิการต้อง
พัฒนาวิธีการaccreditation, กระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้มีการ
ประเมินมาตรฐาน HA, สถาบันวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (ในสหรัฐฯ) กาหนดให้
มีการประเมิน CMMI.
Based on material from:
Bruegge and Dutoit 7
มาตรฐานในงานวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การสะท้อนให้เห็นเป้าหมายที่เปลี่ยนไป
• การทางานในแต่ละแผนกจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหมือนกัน
หมดได้ต่อเมื่อมีการเขียนขั้นตอนการทางานนั้นเป็นมาตรฐานลาย
ลักษณอักษร ขั้นตอนที่เขียนนั้นต้องได้มาจากการวิเคราะห์ศึกษาข้อดี
ข้อเสียของการปฏิบัติงานเดิม และศึกษา Best practices ของผู้อี่น
• กระบวนงานมาตรฐานนั้นจะต้องปรับเปลี่ยนได้ตามความจาเป็นในการ
นาไปใช้งานในสถานการณ์ต่างๆ
• ผู้ปฏิบัติงานได้รับการฝึกอบรมให้รู้จักใช้ขั้นตอนมาตรฐานนั้น
• มีการกากับดูแลเพื่อให้แน่ใจว่า ผู้ปฏิบัติได้ปฏิบัติตามขั้นตอนจริง
การสะท้อนให้เห็นเป้าหมายที่เปลี่ยนไป 2
• มีการจัดเก็บตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการวัด performance และคุณภาพ ของ
การปฏิบัติงาน, ความสอดคล้องกับระเบียบปฏิบัติ, ความสาเร็จของ
ผลลัพธ์
• มีการวางแผนและบันทึกรายละเอียดการปฏิบัติงาน
• มีการพิจารณาจัดหาทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน
• มีการพิจารณาประเด็นปัญหาและตัดสินใจแก้ปัญหา โดยบันทึก
ประเด็นปัญหาและการตัดสินใจเอาไว้ด้วย
• มีการเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงการปฏิบัติงานสาหรับอนาคต
• มีการจัดทารายงานเสนอผู้บริหารให้ทราบผลการปฏิบัติงาน
กล่าวโดยย่อ การปฏิบัติงานยุคใหม่มีลักษณะดังนี้
1. การปฏิบัติงานมีลักษณะเป็นกระบวนงาน ซึ่งอาจจะมีขั้นตอนข้าม
ฟังก์ชันงานหลายแผนกได้
2. กระบวนงานระบุขั้นตอนปฏิบัติไว้อย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร
โดยมีหลักคิดว่า หากผู้ปฏิบัติงานทาตามขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่าง
ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ผลงานจะต้องดีเสมอ
3. ผู้ปฏิบัติสามารถปรับเปลี่ยนกระบวนงานมาตรฐานให้เหมาะสมกับ
สภาวการณ์ได้ แต่ต้องทาตามกฎเกณฑ์ที่กาหนด
4. กระบวนงานมีหัวข้อปฏิบัติสองด้าน
1. หัวข้อปฏิบัติที่เป็นงานหลักตามภารกิจของกระบวนงานนั้น
2. หัวข้อปฏิบัติที่เป็นงานจัดการกระบวนงานนั้น
งานของอาจารย์คือ การสอนและให้คาปรึกษา
• การสอนอาจจัดว่าเป็นกระบวนงานได้ เพราะเป็นงานที่มีกิจกรรม
เกี่ยวเนื่องกับฟังก์ชันงานอื่นๆหลายงาน
• ขั้นตอนหลักคือ
– การรับทราบชื่อรายวิชาที่จะสอน
– การรับทราบรายชื่อนักศึกษาที่ได้ลงทะเบียนเรียน
– การจัดเตรียมทรัพยากรสาหรับใช้
– การจัดเตรียมเอกสารการสอนและงานที่จะมอบหมาย
– การสอนและการมอบหมายงาน
– การจัดเตรียมข้อสอบ
– การสอบ
– การตรวจข้อสอบ, การคิดคะแนนสอบและส่งคะแนนสอบ
มคอ เป็นกรอบเพื่อให้มหาวิทยาลัยมีคุณภาพ
• มคอ ๑ เป็นมาตรฐานหลักสูตรแต่ละสาขาที่ คกก กาหนดขึ้น
• มคอ ๒ เป็นหลักสูตรที่แต่ละสถาบันจัดทาขึ้น ตาม มคอ 1 หรือ
ตามที่สถาบันเห็นว่าควรจะเป็นในกรณีที่ไม่มี มคอ 1
• มคอ ๓ - ๔ เป็นเอกสารการวางแผนและเตรียมการสอน
• มคอ ๕ - ๖ เป็นเอกสารสรุปผลการสอน
• มคอ ๗ เป็นเอกสารแสดงผลการประชุมพิจารณาประเมินผลการ
สอนของอาจารย์ในรอบปี เพื่อปรับปรุงเนื้อหาวิชาและหลักสูตร
มคอ มายุ่งเกี่ยวกับการสอนอย่างไรบ้าง?
• ในบางสาขา มคอ ๑ กาหนดวิชาที่จะต้องเปิดสอน
• มคอ ๒ ต้องให้รายละเอียดต่างๆ มากมาย
– ชื่อหลักสูตร ฯลฯ และ อาชีพที่จะปฏิบัติได้
– ปรัชญาและแนวคิดของหลักสูตร
– ทักษะอย่างน้อย ๕ ประการที่นักศึกษาจะต้องได้รับ
– จานวนและรายชื่อวิชากลุ่มต่างๆ
– ทรัพยากรของหลักสูตร
– ตัวชี้วัด
– แผนการพัฒนาอาจารย์
– ฯลฯ.
รายละเอียดของ มคอ ๓
หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ
หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมิน
หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
หมวดที่ ๗ การประเมินและการปรับปรุงของรายวิชา
อาจารย์ใช้ มคอ ๓ ทาอะไร
มคอ ๓ คือเครื่องมือในการวางแผนการสอนของอาจารย์ และ อาจารย์จะต้องทา
ให้เสร็จสิ้นก่อนการเปิดสอนในภาคการศึกษานั้น
• อาจารย์กาหนดจุดมุ่งหมายของรายวิชา
• อาจารย์ทราบคาอธิบายรายวิชาจาก มคอ ๒
• อาจารย์แจกแจงคาอธิบายรายวิชาลงในแผนการสอนได้
• อาจารย์นาผลการเรียนรู้ของรายวิชาจาก มคอ ๒ มาเป็นตัวตั้งในการสอน
และการประเมินผลการเรียนรู้ได้
• อาจารย์กาหนดวิธีการประเมินรายวิชาและประกาศให้ นศ รู้
• อาจารย์ทราบผลการประเมินการสอนจากการให้ นศ ประเมิน
• อาจารย์สามารถเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงรายวิชา
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• ข้อมูลในหมวดที่ ๑ ผิดพลาด เพราะอาจารย์ไม่ได้ใส่ใจเขียน
เช่น วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
ไม่ถูกต้อง
• จุดมุ่งหมายของรายวิชา (หมวดที่ ๒) ไม่ตรงกับคาอธิบายรายวิชา
• วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา ไม่สะท้อนถึง
ความคิดว่าทาไมจึงต้องมีรายวิชานี้ในหลักสูตร ส่วนมากมักจะ
เขียนซ้ากับวัตถุประสงค์ของรายวิชา
• จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (หมวดที่ ๓) ไม่ถูกต้อง (ให้
พิจารณาจากหน่วยกิต และ การสอนจริง ๑๕ สัปดาห์)
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาแนะนาฯ (หมวด
ที่ ๓) ถ้ามีให้อ้างถึงประกาศ หรือ ข้อมูลในเว็บ.
• การพัฒนาผลการเรียนรู้ของ นศ. (หมวดที่ ๔) อาจารย์หลายคน
ไม่ได้พิจารณารายละเอียด คือเพียงแต่ก๊อปปีจาก มคอ ๒ มาลง
เท่านั้น. อาจารย์จะต้องพิจารณาผลการเรียนรู้ที่เป็นจุดดา ใน
มคอ ๒ แล้วนามาพิจารณาว่าตรงกับเนื้อหาอะไรในวิชา เช่น ใน
ด้านคุณธรรมนั้น ถ้าเป็นวิชา ภ ไทย, ภ อังกฤษ, สังคมศาสตร์ จะ
มีคุณธรรมอะไรที่จะต้องสอน, จะสอนอย่างไร, และจะ
ประเมินผลด้วยการสอบในแบบใด.
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• แผนการสอน (หมวดที่ ๕) มักจะเขียนหยาบเกินไป
• ถ้าตอนทา มคอ ๒ ได้แยกย่อยคาอธิบายรายวิชาลงไปถึง ๑๒-๑๕
เรื่องแล้ว จะทาให้จัดเตรียมแผนการสอนได้ง่าย.
• ถ้าการสอนตรงกับบทใดในตาราหลัก ให้ระบุไว้ด้วย (อาจารย์หลาย
คนมักจะไม่ระบุ ซึ่งเท่ากับไม่ได้วางแผน).
• กิจกรรมการเรียนการสอน ควรพิจารณาให้สอดคล้องกับเนื้อหา
(อย่ามีแต่เพียงบรรยายด้วย PPT อย่างเดียว).
• ผู้สอน ถ้ามีหลายคน ให้ระบุให้ชัด.
• เรื่องใหญ่คือ เขียนจานวนสัปดาห์ที่ใช้สอนไม่ครบ ๑๕ สัปดาห์
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• แผนการประเมินการเรียนรู้ คือการระบุว่าจะประเมินนักศึกษา
ออกมาเป็นคาแนนสอบ (หรือเกรด) ได้อย่างไร. อาจารย์จะต้อง
ตรวจสอบว่าคะแนนสอบย่อยทั้งหมดนั้นเมื่อรวมแล้วได้ ๑๐๐% จริง
• หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
– เอกสารและตาราหลัก คือเอกสารและตาราที่กาหนดให้นักศึกษาทุกคน
จะต้องมีเพื่ออ่าน อาจจะเป็นเอกสารการสอนอย่างละเอียดที่อาจารย์
จัดเตรียมให้ก็ได้ ถ้าเป็นตาราควรเป็นเล่มที่ยังหาซื้อได้ในปัจจุบัน
– เอกสารและข้อมูลสาคัญ คือเอกสารและตาราที่มีอยู่ในห้องสมุด และเป็น
ส่วนที่นักศึกษาควรจะอ่านประกอบเพื่อขยายความรู้ให้กว้างขวาง. ควรเป็น
เล่มที่มีในห้องสมุดและให้กาหนด ISBN ไว้ด้วย.
– เอกสารและข้อมูลแนะนา คือเอกสารอื่นๆ รวมทั้ง URL ของเว็บ ซึ่ง
นักศึกษาอาจจะอ่านหรือไม่อ่านก็ได้.
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓
• อาจารย์หลายท่านไม่ชอบหมวดที่ ๗ การประเมินและการ
ปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา. แต่หมวดนี้ก็คือการประกัน
คุณภาพ และเป็นหมวดที่สามารถช่วยให้อาจารย์สอนได้ดีขึ้น.
• มหาวิทยาลัยควรมีนโยบายในการประเมินการสอนของอาจารย์?
• การปรับปรุงการสอนในหมวดนี้ไม่ใช่ปรับปรุงหลังเสร็จสิ้นการ
สอน แต่เป็นการปรับปรุงระหว่างที่ยังสอนอยู่
• การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ หากให้ คกก ทวนสอบ จะต้องจัดเก็บ
รายงานการประชุมไว้เป็นหลักฐาน.
รายละเอียดของมคอ ๕
หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป
หมวดที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน
หมวดที่ ๓ สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
หมวดที่ ๔ ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ
หมวดที่ ๕ การประเมินรายวิชา
หมวดที่ ๖ แผนการปรับปรุง
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕
• แบบฟอร์มที่ สกอ กาหนด ไม่ได้มีคอลัมน์สาหรับระบุสัปดาห์
ควรเติมเข้าไปเพื่อให้ตรวจสอบกับแผนการสอนใน มคอ ๓ ได้
ง่าย
• ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาที่ระบุในหมวดที่ ๒ ไม่ได้รับการ
ประมวลไปพิจารณาในหมวดที่ ๖
• อาจารย์ไม่ได้พิจารณากรอกเนื้อหาในหมวดที่ ๒ อย่างจริงจัง
เพราะอาจไม่ใส่ใจ หรือ ไม่ได้จดบันทึกรายละเอียดเอาไว้ หรือ
ไม่ได้แก้ไขปัญหาระหว่างการสอน
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕
• หมวดที่ ๓ สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา มักจะมี
ปัญหาเรื่องการนับจานวน นศ ในประเภทต่างๆ ไม่ตรงกันกับใบ
แจ้งระดับคะแนนนักศึกษา.
• ระดับคะแนนที่ผิดปกติ ไม่ได้รับการอธิบายอย่างชัดเจนว่าเป็น
เพราะสาเหตุอะไร. ส่วนใหญ่อาจารย์มักจะบอกว่า นศ มี
พื้นฐานค่อนข้างต่า แต่ คาถามก็คือ แล้วอาจารย์ได้ปรับปรุงการ
สอนอย่างไรเพื่อรับมือกับปัญหานี้บ้าง?
• ประเด็นด้านการคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินมักจะไม่มีใคร
รายงาน
ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕
• หมวดที่ ๔ ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ เป็นหมวดที่
อาจารย์ควรจะใช้ในการแจ้งให้มหาวิทยาลัยทราบว่ามีปัญหาใน
ด้านทรัพยากร หรือ การบริหารของคณะอย่างไรบ้าง?
• หมวดที่ ๕ การประเมินรายวิชา และ ความเห็นของอาจารย์
ผู้สอน ควรให้ความเห็นในเชิงสร้างสรรค์เกี่ยวกับผลการประเมิน
โดยเฉพาะให้เน้นว่าอาจารย์จะช่วยปรับปรุงการสอนได้อย่างไร?
• หมวดที่ ๖ แผนการปรับปรุง ส่วนใหญ่ที่พบมาอาจารย์ยังเขียน
น้อยเกินไป
การจัดทารายงาน มคอ ๕ และ ๗
• อาจารย์แต่ละวิชาที่สอนในภาคการศึกษานั้นๆ จะต้องจัดทารายงาน
มคอ ๕ ให้เสร็จภายใน ๓๐ วันหลังสิ้นสุดภาคการศึกษา และ ให้ส่ง
รายงานนั้นให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร.
• อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรพิจารณาปัญหาที่ได้รับทราบจาก
รายงาน. หากเห็นว่าเป็นปัญหาที่เกี่ยวกับการบริหารหรือการจัดสรร
ทรัพยากรให้รีบแก้ไขทันที.
• เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษาแล้ว คณะกรรมการประจาหลักสูตรจะต้อง
ประชุมพิจารณารายงาน มคอ ๕ ทั้งหมด แล้วนารายละเอียดมาจัดทา
เป็นรายงาน มคอ ๗ เพื่อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตร
ต่อไป.
กรอบมาตรฐาคุณวุฒิ
อุดมศึกษาแห่งชาติ
ติดตามโดยการประกัน
คุณภาพ
การวิจัยในห้องเรียน
Teaching Unit
กลวิธีการสอนแบบต่าง ๆ
TQF ระดับสาขาวิชา
รายละเอียดของหลักสูตร
(มคอ2)
รายละเอียด
ของรายวิชา
(มคอ3,4)
กระบวนการเรียนการสอน
การวัดผลประเมินผล
วางแผนปรับปรุง + พัฒนา
การรายงานผล
รายวิชา(มคอ5,6
)
การรายงานผลหลักสูตรประจาปี(มคอ.7)
(รายงานผลการดาเนินการในภาพรวม
และเสนอแนวทางในการปรับปรุง)
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
เกณฑ์กาหนดชื่อปริญญา
หลักเกณฑ์การเทียบโอน
เกณฑ์แนวทางอื่น ๆ
 ติดตามผลการดาเนินการโดยประกันคุณภาพ (IQA)
ภาควิชา
คณะกรรมการ
จัดทาหลักสูตร
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ประจาหลักสูตร
หัวหน้าภาควิชา
เอกสาร มคอ.3-7 เป็นเอกสารภายในของสถาบัน ต้องมีให้ตรวจสอบ
สรุปการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา (TQF)
สรุป
• การจัดทาเอกสาร มคอ ทั้งหลายให้มีความถูกต้องเป็นเรื่องสาคัญ
ไม่ใช่เพราะ สกอ บังคับ แต่เพราะเป็นการปฏิบัติที่ดี.
• มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา หรือ มคอ นี้ หากพิจารณาให้ถี่ถ้วนแล้ว
จะเห็นว่าเป็นวิธีการปฏิบัติที่ดี และ ได้จัดทาขึ้นตามหลักการที่ดี
เยี่ยม.
• อาจารย์สมควรศึกษารายละเอียดในแต่ละรายงานให้เข้าใจ.
• อาจารย์จะต้องฝึกการสอนให้นักศึกษาได้ความรู้ตามที่กาหนดไว้ใน
เอกสาร มคอ, นักศึกษาเกิดทักษะ ๕ ประการจริง, อาจารย์ได้รับ
ความรู้และทักษะที่ดีในการสอนและการปรับปรุงการสอน,
มหาวิทยาลัยได้อาจารย์และนักศึกษาที่มีคุณภาพ

More Related Content

What's hot

การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯการจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
Teaching & Learning Support and Development Center
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
Ritthiporn Lekdee
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
DuangdenSandee
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
native
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
Prachyanun Nilsook
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
sripayom
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
Watermalon Singha
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐานเทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
Prachyanun Nilsook
 
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องโครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องRapheephan Phola
 

What's hot (20)

การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯการจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
ใบความรู้ เรื่องพระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐานเทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
เทคนิคการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน
 
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องโครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
 

Similar to การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7

คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
 
กลยุทธ์พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
กลยุทธ์พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษากลยุทธ์พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
กลยุทธ์พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาguest7530ba
 
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงานเทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
Bu-nga
 
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานเทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
tipprapapon10
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
kanidta vatanyoo
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
krutep
 
Integrate research teaching_project
Integrate research teaching_projectIntegrate research teaching_project
Integrate research teaching_project
Watcharee Phetwong
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
Denpong Soodphakdee
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
XForeverx Panuwat
 

Similar to การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7 (20)

คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
369511
369511369511
369511
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
กลยุทธ์พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
กลยุทธ์พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษากลยุทธ์พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
กลยุทธ์พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
 
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงานเทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
 
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงานเทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
Integrate research teaching_project
Integrate research teaching_projectIntegrate research teaching_project
Integrate research teaching_project
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
บทที่ 8.1
บทที่ 8.1บทที่ 8.1
บทที่ 8.1
 

More from Teaching & Learning Support and Development Center

สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
Teaching & Learning Support and Development Center
 
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Worksการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
Teaching & Learning Support and Development Center
 
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการรวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
Teaching & Learning Support and Development Center
 
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
Teaching & Learning Support and Development Center
 
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพการพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
Teaching & Learning Support and Development Center
 
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
Teaching & Learning Support and Development Center
 
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
Teaching & Learning Support and Development Center
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
Teaching & Learning Support and Development Center
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
Teaching & Learning Support and Development Center
 
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork rameworkKMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
Teaching & Learning Support and Development Center
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
Teaching & Learning Support and Development Center
 
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาการบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
Teaching & Learning Support and Development Center
 

More from Teaching & Learning Support and Development Center (12)

สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
 
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Worksการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
 
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการรวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพการพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
 
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
 
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork rameworkKMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาการบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
 

การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7

  • 1. การจัดทาเอกสาร มคอ 3 - 7 ดร. ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต 25 กุมภาพันธ์ 2558
  • 2. เนื้อหาคาบรรยาย • แนวโน้มการปฏิบัติงานในยุคปัจจุบัน • ความสาคัญของ มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา • ปัญหาในการจัดทาเอกสาร มคอ ๓ และ ๕ พร้อมกับคาแนะนา ในการแก้ไขการจัดทาเอกสารให้ดีขึ้น • สรุป
  • 3. การปฏิบัติงานทั่วไป • หน่วยงานหลายแห่งประสบปัญหาในการปฏิบัติงานมาก โดยเฉพาะ หน่วยงานขนาดใหญ่ที่มีหน่วยงานย่อยปฏิบัติงานลักษณะเดียวกัน เช่น มหาวิทยาลัยมีคณะต่างๆจานวนมาก หรือ กระทรวงมหาดไทยมีจังหวัด ถึง 76 จังหวัด. • ความสาเร็จของหน่วยงานย่อยส่วนมากขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติที่มีทักษะและ ความสามารถสูง • การเปรียบเทียบความสาเร็จของหน่วยงานย่อยกระทาได้ยาก • เมื่อผู้ปฏิบัติงานที่มีความสามารถสูงถูกโยกย้ายไป หน่วยงานก็มีปัญหา • Performance จึงขึ้นๆลงๆ ตามตัวผู้บริหารที่มีความสามารถ
  • 4. ความสามารถในการปฏิบัติงานขึ้นอยู่กับอะไร? • บุคลากร หน่วยงานต้องการได้บุคลากรที่เก่งที่สุด แต่ไม่มี หน่วยงานใดสามารถมีบุคลากรที่เก่งที่สุดในทุกด้าน • เทคโนโลยี หน่วยงานสามารถซื้อเทคโนโลยีที่เยี่ยมยอดที่สุดมา ใช้ แต่ความสามารถในการใช้ก็ขึ้นอยู่กับทักษะและ ความสามารถของคน รวมทั้งการมีบุคลากรด้านเทคโนโลยีที่เก่ง และมีความสามารถสูงมาเป็นผู้พัฒนา, จัดฝึกอบรม, และ ให้ ความช่วยเหลือ • กระบวนงาน หน่วยงานต้องมีกระบวนงานเพื่อให้บุคลากร สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิผล
  • 5. เป้าหมายของการปฏิบัติงานได้เปลี่ยนไป • เดิมเป้าหมายของการปฏิบัติงานคือทางานให้เสร็จสิ้นตามหน้าที่ และที่สาคัญที่สุดคือให้หัวหน้าและผู้บริหารพอใจ • แต่ปัจจุบันนี้เป้าหมายได้เปลี่ยนไปแล้ว นั่นคือ – การปฏิบัติงานต้องให้ถูกต้องตรงตามกฎหมาย, กฎระเบียบ, มาตรฐาน – การปฏิบัติงานต้องทาให้ลูกค้าและผู้รับบริการพอใจ – การปฏิบัติงานต้องมีประสิทธิภาพ, ประสิทธิผล และ คุณภาพ – การปฏิบัติงานต้องได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นตลอดเวลา เพื่อให้ หน่วยงานมีความยั่งยืน – การปฏิบัติงานต้องทาให้ผู้ปฏิบัติได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้น
  • 6. การพัฒนาตนเองของหน่วยงานต่างๆ • เพื่อตอบสนองต่อแนวทางการปฏิบัติงานแบบใหม่ หน่วยงานจานวน มากจึงได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานของตนเองด้วยวิธี ต่างๆ – การรื้อปรับระบบ (Business Process Reengineering) – การนามาตรฐาน ISO มาใช้ เช่น ISO 9000 ที่มีหลักการง่ายๆว่า จดบันทึก วิธีการที่คุณทา แล้ว ทาตามวิธีการที่คุณบันทึก – การทางานที่หลากหลาย ทาให้หน่วยงานที่ต้องกากับดูแลงานเฉพาะกิจต้อง ศึกษาและพัฒนามาตรฐานกลางมากขึ้น เช่น กระทรวงศึกษาธิการต้อง พัฒนาวิธีการaccreditation, กระทรวงสาธารณสุขกาหนดให้มีการ ประเมินมาตรฐาน HA, สถาบันวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (ในสหรัฐฯ) กาหนดให้ มีการประเมิน CMMI.
  • 7. Based on material from: Bruegge and Dutoit 7 มาตรฐานในงานวิศวกรรมซอฟต์แวร์
  • 8. การสะท้อนให้เห็นเป้าหมายที่เปลี่ยนไป • การทางานในแต่ละแผนกจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเหมือนกัน หมดได้ต่อเมื่อมีการเขียนขั้นตอนการทางานนั้นเป็นมาตรฐานลาย ลักษณอักษร ขั้นตอนที่เขียนนั้นต้องได้มาจากการวิเคราะห์ศึกษาข้อดี ข้อเสียของการปฏิบัติงานเดิม และศึกษา Best practices ของผู้อี่น • กระบวนงานมาตรฐานนั้นจะต้องปรับเปลี่ยนได้ตามความจาเป็นในการ นาไปใช้งานในสถานการณ์ต่างๆ • ผู้ปฏิบัติงานได้รับการฝึกอบรมให้รู้จักใช้ขั้นตอนมาตรฐานนั้น • มีการกากับดูแลเพื่อให้แน่ใจว่า ผู้ปฏิบัติได้ปฏิบัติตามขั้นตอนจริง
  • 9. การสะท้อนให้เห็นเป้าหมายที่เปลี่ยนไป 2 • มีการจัดเก็บตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการวัด performance และคุณภาพ ของ การปฏิบัติงาน, ความสอดคล้องกับระเบียบปฏิบัติ, ความสาเร็จของ ผลลัพธ์ • มีการวางแผนและบันทึกรายละเอียดการปฏิบัติงาน • มีการพิจารณาจัดหาทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน • มีการพิจารณาประเด็นปัญหาและตัดสินใจแก้ปัญหา โดยบันทึก ประเด็นปัญหาและการตัดสินใจเอาไว้ด้วย • มีการเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงการปฏิบัติงานสาหรับอนาคต • มีการจัดทารายงานเสนอผู้บริหารให้ทราบผลการปฏิบัติงาน
  • 10. กล่าวโดยย่อ การปฏิบัติงานยุคใหม่มีลักษณะดังนี้ 1. การปฏิบัติงานมีลักษณะเป็นกระบวนงาน ซึ่งอาจจะมีขั้นตอนข้าม ฟังก์ชันงานหลายแผนกได้ 2. กระบวนงานระบุขั้นตอนปฏิบัติไว้อย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีหลักคิดว่า หากผู้ปฏิบัติงานทาตามขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่าง ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ผลงานจะต้องดีเสมอ 3. ผู้ปฏิบัติสามารถปรับเปลี่ยนกระบวนงานมาตรฐานให้เหมาะสมกับ สภาวการณ์ได้ แต่ต้องทาตามกฎเกณฑ์ที่กาหนด 4. กระบวนงานมีหัวข้อปฏิบัติสองด้าน 1. หัวข้อปฏิบัติที่เป็นงานหลักตามภารกิจของกระบวนงานนั้น 2. หัวข้อปฏิบัติที่เป็นงานจัดการกระบวนงานนั้น
  • 11. งานของอาจารย์คือ การสอนและให้คาปรึกษา • การสอนอาจจัดว่าเป็นกระบวนงานได้ เพราะเป็นงานที่มีกิจกรรม เกี่ยวเนื่องกับฟังก์ชันงานอื่นๆหลายงาน • ขั้นตอนหลักคือ – การรับทราบชื่อรายวิชาที่จะสอน – การรับทราบรายชื่อนักศึกษาที่ได้ลงทะเบียนเรียน – การจัดเตรียมทรัพยากรสาหรับใช้ – การจัดเตรียมเอกสารการสอนและงานที่จะมอบหมาย – การสอนและการมอบหมายงาน – การจัดเตรียมข้อสอบ – การสอบ – การตรวจข้อสอบ, การคิดคะแนนสอบและส่งคะแนนสอบ
  • 12. มคอ เป็นกรอบเพื่อให้มหาวิทยาลัยมีคุณภาพ • มคอ ๑ เป็นมาตรฐานหลักสูตรแต่ละสาขาที่ คกก กาหนดขึ้น • มคอ ๒ เป็นหลักสูตรที่แต่ละสถาบันจัดทาขึ้น ตาม มคอ 1 หรือ ตามที่สถาบันเห็นว่าควรจะเป็นในกรณีที่ไม่มี มคอ 1 • มคอ ๓ - ๔ เป็นเอกสารการวางแผนและเตรียมการสอน • มคอ ๕ - ๖ เป็นเอกสารสรุปผลการสอน • มคอ ๗ เป็นเอกสารแสดงผลการประชุมพิจารณาประเมินผลการ สอนของอาจารย์ในรอบปี เพื่อปรับปรุงเนื้อหาวิชาและหลักสูตร
  • 13. มคอ มายุ่งเกี่ยวกับการสอนอย่างไรบ้าง? • ในบางสาขา มคอ ๑ กาหนดวิชาที่จะต้องเปิดสอน • มคอ ๒ ต้องให้รายละเอียดต่างๆ มากมาย – ชื่อหลักสูตร ฯลฯ และ อาชีพที่จะปฏิบัติได้ – ปรัชญาและแนวคิดของหลักสูตร – ทักษะอย่างน้อย ๕ ประการที่นักศึกษาจะต้องได้รับ – จานวนและรายชื่อวิชากลุ่มต่างๆ – ทรัพยากรของหลักสูตร – ตัวชี้วัด – แผนการพัฒนาอาจารย์ – ฯลฯ.
  • 14. รายละเอียดของ มคอ ๓ หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมิน หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน หมวดที่ ๗ การประเมินและการปรับปรุงของรายวิชา
  • 15. อาจารย์ใช้ มคอ ๓ ทาอะไร มคอ ๓ คือเครื่องมือในการวางแผนการสอนของอาจารย์ และ อาจารย์จะต้องทา ให้เสร็จสิ้นก่อนการเปิดสอนในภาคการศึกษานั้น • อาจารย์กาหนดจุดมุ่งหมายของรายวิชา • อาจารย์ทราบคาอธิบายรายวิชาจาก มคอ ๒ • อาจารย์แจกแจงคาอธิบายรายวิชาลงในแผนการสอนได้ • อาจารย์นาผลการเรียนรู้ของรายวิชาจาก มคอ ๒ มาเป็นตัวตั้งในการสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ได้ • อาจารย์กาหนดวิธีการประเมินรายวิชาและประกาศให้ นศ รู้ • อาจารย์ทราบผลการประเมินการสอนจากการให้ นศ ประเมิน • อาจารย์สามารถเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงรายวิชา
  • 16. ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓ • ข้อมูลในหมวดที่ ๑ ผิดพลาด เพราะอาจารย์ไม่ได้ใส่ใจเขียน เช่น วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด ไม่ถูกต้อง • จุดมุ่งหมายของรายวิชา (หมวดที่ ๒) ไม่ตรงกับคาอธิบายรายวิชา • วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา ไม่สะท้อนถึง ความคิดว่าทาไมจึงต้องมีรายวิชานี้ในหลักสูตร ส่วนมากมักจะ เขียนซ้ากับวัตถุประสงค์ของรายวิชา • จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (หมวดที่ ๓) ไม่ถูกต้อง (ให้ พิจารณาจากหน่วยกิต และ การสอนจริง ๑๕ สัปดาห์)
  • 17. ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓ • จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาแนะนาฯ (หมวด ที่ ๓) ถ้ามีให้อ้างถึงประกาศ หรือ ข้อมูลในเว็บ. • การพัฒนาผลการเรียนรู้ของ นศ. (หมวดที่ ๔) อาจารย์หลายคน ไม่ได้พิจารณารายละเอียด คือเพียงแต่ก๊อปปีจาก มคอ ๒ มาลง เท่านั้น. อาจารย์จะต้องพิจารณาผลการเรียนรู้ที่เป็นจุดดา ใน มคอ ๒ แล้วนามาพิจารณาว่าตรงกับเนื้อหาอะไรในวิชา เช่น ใน ด้านคุณธรรมนั้น ถ้าเป็นวิชา ภ ไทย, ภ อังกฤษ, สังคมศาสตร์ จะ มีคุณธรรมอะไรที่จะต้องสอน, จะสอนอย่างไร, และจะ ประเมินผลด้วยการสอบในแบบใด.
  • 18. ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓ • แผนการสอน (หมวดที่ ๕) มักจะเขียนหยาบเกินไป • ถ้าตอนทา มคอ ๒ ได้แยกย่อยคาอธิบายรายวิชาลงไปถึง ๑๒-๑๕ เรื่องแล้ว จะทาให้จัดเตรียมแผนการสอนได้ง่าย. • ถ้าการสอนตรงกับบทใดในตาราหลัก ให้ระบุไว้ด้วย (อาจารย์หลาย คนมักจะไม่ระบุ ซึ่งเท่ากับไม่ได้วางแผน). • กิจกรรมการเรียนการสอน ควรพิจารณาให้สอดคล้องกับเนื้อหา (อย่ามีแต่เพียงบรรยายด้วย PPT อย่างเดียว). • ผู้สอน ถ้ามีหลายคน ให้ระบุให้ชัด. • เรื่องใหญ่คือ เขียนจานวนสัปดาห์ที่ใช้สอนไม่ครบ ๑๕ สัปดาห์
  • 19. ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓ • แผนการประเมินการเรียนรู้ คือการระบุว่าจะประเมินนักศึกษา ออกมาเป็นคาแนนสอบ (หรือเกรด) ได้อย่างไร. อาจารย์จะต้อง ตรวจสอบว่าคะแนนสอบย่อยทั้งหมดนั้นเมื่อรวมแล้วได้ ๑๐๐% จริง • หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน – เอกสารและตาราหลัก คือเอกสารและตาราที่กาหนดให้นักศึกษาทุกคน จะต้องมีเพื่ออ่าน อาจจะเป็นเอกสารการสอนอย่างละเอียดที่อาจารย์ จัดเตรียมให้ก็ได้ ถ้าเป็นตาราควรเป็นเล่มที่ยังหาซื้อได้ในปัจจุบัน – เอกสารและข้อมูลสาคัญ คือเอกสารและตาราที่มีอยู่ในห้องสมุด และเป็น ส่วนที่นักศึกษาควรจะอ่านประกอบเพื่อขยายความรู้ให้กว้างขวาง. ควรเป็น เล่มที่มีในห้องสมุดและให้กาหนด ISBN ไว้ด้วย. – เอกสารและข้อมูลแนะนา คือเอกสารอื่นๆ รวมทั้ง URL ของเว็บ ซึ่ง นักศึกษาอาจจะอ่านหรือไม่อ่านก็ได้.
  • 20. ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๓ • อาจารย์หลายท่านไม่ชอบหมวดที่ ๗ การประเมินและการ ปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา. แต่หมวดนี้ก็คือการประกัน คุณภาพ และเป็นหมวดที่สามารถช่วยให้อาจารย์สอนได้ดีขึ้น. • มหาวิทยาลัยควรมีนโยบายในการประเมินการสอนของอาจารย์? • การปรับปรุงการสอนในหมวดนี้ไม่ใช่ปรับปรุงหลังเสร็จสิ้นการ สอน แต่เป็นการปรับปรุงระหว่างที่ยังสอนอยู่ • การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ หากให้ คกก ทวนสอบ จะต้องจัดเก็บ รายงานการประชุมไว้เป็นหลักฐาน.
  • 21. รายละเอียดของมคอ ๕ หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน หมวดที่ ๓ สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา หมวดที่ ๔ ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ หมวดที่ ๕ การประเมินรายวิชา หมวดที่ ๖ แผนการปรับปรุง
  • 22. ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕ • แบบฟอร์มที่ สกอ กาหนด ไม่ได้มีคอลัมน์สาหรับระบุสัปดาห์ ควรเติมเข้าไปเพื่อให้ตรวจสอบกับแผนการสอนใน มคอ ๓ ได้ ง่าย • ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาที่ระบุในหมวดที่ ๒ ไม่ได้รับการ ประมวลไปพิจารณาในหมวดที่ ๖ • อาจารย์ไม่ได้พิจารณากรอกเนื้อหาในหมวดที่ ๒ อย่างจริงจัง เพราะอาจไม่ใส่ใจ หรือ ไม่ได้จดบันทึกรายละเอียดเอาไว้ หรือ ไม่ได้แก้ไขปัญหาระหว่างการสอน
  • 23. ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕ • หมวดที่ ๓ สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา มักจะมี ปัญหาเรื่องการนับจานวน นศ ในประเภทต่างๆ ไม่ตรงกันกับใบ แจ้งระดับคะแนนนักศึกษา. • ระดับคะแนนที่ผิดปกติ ไม่ได้รับการอธิบายอย่างชัดเจนว่าเป็น เพราะสาเหตุอะไร. ส่วนใหญ่อาจารย์มักจะบอกว่า นศ มี พื้นฐานค่อนข้างต่า แต่ คาถามก็คือ แล้วอาจารย์ได้ปรับปรุงการ สอนอย่างไรเพื่อรับมือกับปัญหานี้บ้าง? • ประเด็นด้านการคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินมักจะไม่มีใคร รายงาน
  • 24. ปัญหาที่พบในการเขียน มคอ ๕ • หมวดที่ ๔ ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ เป็นหมวดที่ อาจารย์ควรจะใช้ในการแจ้งให้มหาวิทยาลัยทราบว่ามีปัญหาใน ด้านทรัพยากร หรือ การบริหารของคณะอย่างไรบ้าง? • หมวดที่ ๕ การประเมินรายวิชา และ ความเห็นของอาจารย์ ผู้สอน ควรให้ความเห็นในเชิงสร้างสรรค์เกี่ยวกับผลการประเมิน โดยเฉพาะให้เน้นว่าอาจารย์จะช่วยปรับปรุงการสอนได้อย่างไร? • หมวดที่ ๖ แผนการปรับปรุง ส่วนใหญ่ที่พบมาอาจารย์ยังเขียน น้อยเกินไป
  • 25. การจัดทารายงาน มคอ ๕ และ ๗ • อาจารย์แต่ละวิชาที่สอนในภาคการศึกษานั้นๆ จะต้องจัดทารายงาน มคอ ๕ ให้เสร็จภายใน ๓๐ วันหลังสิ้นสุดภาคการศึกษา และ ให้ส่ง รายงานนั้นให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร. • อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรพิจารณาปัญหาที่ได้รับทราบจาก รายงาน. หากเห็นว่าเป็นปัญหาที่เกี่ยวกับการบริหารหรือการจัดสรร ทรัพยากรให้รีบแก้ไขทันที. • เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษาแล้ว คณะกรรมการประจาหลักสูตรจะต้อง ประชุมพิจารณารายงาน มคอ ๕ ทั้งหมด แล้วนารายละเอียดมาจัดทา เป็นรายงาน มคอ ๗ เพื่อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตร ต่อไป.
  • 26. กรอบมาตรฐาคุณวุฒิ อุดมศึกษาแห่งชาติ ติดตามโดยการประกัน คุณภาพ การวิจัยในห้องเรียน Teaching Unit กลวิธีการสอนแบบต่าง ๆ TQF ระดับสาขาวิชา รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ2) รายละเอียด ของรายวิชา (มคอ3,4) กระบวนการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล วางแผนปรับปรุง + พัฒนา การรายงานผล รายวิชา(มคอ5,6 ) การรายงานผลหลักสูตรประจาปี(มคอ.7) (รายงานผลการดาเนินการในภาพรวม และเสนอแนวทางในการปรับปรุง) เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์กาหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์แนวทางอื่น ๆ  ติดตามผลการดาเนินการโดยประกันคุณภาพ (IQA) ภาควิชา คณะกรรมการ จัดทาหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจาหลักสูตร หัวหน้าภาควิชา เอกสาร มคอ.3-7 เป็นเอกสารภายในของสถาบัน ต้องมีให้ตรวจสอบ สรุปการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา (TQF)
  • 27. สรุป • การจัดทาเอกสาร มคอ ทั้งหลายให้มีความถูกต้องเป็นเรื่องสาคัญ ไม่ใช่เพราะ สกอ บังคับ แต่เพราะเป็นการปฏิบัติที่ดี. • มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา หรือ มคอ นี้ หากพิจารณาให้ถี่ถ้วนแล้ว จะเห็นว่าเป็นวิธีการปฏิบัติที่ดี และ ได้จัดทาขึ้นตามหลักการที่ดี เยี่ยม. • อาจารย์สมควรศึกษารายละเอียดในแต่ละรายงานให้เข้าใจ. • อาจารย์จะต้องฝึกการสอนให้นักศึกษาได้ความรู้ตามที่กาหนดไว้ใน เอกสาร มคอ, นักศึกษาเกิดทักษะ ๕ ประการจริง, อาจารย์ได้รับ ความรู้และทักษะที่ดีในการสอนและการปรับปรุงการสอน, มหาวิทยาลัยได้อาจารย์และนักศึกษาที่มีคุณภาพ