SlideShare a Scribd company logo
1 of 77
Download to read offline
ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
การบรรยาย เรื่อง
“การจัดทา มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางการ
ปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554”
ความหมายของ มคอ.
กรอบที่แสดงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ ซึ่ง
ประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ การแบ่งสายวิชา ความเชื่อมโยงต่อเนื่องจากคุณวุฒิ
ระดับหนึ่งไปสู่ระดับที่สูงขึ้น มาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิซึ่งเพิ่ม
สูงขึ้นตามระดับของคุณวุฒิ ลักษณะของหลักสูตรในแต่ละระดับคุณวุฒิ ปริมาณ
การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเวลาที่ต้องใช้ การเปิดโอกาสให้เทียบโอนผลการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งระบบและกลไกที่ให้
ความมั่นใจในประสิทธิผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษาว่าสามารถผลิตบัณฑิตให้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐาน
ผลการเรียนรู้
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ: มคอ.
(Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd)
หลักการสาคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
1. เป็นเครื่องมือในการนาแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการจัดการศึกษาตามที่กาหนดใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฯ ในส่วน
ที่เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การ
ปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม
2. มุ่งเน้นที่ผลการเรียนรู้(Learning Outcomes) 5 ด้าน ซึ่งเป็น
มาตรฐานขั้นต่าเชิงคุณภาพเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต
3. มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตร
และการจัดการเรียนการสอนเข้าไว้ด้วยกันและเชื่อมโยงให้เป็นเรื่องเดียวกัน
4. เป็นเครื่องมือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้าใจ
และความมั่นใจในกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง/มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น นักศึกษา ผู้ปกครอง
ผู้ประกอบการ ชุมชน สังคมและสถาบันอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับ
คุณลักษณะของบัณฑิตที่คาดว่าจะพึงมี
หลักการสาคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ต่อ)
5. มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันใดๆของประเทศไทยเป็นที่ยอมรับ
และเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาที่ดีทั้งในและต่างประเทศ โดย
เปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดหลักสูตรตลอดจนกระบวนการ
เรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย โดยมั่นใจถึงคุณภาพของบัณฑิตซึ่งจะมี
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมี
ความสุขและภาคภูมิใจ เป็นที่พึงพอใจของนายจ้าง
6. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
Teaching Unit
(POD Network)
รายละเอียดของหลักสูตร
(Programme
Specification)
รายละเอียดของรายวิชาและภาคสนาม/
ฝึกงาน (ถ้ามี)
(Course + Field Experience
Specifications)
กระบวนการเรียนการสอน
(ที่ทาให้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง)
การวัดและประเมินผล
มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ของนักศึกษา/บัณฑิต
รายงานรายวิชา
(Course
Reports)
รายงานประจาภาค
และประจาปีการศึกษา
(Semester/Annual
Programme Report)
5 ปี
วางแผนปรับปรุง + พัฒนา
สกอ
.
เสนอ สภา
สถาบัน
อนุมัติเสนอ
สกอ.
รับทราบ
หลักสูตร
และ
บันทึกไว้
ในฐาน
ข้อมูล
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา
ต่างๆ
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
เกณฑ์กาหนดชื่อปริญญา
หลักเกณฑ์การเทียบโอน
เกณฑ์/แนวทางอื่น ๆ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
การจัดสิ่งอานวยความ
สะดวก สภาพแวดล้อม
นักศึกษา/บัณฑิตได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่
กาหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
(บัณฑิตมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้จ้างงานและสังคม)
มหาวิทยาลัย
ติดตาม
การดาเนินการ
ตาม TQF
เผยแพร่
หลักสูตรที่
ดาเนินการ
ได้
มาตรฐาน
TQF
ใช่
ไม่
ใช่
กก.อ.กาหนดหลักเกณฑ์การปรับปรุง1
ประกาศ ศธ. เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ .พ.ศ. 2552
ประกาศ กกอ. เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
1 ปี
1
2
3/4
5/6
7
ที่มา: คณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2554
6
สรุปความรับผิดชอบ
มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา สกอ. (จัดประชุมสภาวิชาชีพ /สาขา)
มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร
(ส่ง สกอ. ขึ้นทะเบียน )
คณะ / ภาควิชา / สาขาวิชา
กรรมการประจาหลักสูตร
ก่อนสอน
มคอ.3 การจัดทารายละเอียดของรายวิชา กรรมการประจาหลักสูตร / ผู้สอน
มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม/
สหกิจศึกษา
ผู้สอนรายวิชา / อาจารย์นิเทศ
เสร็จสิ้นภาคการศึกษา นับจากวันสอบสุดท้าย 30 วัน
มคอ.5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา กรรมการประจาหลักสูตร / ผู้สอน
มคอ.6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์
ภาคสนาม ( สหกิจศึกษา / ฝึกงาน )
ผู้สอนรายวิชา / อาจารย์นิเทศ
หลังจากสิ้นปีการศึกษา 60 วัน
มคอ.7 รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร กรรมการประจาหลักสูตร
ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบ มคอ.
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) หมายถึง ข้อมูล
เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชาเพื่อให้การจัดการเรียนการสอน
สอดคล้องและเป็นไปตามที่วางแผนไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร ซึ่งแต่ละรายวิชา
จะกาหนดไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ใน
รายวิชา แนวทางการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่นักศึกษาจะ
ได้รับการพัฒนาให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา มีการกาหนด
รายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาที่ใช้ในการเรียน วิธีการเรียนการสอน การวัดและ
ประเมินผลในรายวิชา ตลอดจนหนังสือสื่อทางวิชาการอื่นๆ ที่จาเป็นสาหรับการ
เรียนรู้ นอกจากนี้ยังกาหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชาและกระบวนการ
ปรับปรุง
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ)
ประกอบด้วย 7 หมวด ดังนี้
1. ข้อมูลโดยทั่วไป
2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
3. ลักษณะและการดาเนินการ
4. การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
5. แผนการสอนและการประเมินผล
6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
7. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 รหัสและชื่อรายวิชา
1.2 จานวนหน่วยกิต : บรรยาย - ปฏิบัติ
1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
ระบุชื่อหลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้ ยกเว้นวิชาที่เปิดเป็นวิชาเลือกทั่วไป ให้ใช้ “หลาย
หลักสูตร” และให้ระบุว่าเป็นวิชาศึกษาทั่วไปหรือวิชาเฉพาะ เช่น วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชา
พื้นฐานวิชาชีพหรือวิชาชีพ วิชาเอก วิชาเอกเลือก เป็นต้น
1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
1.5 ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ระบุภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ตามแผนการศึกษาของหลักสูตร
1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนมาพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
1.8 สถานที่เรียน : ระบุสถานที่เรียนทุกแห่งทั้งในและนอกที่ตั้งหลักของมหาวิทยาลัยให้ครบถ้วน
1.9 วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
2.1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา
2.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
อธิบายโดยย่อเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชานี้
หรือการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่เกิดขึ้น เช่น เพิ่มการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ หรือ web based การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของ
รายวิชาซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยใหม่ๆ ในสาขา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
3.1 คาอธิบายรายวิชา
ตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดหลักสูตร (ศึกษาตาม มคอ. 2)
3.2 จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
ระบุจานวนชั่วโมงบรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม/
การฝึกงาน และการศึกาด้วยตนเอง
3.3 จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่
นักศึกษาเป็นรายบุคคล
ระบุจานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่จะให้ปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่
นักศึกษานอกชั้นเรียน และวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกาหนดเวลา
ล่วงหน้า
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง
ซึ่งต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อ
มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
ตามที่กาหนดนในรายละเอียดของหลักสูตร โดยมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน
ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้
1) สรุปสั้นๆ เกี่ยวกับความรู้หรือทักษะที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนานักศึกษา
2) คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการสอนที่จะใช้ในรายวิชาเพื่อพัฒนาความรู้ หรือ
ทักษะในข้อ 1)
3) วิธีการที่จะใช้วัดประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชานี้เพื่อ
ประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ)
4.1 คุณธรรม จริยธรรม
1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
2) วิธีการสอน
3) วิธีการประเมินผล
4.2 ความรู้
1) ความรู้ที่ต้องได้รับ
2) วิธีการสอน
3) วิธีการประเมินผล
4.3 ทักษะทางปัญญา
1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
2) วิธีการสอน
3) วิธีการประเมินผล
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ)
4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
2) วิธีการสอน
3) วิธีการประเมินผล
4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
2) วิธีการสอน
3) วิธีการประเมินผล
4.6 ทักษะในการปฏิบัติทางวิชาชีพ
1) ทักษะในการปฏิบัติทางวิชาชีพที่ต้องพัฒนา
2) วิธีการสอน
3) วิธีการประเมินผล
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
5.1 แผนการสอน
ระบุหัวข้อ/รายละเอียดสัปดาห์ที่สอน จานวนชั่วโมงการสอน (ซึ่ง
ต้องสอดคล้องกับจานวนหน่วยกิต) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้
รวมทั้งอาจารย์ผู้สอน ในแต่ละหัวข้อ/รายละเอียดของรายวิชา
5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้
ระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยแต่ละหัวข้อตามที่
ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของรายวิชา
(Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของหลักสูตร
สัปดาห์ที่ประเมินและสัดส่วนของการประเมิน
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
6.1 ตาราและเอกสารหลัก
ระบุตาราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
6.2 เอกสารและข้อมูลสาคัญ
ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ
ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญ ซึ่งนักศึกษจาเป็นต้อง
ศึกษาเพิ่มเติม
6.3 เอกสารและข้อมูลแนะนา
ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ
ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาควร
ศึกษาเพิ่มเติม
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
7.1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
7.2 กลยุทธ์การประเมินการสอน
ระบุวิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอน เช่น จากผู้สังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของ
นักศึกษา เป็นต้น
7.3 การปรับปรุงการสอน
อธิบายกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน เช่น คณะ/ภาควิชามีการกาหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการ
สอนไว้อย่างไรบ้าง การวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นต้น
7.4 การทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้
ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกันไปสาหรับรายวิชาที่
แตกต่างกัน หรือสาหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
7.5 การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
อธิบายกระบวนการในการนาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 7.1 และ 7.2
มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3
รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience
Specification) หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการในรายวิชาหรือ
กิจกรรมที่นักศึกษาจะต้องออกฝึกงาน ออกฝึกภาคสนามหรือสหกิจศึกษา ซึ่งจะต้อง
วางแผนให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร โดย
จะต้องกาหนดไว้อย่างชัดเจนถึงวัตถุประสงค์และรายละเอียดของการดาเนินการของ
กิจกรรมนั้นๆ ตลอดจนความรู้ ความเข้าใจที่นักศึกษาจะได้รับจากการออกฝึก มีการ
กาหนดกระบวนการหรือวิธีการในการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ
ที่นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายรวมทั้งเกณฑ์การ
วัดและประเมินผลนักศึกษา และการประเมินการดาเนินการตามรายละเอียดของ
ประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ต่อ)
ประกอบด้วย 7 หมวด ดังนี้
1. ข้อมูลทั่วไป
2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
3. การพัฒนาผลการเรียนรู้
4. ลักษณะและการดาเนินการ
5. การวางแผนและการเตรียมการ
6. การประเมินนักศึกษา
7. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึกประสบการณ์
ภาคสนาม (เพิ่มเติมจากคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา)
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 รหัสและชื่อรายวิชา
1.2 จานวนหน่วยกิต หรือจานวนชั่วโมง
1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
ระบุชื่อหลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้ และระบุว่าเป็นวิชาบังคับหรือวิชาเลือก
1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
1.5 ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่กาหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตาม
แผนการศึกษาของหลักสูตร
1.6 วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา
ประสบการณ์ภาคสนามครั้งล่าสุด
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
2.1 จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม
2.2 วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม
อธิบายโดยย่อถึงวัตถุประสงค์การพัฒนาหรือปรับปรุง
ประสบการณ์ภาคสนามหรือการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่เกิดขึ้นและการ
กระทาที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่
มุ่งหวังต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในรายละเอียดหลักสูตร (แบบ มคอ.2)
โดยมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้
1. สรุปเกี่ยวกับความรู้หรือทักษะที่ต้องการจะพัฒนาจากประสบการณ์ที่
ได้จากการฝึกภาคสนาม/ฝึกในสถานประกอบการ
2. อธิบายกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่จะพัฒนาความรู้หรือทักษะ
ในข้อ 1
3. วิธีการที่จะใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้
แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 3 การผลการเรียนรู้ (ต่อ)
3.1 คุณธรรม จริยธรรม
1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้
3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
3.2 ความรู้
1) อธิบายถึงความรู้ที่จะได้รับ/ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้
3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
3.3 ทักษะทางปัญญา
1) ทักษะทางปัญญาที่จะได้รับการพัฒนา/ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้
3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ (ต่อ)
3.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้
3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
3.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศที่ต้องพัฒนา
2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้
3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 4 ลักษณะและการดาเนินการ
4.1 คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคาอธิบายรายวิชา : ระบุคาอธิบายตามที่ระบุในรายละเอียดของ
หลักสูตร
4.2 กิจกรรมของนักศึกษา : ระบุกิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาระหว่างฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
4.3 รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย : ระบุรายงานหรืองานที่มอบหมายนักศึกษา และกาหนดส่ง
4.4 การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา
ระบุกิจกรรมที่ใช้ในการติดตามผลการเรียนรู้ทั้งระหว่างฝึกและเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
4.5 หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการที่ดูแลกิจกรรมในภาคสนาม
เช่น การวางแผนกิจกรรมสาหรับการพัฒนาทักษะของนักศึกษา การให้คาแนะนาแก่นักศึกษา การประเมินผลการ
ฝึกประสบการณ์
4.6 หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์
เช่น การให้คาปรึกษา การประสานและร่วมวางแผนกับพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ การประเมินผล
นักศึกษา การวางแผนสาหรับการออกนิเทศก์นักศึกษา
4.7 การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา
4.8 สิ่งอานวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ที่จัดประสบการณ์ภาคสนาม
/สถานประกอบการ เช่น ที่พัก การเดินทาง วัสดุอุปกรณ์สนับสนุนอื่นๆ
เช่น เบี้ยเลี้ยง
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ
5.1 การกาหนดสถานที่ฝึก
5.2 การเตรียมนักศึกษา
5.3 เตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์
5.4 การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ฝึก
5.5 การจัดการความเสี่ยง
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา
6.1 หลักเกณฑ์การประเมิน
6.2 กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
6.3 ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษาฃ
6.4 ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบประสบการณ์ภาคสนามต่อ
การประเมินนักศึกษา
6.5 การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการ
ของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
7.1 กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกี่ยวข้อง
ต่อไปนี้
1) นักศึกษา
2) พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ
3) อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม
4) อื่นๆ เช่น บัณฑิตจบใหม่
7.2 กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง
มคอ. 4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (Course Report) หมายถึง
รายงานผลการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาเมื่อสิ้นภาคเรียน
เกี่ยวกับภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในวิชานั้นๆ ว่า ได้ดาเนินการสอน
อย่างครอบคลุมและเป็นไปตามแผนที่วางไว้ในรายละเอียดของรายวิชาหรือไม่ และ
หากไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ต้องให้เหตุผลและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการ
จัดการเรียนการสอนของรายวิชาดังกล่าวในครั้งต่อไป รายงานนี้จะครอบคลุมถึงผล
การเรียนของนักศึกษา จานวนนักศึกษาตั้งแต่เริ่มเรียนจนสิ้นสุด ปัญหาในการบริการ
จัดการและสิ่งอานวยความสะดวก การิวเคราะห์ผลการประเมินรายวิชาของ
นักศึกษา/หัวหน้าภาค/หรือผู้ประเมินภายนอก รวมทั้งการสารวจความคิดเห็นของ
ผู้ให้บัณฑิต การวางแผนและให้ข้อเสนอแนะต่อผู้ประสานงานหลักสูตรเพื่อปรับปรุง
และพัฒนารายวิชา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา(ต่อ)
ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้
1. ข้อมูลทั่วไป
2. การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน
3. สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
4. ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ
5. การประเมินรายวิชา
6. แผนการปรับปรุง
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 รหัสและชื่อรายวิชา
1.2 รายวิชาที่ต้องเรียนก่อนรายวิชานี้ (ถ้ามี)
1.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอนและกลุ่มเรียน (Section)
ให้รายงานเป็นรายกลุ่ม
1.4 ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอนรายวิชา
1.5 สถานที่เรียน
ระบุสถานที่เรียนทุกแห่งทั้งในและนอกที่ตั้งหลักของมหาวิทยาลัย
ให้ครบถ้วน
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน
2.1 รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทียบกับแผนการสอน
ระบุหัวข้อ จานวนชั่วโมงตามแผนการสอน จานวนชั่วโมงที่สอนจริง ระบุเหตุผลที่การ
สอนจริงต่างจากแผนการสอนหากมีความแตกต่างเกิน ร้อยละ 25
2.2 หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน
ระบุหัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน และพิจารณานัยสาคัญของหัวข้อต่อผลการ
เรียนรู้ของรายวิชาและหลักสูตร ในกรณีที่มีนัยสาคัญให้เสนอแนวทางชดเชย
2.3 ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ระบุว่าวิธีการสอนเพื่อให้บรรลุผลการเรียนรู้แต่ละด้านตามที่ระบุในรายละเอียดรายวิชา
มีประสิทธิผลหรือไม่มี และปัญหาของวิธีการสอนที่ใช้ (ถ้ามี) พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข
2.4 ข้อเสนอการดาเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีสอน
ระบุเสนอเพื่อการปรับปรุงวิธีสอน ซึ่งได้จากปัญหาที่พบในข้อ 2.3
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
3.1 จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน (ณ วันหมดกาหนดการเพิ่มถอน)
3.2 จานวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา
3.3 จานวนนักศึกษาที่ถอน (W)
3.4 การกระจายของระดับคะแนน (เกรด) : ระบุจานวนและร้อยละของนักศึกษาในแต่ละระดับคะแนน
3.5 ปัจจัยที่ทาให้ระดับคะแนนผิดปกติ (ถ้ามี)
3.6 ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินที่กาหนดไว้ในรายละเอียดรายวิชา
ระบุความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินผลการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ใน มคอ. 3 หมวด 5 ข้อ
5.2 (แผนการประเมินผลการเรียนรู้)
1) ความคลาดเคลื่อนด้านกาหนดเวลาการประเมิน : ระบุความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นพร้อม
เหตุผล
2) ความคลาดเคลื่อนด้านวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ (ถ้ามี)
ระบุความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นพร้อมเหตุผล
3.7 การทวนสอบสัมฤทธิ์ของนักศึกษา : ระบุวิธีการทวนสอบ
และสรุปผลการทวนสอบ
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ
4.1 ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียนและสิ่งอานวยความสะดวก
ระบุปัญหาในการใช้ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน (ถ้ามี)
และผลกระทบ
4.2 ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร
ระบุปัญหาด้านการบริหารและองค์การ (ถ้ามี) และผลกระทบต่อ
ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา
5.1 ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา (แนบเอกสาร)
1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยนักศึกษา
ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน
2) ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ ตามข้อ 1)
5.2 ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอื่น
1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยวิธีอื่น
ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน
2) ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 1)
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
6.1 ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการเรียนนการสอนตามที่เสนอในรายงานของรายวิชาครั้งที่
ผ่านมา
ระบุแผนการปรับปรุงที่เสนอในภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่ผ่านมาและอธิบายผลการ
ดาเนินการตามแผน ถ้าไม่ได้ดาเนินการหรือไม่เสร็จสมบูรณ์ให้ระบุเหตุผล
6.2 การดาเนินการอื่นๆ ในการปรับปรุงรายวิชา
อธิบายการปรับปรุงโดยย่อ เช่น ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนสาหรับภาคการศึกษา/ปี
การศึกษานี้ การใช้อุปกรณ์การสอนแบบใหม่ เป็นต้น
6.3 ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสาหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป
ระบุข้อเสนอพร้อมกาหนดเวลาที่ควรแล้วเสร็จและผู้รับผิดชอบ
6.4 ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (Field
Experience Report) หมายถึง รายงานผลการฝึกงาน ออกฝึกภาคสนาม
หรือสหกิจศึกษา ว่าได้บรรลุผลการเรียนตามแผนที่วางไว้ในรายละเอียด
ของประสบการณ์ภาคสนามหรือไม่ และหากไม่เป็นไปตามแผนต้องให้
เหตุผลและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการฝึกงาน ออกฝึกภาคสนาม
หรือสหกิจศึกษาในครั้งต่อไป รายงานนี้จะครอบคลุมถึงการฝึก
ประสบการณ์ภาคสนามตั้งแต่เริ่มจนสิ้นสุด ปัญหาด้านการบริหารจัดการ
และสิ่งอานวยความสะดวก การวิเคราะห์ผลการประเมิน การฝึกของ
นักศึกษาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/พนักงานพี่เลี้ยง
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ต่อ)
ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้
1. ข้อมูลทั่วไป
2. การดาเนินการที่ต่างไปจากแผนการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
3. ผลการดาเนินการ
4. ปัญหาและผลกระทบด้านการบริหาร
5. การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
6. แผนการปรับปรุง
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 รหัสและชื่อรายวิชา
1.2 หลักสูตร
1.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
1.4 ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 2 การดาเนินการที่ต่างจากแผนการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
2.1 การเตรียมนักศึกษา (ถ้ามี)
ระบุว่าการเตรียมนักศึกษาต่างจากแผนอย่างไร และให้ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผน
ในอนาคต
2.2 การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์
ระบุว่าการเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ต่างจากแผนอย่างไร และให้ข้อเสนอแนะ/
ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผนในอนาคต
2.3 การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยง (Field Supervisors) จากสถานประกอบการณ์ (ถ้ามี)
ระบุว่าการเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการต่างจากแผนอย่างไรและให้
ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผนในอนาคต
2.4 การเปลี่ยนแปลงการจัดการในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
ระบุการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ให้ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผน
1) การเปลี่ยนแปลงกิจกรรม และ/หรืองานที่มอบหมายให้นักศึกษา
2) การเปลี่ยนแปลงสิ่งอานวยความสะดวกในการสนับสนุนนักศึกษา
3) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ (ถ้ามี)
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 3 ผลการดาเนินการ
3.1 จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน/ส่งไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
3.2 จานวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
3.3 จานวนนักศึกษาที่ถอน (W)
3.4 การกระจายระดับคะแนน (เกรด)
ระบุจานวนและร้อยละของนักศึกษาในแต่ละระดับคะแนน
3.5 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบด้านการบริหาร
4.1 ปัญหาด้านการบริหารของสถาบันอุดมศึกษา และ/หรือสถาน
ประกอบการ/สถานที่ฝึก
4.2 ผลกระทบต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
4.3 การเปลี่ยนแปลงที่จาเป็นเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาและอุปสรรคในอนาคต
(ถ้ามี)
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 5 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
5.1 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยนักศึกษา (ให้แนบผลการสารวจ)
1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน :ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็ง
และจุดอ่อน
2) ความเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึก
ประสบการณ์ภาคสนาม
5.2 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยสถานประกอบการหรือพนักงาน
พี่เลี้ยง
1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน
2) ความเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึก
ประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
6.1 การดาเนินการเพื่อปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามครั้งที่ผ่านมา
สรุปย่อการพัฒนาที่สาคัญในปัจจุบัน อาทิ การพัฒนาอย่างมืออาชีพสาหรับคณะหรือที่ปรึกษา
ประสบการณ์ภาคสนาม การปรับประสบการณ์ภาคสนาม และแนวทางใหม่ของการจัดการเชิงคุณภาพ
6.2 ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากรายงานการประเมินครั้งก่อน
ระบุประเด็นที่ระบุไว้ในครั้งที่ผ่านมาสาหรับการปรับปรุงนอกเหนือจากข้อ 6.1 และอธิบายถึง
ความสาเร็จ ผลกระทบ ในกรณีที่ไม่สาเร็จให้ระบุเหตุผล
6.3 ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสาหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป
ระบุข้อเสนอพร้อมกาหนดเวลาที่ควรแล้วเสร็จและผู้รับผิดชอบ
6.4 ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม เสนอต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตร
ระบุข้อเสนอแนะต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หากมีกิจกรรมหรือการดาเนินงานใดๆ ที่ต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากภาควิชาหรือสถาบัน หรืออาจจะมีผลกระทบต่อ
รายวิชาอื่นๆ ในหลักสูตร
มคอ. 6
รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
เอกสารอ้างอิง
คณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2554. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง
แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2558 จาก
http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/
มหาวิทยาลัยศรีปทุม. มปป. คู่มือ มคอ.3 และ 4. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์
2558. จาก
http://scms.spu.ac.th/osis/adviserindexmain.cfm
_____มปป. คู่มือ มคอ.5 และ 6. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2558. จาก
http://scms.spu.ac.th/osis/adviserindexmain.cfm
เปิดประเด็นซักถาม
พูดคุยและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
เกี่ยวกับ TQF

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 

Similar to การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ

การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติTeaching & Learning Support and Development Center
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาPuripat Piriyasatit
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxTangkwaLalida
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Pateemoh254
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนMonthon Sorakraikitikul
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางkamonnet
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 

Similar to การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ (20)

การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 

More from Teaching & Learning Support and Development Center

สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1Teaching & Learning Support and Development Center
 
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Worksการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning WorksTeaching & Learning Support and Development Center
 
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teaching & Learning Support and Development Center
 
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพการพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพTeaching & Learning Support and Development Center
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปTeaching & Learning Support and Development Center
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการTeaching & Learning Support and Development Center
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring RubricsTeaching & Learning Support and Development Center
 
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาการบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาTeaching & Learning Support and Development Center
 

More from Teaching & Learning Support and Development Center (12)

สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
 
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Worksการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
 
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการรวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
 
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพการพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
 
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork rameworkKMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาการบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
 

การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ

  • 1. ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม การบรรยาย เรื่อง “การจัดทา มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางการ ปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554”
  • 2. ความหมายของ มคอ. กรอบที่แสดงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ ซึ่ง ประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ การแบ่งสายวิชา ความเชื่อมโยงต่อเนื่องจากคุณวุฒิ ระดับหนึ่งไปสู่ระดับที่สูงขึ้น มาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิซึ่งเพิ่ม สูงขึ้นตามระดับของคุณวุฒิ ลักษณะของหลักสูตรในแต่ละระดับคุณวุฒิ ปริมาณ การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเวลาที่ต้องใช้ การเปิดโอกาสให้เทียบโอนผลการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งระบบและกลไกที่ให้ ความมั่นใจในประสิทธิผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษาว่าสามารถผลิตบัณฑิตให้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ: มคอ. (Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd)
  • 3. หลักการสาคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 1. เป็นเครื่องมือในการนาแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการจัดการศึกษาตามที่กาหนดใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฯ ในส่วน ที่เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การ ปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม 2. มุ่งเน้นที่ผลการเรียนรู้(Learning Outcomes) 5 ด้าน ซึ่งเป็น มาตรฐานขั้นต่าเชิงคุณภาพเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต 3. มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนเข้าไว้ด้วยกันและเชื่อมโยงให้เป็นเรื่องเดียวกัน 4. เป็นเครื่องมือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้าใจ และความมั่นใจในกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง/มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น นักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ประกอบการ ชุมชน สังคมและสถาบันอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับ คุณลักษณะของบัณฑิตที่คาดว่าจะพึงมี
  • 4. หลักการสาคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ต่อ) 5. มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันใดๆของประเทศไทยเป็นที่ยอมรับ และเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาที่ดีทั้งในและต่างประเทศ โดย เปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดหลักสูตรตลอดจนกระบวนการ เรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย โดยมั่นใจถึงคุณภาพของบัณฑิตซึ่งจะมี มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมี ความสุขและภาคภูมิใจ เป็นที่พึงพอใจของนายจ้าง 6. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  • 5. Teaching Unit (POD Network) รายละเอียดของหลักสูตร (Programme Specification) รายละเอียดของรายวิชาและภาคสนาม/ ฝึกงาน (ถ้ามี) (Course + Field Experience Specifications) กระบวนการเรียนการสอน (ที่ทาให้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง) การวัดและประเมินผล มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ของนักศึกษา/บัณฑิต รายงานรายวิชา (Course Reports) รายงานประจาภาค และประจาปีการศึกษา (Semester/Annual Programme Report) 5 ปี วางแผนปรับปรุง + พัฒนา สกอ . เสนอ สภา สถาบัน อนุมัติเสนอ สกอ. รับทราบ หลักสูตร และ บันทึกไว้ ในฐาน ข้อมูล กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา ต่างๆ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์กาหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์/แนวทางอื่น ๆ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง การจัดสิ่งอานวยความ สะดวก สภาพแวดล้อม นักศึกษา/บัณฑิตได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่ กาหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (บัณฑิตมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้จ้างงานและสังคม) มหาวิทยาลัย ติดตาม การดาเนินการ ตาม TQF เผยแพร่ หลักสูตรที่ ดาเนินการ ได้ มาตรฐาน TQF ใช่ ไม่ ใช่ กก.อ.กาหนดหลักเกณฑ์การปรับปรุง1 ประกาศ ศธ. เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ .พ.ศ. 2552 ประกาศ กกอ. เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 1 ปี 1 2 3/4 5/6 7 ที่มา: คณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2554
  • 6. 6 สรุปความรับผิดชอบ มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา สกอ. (จัดประชุมสภาวิชาชีพ /สาขา) มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร (ส่ง สกอ. ขึ้นทะเบียน ) คณะ / ภาควิชา / สาขาวิชา กรรมการประจาหลักสูตร ก่อนสอน มคอ.3 การจัดทารายละเอียดของรายวิชา กรรมการประจาหลักสูตร / ผู้สอน มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม/ สหกิจศึกษา ผู้สอนรายวิชา / อาจารย์นิเทศ เสร็จสิ้นภาคการศึกษา นับจากวันสอบสุดท้าย 30 วัน มคอ.5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา กรรมการประจาหลักสูตร / ผู้สอน มคอ.6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม ( สหกิจศึกษา / ฝึกงาน ) ผู้สอนรายวิชา / อาจารย์นิเทศ หลังจากสิ้นปีการศึกษา 60 วัน มคอ.7 รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร กรรมการประจาหลักสูตร ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบ มคอ.
  • 7. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) หมายถึง ข้อมูล เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชาเพื่อให้การจัดการเรียนการสอน สอดคล้องและเป็นไปตามที่วางแผนไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร ซึ่งแต่ละรายวิชา จะกาหนดไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ใน รายวิชา แนวทางการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่นักศึกษาจะ ได้รับการพัฒนาให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา มีการกาหนด รายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาที่ใช้ในการเรียน วิธีการเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผลในรายวิชา ตลอดจนหนังสือสื่อทางวิชาการอื่นๆ ที่จาเป็นสาหรับการ เรียนรู้ นอกจากนี้ยังกาหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชาและกระบวนการ ปรับปรุง
  • 8. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ) ประกอบด้วย 7 หมวด ดังนี้ 1. ข้อมูลโดยทั่วไป 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 3. ลักษณะและการดาเนินการ 4. การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 5. แผนการสอนและการประเมินผล 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 7. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
  • 9. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 จานวนหน่วยกิต : บรรยาย - ปฏิบัติ 1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ระบุชื่อหลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้ ยกเว้นวิชาที่เปิดเป็นวิชาเลือกทั่วไป ให้ใช้ “หลาย หลักสูตร” และให้ระบุว่าเป็นวิชาศึกษาทั่วไปหรือวิชาเฉพาะ เช่น วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชา พื้นฐานวิชาชีพหรือวิชาชีพ วิชาเอก วิชาเอกเลือก เป็นต้น 1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน 1.5 ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ระบุภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) 1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนมาพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) 1.8 สถานที่เรียน : ระบุสถานที่เรียนทุกแห่งทั้งในและนอกที่ตั้งหลักของมหาวิทยาลัยให้ครบถ้วน 1.9 วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
  • 10. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2.1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา 2.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา อธิบายโดยย่อเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชานี้ หรือการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่เกิดขึ้น เช่น เพิ่มการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือ web based การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของ รายวิชาซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยใหม่ๆ ในสาขา
  • 12. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 3.1 คาอธิบายรายวิชา ตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดหลักสูตร (ศึกษาตาม มคอ. 2) 3.2 จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา ระบุจานวนชั่วโมงบรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม/ การฝึกงาน และการศึกาด้วยตนเอง 3.3 จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่ นักศึกษาเป็นรายบุคคล ระบุจานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่จะให้ปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่ นักศึกษานอกชั้นเรียน และวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกาหนดเวลา ล่วงหน้า
  • 14. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่งต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อ มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดนในรายละเอียดของหลักสูตร โดยมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้ 1) สรุปสั้นๆ เกี่ยวกับความรู้หรือทักษะที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนานักศึกษา 2) คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการสอนที่จะใช้ในรายวิชาเพื่อพัฒนาความรู้ หรือ ทักษะในข้อ 1) 3) วิธีการที่จะใช้วัดประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชานี้เพื่อ ประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง
  • 15. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ) 4.1 คุณธรรม จริยธรรม 1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.2 ความรู้ 1) ความรู้ที่ต้องได้รับ 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.3 ทักษะทางปัญญา 1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล
  • 16. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ) 4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.6 ทักษะในการปฏิบัติทางวิชาชีพ 1) ทักษะในการปฏิบัติทางวิชาชีพที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล
  • 22. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 5.1 แผนการสอน ระบุหัวข้อ/รายละเอียดสัปดาห์ที่สอน จานวนชั่วโมงการสอน (ซึ่ง ต้องสอดคล้องกับจานวนหน่วยกิต) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ รวมทั้งอาจารย์ผู้สอน ในแต่ละหัวข้อ/รายละเอียดของรายวิชา 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยแต่ละหัวข้อตามที่ ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของรายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของหลักสูตร สัปดาห์ที่ประเมินและสัดส่วนของการประเมิน
  • 25. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 6.1 ตาราและเอกสารหลัก ระบุตาราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน 6.2 เอกสารและข้อมูลสาคัญ ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญ ซึ่งนักศึกษจาเป็นต้อง ศึกษาเพิ่มเติม 6.3 เอกสารและข้อมูลแนะนา ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาควร ศึกษาเพิ่มเติม
  • 27. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 7.1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 7.2 กลยุทธ์การประเมินการสอน ระบุวิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอน เช่น จากผู้สังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของ นักศึกษา เป็นต้น 7.3 การปรับปรุงการสอน อธิบายกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน เช่น คณะ/ภาควิชามีการกาหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการ สอนไว้อย่างไรบ้าง การวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นต้น 7.4 การทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกันไปสาหรับรายวิชาที่ แตกต่างกัน หรือสาหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน 7.5 การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา อธิบายกระบวนการในการนาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 7.1 และ 7.2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ
  • 30. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification) หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการในรายวิชาหรือ กิจกรรมที่นักศึกษาจะต้องออกฝึกงาน ออกฝึกภาคสนามหรือสหกิจศึกษา ซึ่งจะต้อง วางแผนให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร โดย จะต้องกาหนดไว้อย่างชัดเจนถึงวัตถุประสงค์และรายละเอียดของการดาเนินการของ กิจกรรมนั้นๆ ตลอดจนความรู้ ความเข้าใจที่นักศึกษาจะได้รับจากการออกฝึก มีการ กาหนดกระบวนการหรือวิธีการในการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายรวมทั้งเกณฑ์การ วัดและประเมินผลนักศึกษา และการประเมินการดาเนินการตามรายละเอียดของ ประสบการณ์ภาคสนาม
  • 31. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ต่อ) ประกอบด้วย 7 หมวด ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไป 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 3. การพัฒนาผลการเรียนรู้ 4. ลักษณะและการดาเนินการ 5. การวางแผนและการเตรียมการ 6. การประเมินนักศึกษา 7. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึกประสบการณ์ ภาคสนาม (เพิ่มเติมจากคณะกรรมการ การอุดมศึกษา)
  • 32. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 จานวนหน่วยกิต หรือจานวนชั่วโมง 1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ระบุชื่อหลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้ และระบุว่าเป็นวิชาบังคับหรือวิชาเลือก 1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 1.5 ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่กาหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตาม แผนการศึกษาของหลักสูตร 1.6 วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา ประสบการณ์ภาคสนามครั้งล่าสุด
  • 33. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2.1 จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม 2.2 วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม อธิบายโดยย่อถึงวัตถุประสงค์การพัฒนาหรือปรับปรุง ประสบการณ์ภาคสนามหรือการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่เกิดขึ้นและการ กระทาที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์
  • 34. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่ มุ่งหวังต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในรายละเอียดหลักสูตร (แบบ มคอ.2) โดยมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้ 1. สรุปเกี่ยวกับความรู้หรือทักษะที่ต้องการจะพัฒนาจากประสบการณ์ที่ ได้จากการฝึกภาคสนาม/ฝึกในสถานประกอบการ 2. อธิบายกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่จะพัฒนาความรู้หรือทักษะ ในข้อ 1 3. วิธีการที่จะใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้ แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง
  • 35. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 3 การผลการเรียนรู้ (ต่อ) 3.1 คุณธรรม จริยธรรม 1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ 3.2 ความรู้ 1) อธิบายถึงความรู้ที่จะได้รับ/ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ 3.3 ทักษะทางปัญญา 1) ทักษะทางปัญญาที่จะได้รับการพัฒนา/ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
  • 36. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ (ต่อ) 3.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ 3.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศที่ต้องพัฒนา 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
  • 39. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 4 ลักษณะและการดาเนินการ 4.1 คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคาอธิบายรายวิชา : ระบุคาอธิบายตามที่ระบุในรายละเอียดของ หลักสูตร 4.2 กิจกรรมของนักศึกษา : ระบุกิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาระหว่างฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 4.3 รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย : ระบุรายงานหรืองานที่มอบหมายนักศึกษา และกาหนดส่ง 4.4 การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา ระบุกิจกรรมที่ใช้ในการติดตามผลการเรียนรู้ทั้งระหว่างฝึกและเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 4.5 หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการที่ดูแลกิจกรรมในภาคสนาม เช่น การวางแผนกิจกรรมสาหรับการพัฒนาทักษะของนักศึกษา การให้คาแนะนาแก่นักศึกษา การประเมินผลการ ฝึกประสบการณ์ 4.6 หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ เช่น การให้คาปรึกษา การประสานและร่วมวางแผนกับพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ การประเมินผล นักศึกษา การวางแผนสาหรับการออกนิเทศก์นักศึกษา 4.7 การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา 4.8 สิ่งอานวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ที่จัดประสบการณ์ภาคสนาม /สถานประกอบการ เช่น ที่พัก การเดินทาง วัสดุอุปกรณ์สนับสนุนอื่นๆ เช่น เบี้ยเลี้ยง
  • 41. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ 5.1 การกาหนดสถานที่ฝึก 5.2 การเตรียมนักศึกษา 5.3 เตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ 5.4 การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ฝึก 5.5 การจัดการความเสี่ยง
  • 43. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา 6.1 หลักเกณฑ์การประเมิน 6.2 กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา 6.3 ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษาฃ 6.4 ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบประสบการณ์ภาคสนามต่อ การประเมินนักศึกษา 6.5 การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง
  • 45. มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการ ของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 7.1 กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกี่ยวข้อง ต่อไปนี้ 1) นักศึกษา 2) พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ 3) อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม 4) อื่นๆ เช่น บัณฑิตจบใหม่ 7.2 กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง
  • 47. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (Course Report) หมายถึง รายงานผลการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาเมื่อสิ้นภาคเรียน เกี่ยวกับภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในวิชานั้นๆ ว่า ได้ดาเนินการสอน อย่างครอบคลุมและเป็นไปตามแผนที่วางไว้ในรายละเอียดของรายวิชาหรือไม่ และ หากไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ต้องให้เหตุผลและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการ จัดการเรียนการสอนของรายวิชาดังกล่าวในครั้งต่อไป รายงานนี้จะครอบคลุมถึงผล การเรียนของนักศึกษา จานวนนักศึกษาตั้งแต่เริ่มเรียนจนสิ้นสุด ปัญหาในการบริการ จัดการและสิ่งอานวยความสะดวก การิวเคราะห์ผลการประเมินรายวิชาของ นักศึกษา/หัวหน้าภาค/หรือผู้ประเมินภายนอก รวมทั้งการสารวจความคิดเห็นของ ผู้ให้บัณฑิต การวางแผนและให้ข้อเสนอแนะต่อผู้ประสานงานหลักสูตรเพื่อปรับปรุง และพัฒนารายวิชา
  • 48. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา(ต่อ) ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไป 2. การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน 3. สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา 4. ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ 5. การประเมินรายวิชา 6. แผนการปรับปรุง
  • 49. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 รายวิชาที่ต้องเรียนก่อนรายวิชานี้ (ถ้ามี) 1.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอนและกลุ่มเรียน (Section) ให้รายงานเป็นรายกลุ่ม 1.4 ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอนรายวิชา 1.5 สถานที่เรียน ระบุสถานที่เรียนทุกแห่งทั้งในและนอกที่ตั้งหลักของมหาวิทยาลัย ให้ครบถ้วน
  • 50. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน 2.1 รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทียบกับแผนการสอน ระบุหัวข้อ จานวนชั่วโมงตามแผนการสอน จานวนชั่วโมงที่สอนจริง ระบุเหตุผลที่การ สอนจริงต่างจากแผนการสอนหากมีความแตกต่างเกิน ร้อยละ 25 2.2 หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน ระบุหัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน และพิจารณานัยสาคัญของหัวข้อต่อผลการ เรียนรู้ของรายวิชาและหลักสูตร ในกรณีที่มีนัยสาคัญให้เสนอแนวทางชดเชย 2.3 ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) ระบุว่าวิธีการสอนเพื่อให้บรรลุผลการเรียนรู้แต่ละด้านตามที่ระบุในรายละเอียดรายวิชา มีประสิทธิผลหรือไม่มี และปัญหาของวิธีการสอนที่ใช้ (ถ้ามี) พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข 2.4 ข้อเสนอการดาเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีสอน ระบุเสนอเพื่อการปรับปรุงวิธีสอน ซึ่งได้จากปัญหาที่พบในข้อ 2.3
  • 55. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา 3.1 จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน (ณ วันหมดกาหนดการเพิ่มถอน) 3.2 จานวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา 3.3 จานวนนักศึกษาที่ถอน (W) 3.4 การกระจายของระดับคะแนน (เกรด) : ระบุจานวนและร้อยละของนักศึกษาในแต่ละระดับคะแนน 3.5 ปัจจัยที่ทาให้ระดับคะแนนผิดปกติ (ถ้ามี) 3.6 ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินที่กาหนดไว้ในรายละเอียดรายวิชา ระบุความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินผลการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ใน มคอ. 3 หมวด 5 ข้อ 5.2 (แผนการประเมินผลการเรียนรู้) 1) ความคลาดเคลื่อนด้านกาหนดเวลาการประเมิน : ระบุความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นพร้อม เหตุผล 2) ความคลาดเคลื่อนด้านวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ (ถ้ามี) ระบุความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นพร้อมเหตุผล 3.7 การทวนสอบสัมฤทธิ์ของนักศึกษา : ระบุวิธีการทวนสอบ และสรุปผลการทวนสอบ
  • 57. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ 4.1 ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียนและสิ่งอานวยความสะดวก ระบุปัญหาในการใช้ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน (ถ้ามี) และผลกระทบ 4.2 ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร ระบุปัญหาด้านการบริหารและองค์การ (ถ้ามี) และผลกระทบต่อ ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
  • 59. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา 5.1 ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา (แนบเอกสาร) 1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยนักศึกษา ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน 2) ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ ตามข้อ 1) 5.2 ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอื่น 1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยวิธีอื่น ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน 2) ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 1)
  • 61. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง 6.1 ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการเรียนนการสอนตามที่เสนอในรายงานของรายวิชาครั้งที่ ผ่านมา ระบุแผนการปรับปรุงที่เสนอในภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่ผ่านมาและอธิบายผลการ ดาเนินการตามแผน ถ้าไม่ได้ดาเนินการหรือไม่เสร็จสมบูรณ์ให้ระบุเหตุผล 6.2 การดาเนินการอื่นๆ ในการปรับปรุงรายวิชา อธิบายการปรับปรุงโดยย่อ เช่น ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนสาหรับภาคการศึกษา/ปี การศึกษานี้ การใช้อุปกรณ์การสอนแบบใหม่ เป็นต้น 6.3 ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสาหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป ระบุข้อเสนอพร้อมกาหนดเวลาที่ควรแล้วเสร็จและผู้รับผิดชอบ 6.4 ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
  • 63. มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Report) หมายถึง รายงานผลการฝึกงาน ออกฝึกภาคสนาม หรือสหกิจศึกษา ว่าได้บรรลุผลการเรียนตามแผนที่วางไว้ในรายละเอียด ของประสบการณ์ภาคสนามหรือไม่ และหากไม่เป็นไปตามแผนต้องให้ เหตุผลและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการฝึกงาน ออกฝึกภาคสนาม หรือสหกิจศึกษาในครั้งต่อไป รายงานนี้จะครอบคลุมถึงการฝึก ประสบการณ์ภาคสนามตั้งแต่เริ่มจนสิ้นสุด ปัญหาด้านการบริหารจัดการ และสิ่งอานวยความสะดวก การวิเคราะห์ผลการประเมิน การฝึกของ นักศึกษาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/พนักงานพี่เลี้ยง
  • 64. มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ต่อ) ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไป 2. การดาเนินการที่ต่างไปจากแผนการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 3. ผลการดาเนินการ 4. ปัญหาและผลกระทบด้านการบริหาร 5. การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 6. แผนการปรับปรุง
  • 65. มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 หลักสูตร 1.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 1.4 ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
  • 66. มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 2 การดาเนินการที่ต่างจากแผนการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 2.1 การเตรียมนักศึกษา (ถ้ามี) ระบุว่าการเตรียมนักศึกษาต่างจากแผนอย่างไร และให้ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผน ในอนาคต 2.2 การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ ระบุว่าการเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ต่างจากแผนอย่างไร และให้ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผนในอนาคต 2.3 การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยง (Field Supervisors) จากสถานประกอบการณ์ (ถ้ามี) ระบุว่าการเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการต่างจากแผนอย่างไรและให้ ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผนในอนาคต 2.4 การเปลี่ยนแปลงการจัดการในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ระบุการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ให้ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผน 1) การเปลี่ยนแปลงกิจกรรม และ/หรืองานที่มอบหมายให้นักศึกษา 2) การเปลี่ยนแปลงสิ่งอานวยความสะดวกในการสนับสนุนนักศึกษา 3) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ (ถ้ามี)
  • 68. มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 3 ผลการดาเนินการ 3.1 จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน/ส่งไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 3.2 จานวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 3.3 จานวนนักศึกษาที่ถอน (W) 3.4 การกระจายระดับคะแนน (เกรด) ระบุจานวนและร้อยละของนักศึกษาในแต่ละระดับคะแนน 3.5 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
  • 70. มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบด้านการบริหาร 4.1 ปัญหาด้านการบริหารของสถาบันอุดมศึกษา และ/หรือสถาน ประกอบการ/สถานที่ฝึก 4.2 ผลกระทบต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 4.3 การเปลี่ยนแปลงที่จาเป็นเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาและอุปสรรคในอนาคต (ถ้ามี)
  • 72. มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 5 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 5.1 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยนักศึกษา (ให้แนบผลการสารวจ) 1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน :ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็ง และจุดอ่อน 2) ความเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึก ประสบการณ์ภาคสนาม 5.2 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยสถานประกอบการหรือพนักงาน พี่เลี้ยง 1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน 2) ความเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึก ประสบการณ์ภาคสนาม
  • 74. มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง 6.1 การดาเนินการเพื่อปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามครั้งที่ผ่านมา สรุปย่อการพัฒนาที่สาคัญในปัจจุบัน อาทิ การพัฒนาอย่างมืออาชีพสาหรับคณะหรือที่ปรึกษา ประสบการณ์ภาคสนาม การปรับประสบการณ์ภาคสนาม และแนวทางใหม่ของการจัดการเชิงคุณภาพ 6.2 ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากรายงานการประเมินครั้งก่อน ระบุประเด็นที่ระบุไว้ในครั้งที่ผ่านมาสาหรับการปรับปรุงนอกเหนือจากข้อ 6.1 และอธิบายถึง ความสาเร็จ ผลกระทบ ในกรณีที่ไม่สาเร็จให้ระบุเหตุผล 6.3 ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสาหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป ระบุข้อเสนอพร้อมกาหนดเวลาที่ควรแล้วเสร็จและผู้รับผิดชอบ 6.4 ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม เสนอต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร ระบุข้อเสนอแนะต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หากมีกิจกรรมหรือการดาเนินงานใดๆ ที่ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากภาควิชาหรือสถาบัน หรืออาจจะมีผลกระทบต่อ รายวิชาอื่นๆ ในหลักสูตร
  • 76. เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2554. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2558 จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. มปป. คู่มือ มคอ.3 และ 4. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2558. จาก http://scms.spu.ac.th/osis/adviserindexmain.cfm _____มปป. คู่มือ มคอ.5 และ 6. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2558. จาก http://scms.spu.ac.th/osis/adviserindexmain.cfm