SlideShare a Scribd company logo
การดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา
         มหาวิทยาลัยขอนแก่น รอบปี พ.ศ. ๒๕๕๔




            ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี
             รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
                                      denpong@kku.ac.th

                                                           1
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
     เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒
• บังคับใช้ตั้งแต่ระดับอนุปริญญา – ปริญญาเอก
• คุณภาพบัณฑิตต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดและต้อง
  ครอบคลุมอย่างน้อย ๕ ด้าน
• ต้องพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร และดาเนินการจัดการเรียนการสอน
  ตลอดจนการวัดและการประเมินผลเพื่อให้มั่นใจว่า บัณฑิตมีมาตรฐาน
  ผลการเรียนรู้ตามที่กาหนด
• ให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาหลักสูตรที่จะรับนักศึกษาใหม่เป็นครั้งแรก
  ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้นไปตามประกาศนี้ สาหรับหลักสูตรที่
  เปิดสอนอยู่แล้วต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับประกาศนี้ภายในปี
  การศึกษา ๒๕๕๕
                                                                2
http://home.kku.ac.th/adssector/ads/




                                       3
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


                สภามหาวิทยาลัย    • แต่งตั้งโดยอธิการบดีหรือรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและ
                                    เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                  • องค์ประกอบ
        กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภาฯ oอาจารย์ประจาในหลักสูตร อย่างน้อย ๒ คน
                                      o ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย อย่างน้อย ๓ คน
ขั้นตอนการจัดทาและพิจารณาหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
                                        (ควรประกอบด้วย)
         กรรมการกลั่นกรองหลักสูตรฯ
                                              นั วิ าการที่เชี่ยวชาญในสาขาวิ
       (ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่กนช๑๙๑๑/๒๕๕๒) ชา
                                              ตัวแทนผู้ใช้บัณฑิต
                                              ตัวแทนภาคประชาชน
            กรรมการประจาคณะ
                                  • บทบาทหน้าที่
                                      o ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
      ประชุม/เวียนกรรมการร่างหลักสูตร o ร่างกรอบคุณลักษณะที่พึงประสงค์และกรอบผลการ
                                        เรียนรู้
                                      o จัดทาเอกสาร มคอ.2
         จัดทารายละเอียดหลักสูตร มคอ.๒


         แต่งตั้งคณะกรรมการร่างหลักสูตร
                                                                                         4
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา (มคอ.๑)
• คณะกรรมการการอุดมศึกษาพัฒนามาตรฐานคุณวุฒสาขา/   ิ
  สาขาวิชาต่าง ๆ ของแต่ละระดับคุณวุฒิ เพื่อสถาบันอุดมศึกษาได้
  ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงรายละเอียดของ
  หลักสูตรและจัดการเรียนการสอน
• จัดทา มคอ.๑ เสร็จสิ้นแล้ว จานวน ๗ สาขาวิชา
• กาลังดาเนินการวิจัยเพื่อจัดทา มคอ.๑ จานวน ๘ สาขาวิชา
• เห็นชอบให้ดาเนินการวิจัยเพื่อจัดทา มคอ.๑ จานวน ๑๔
  สาขาวิชา
                                                                5
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา (มคอ.๑) - แล้วเสร็จ
• มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๒
• มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๒
• มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาโลจิสติกส์ พ.ศ. ๒๕๕๒
• มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการ
  โรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๓
• มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๓
• มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี พ.ศ. ๒๕๕๓
• มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขา
  ศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรห้าปี)

                                                              6
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา (มคอ.๑) - กาลังดาเนินการ
• กาลังดาเนินการวิจัยเพื่อจัดทา มคอ.๑ จานวน ๘ สาขาวิชา
   – สัตวแพทยศาสตร์, วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์, การแพทย์แผนไทย
    ประยุกต์ (ตรี-บัณฑิตศึกษา), พยาบาลศาสตร์ (บัณฑิตศึกษา), ภาษาไทย,
    อุตสาหกรรมเกษตร, เทคโนโลยีชีวภาพ, กายภาพบาบัด (ตรี-บัณฑิตศึกษา)
• เห็นชอบให้ดาเนินการวิจัยเพื่อจัดทา มคอ.๑ จานวน ๑๔ สาขาวิชา
   – บริหารธุรกิจ, เศรษฐศาสตร์, เกษตรศาสตร์ ป่าไม้และประมง,
     สถาปัตยกรรมศาสตร์, ภาษาต่างประเทศ, สาธารณสุขศาสตร์,
     สิ่งแวดล้อม, ศิลปกรรมศาสตร์, นิเทศศาสตร์, แพทยศาสตร์, เภสัช
     ศาสตร์, ทันตแพทยศาสตร์, การบริหารการศึกษา, ครุศาสตร์อุตสาหกรรม

                                                                      7
ข้อกาหนดทั่วไปตาม มคอ.๑
• โครงสร้างลักษณะสาขาวิชา
• คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
• มาตรฐานผลการเรียนรู้
• โครงสร้างหลักสูตร (หลักสูตรต้องมีโครงสร้างตาม มคอ.๑ และ
  มาตรฐานวิชาชีพควบคุม)
• เนื้อหาสาระสาคัญของสาขาวิชา
• คุณสมบัติคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
                                                            8
ตัวอย่างโครงสร้างของลักษณะสาขาทาง
           วิศวกรรมศาสตร์




                                    9
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.๒)
• โครงสร้างหลักสูตร
     รายวิชาศึกษาทั่วไป อย่างน้อย ๓๐ หน่วยกิต
     รายวิชาเฉพาะ อย่างน้อย ๘๔ หน่วยกิต
     รายวิชาเลือกเสรี อย่างน้อย ๖ หน่วยกิต
• เงื่อนไขอื่นๆ
     รายวิชาภาษาอังกฤษ อย่างน้อย ๑๒ หน่วยกิต
     รายวิชาศึกษาทั่วไปรหัส ๐๐๐xxx อย่างน้อย ๒๑ หน่วยกิต + รายวิชาศึกษาทั่วไป
      ที่ไม่ใช่รหัส ๐๐๐xxx ไม่เกิน ๙ หน่วยกิต
     รายวิชาสหกิจศึกษา อย่างน้อย ๖ หน่วยกิต (บังคับ หรือ เลือก)
     ต้องสอบผ่านหลักสูตรมาตรฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

                                                                             10
นโยบายมหาวิทยาลัยและสภามหาวิทยาลัย
 มีรายวิชาที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการเรียนการสอน
 ส่งเสริมการเรียนการสอนให้นักศึกษาเรียนรู้ภาษาที่สาม
  (นอกเหนือจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมที่เป็นอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย คือ
  มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ



                                                               11
การขออนุมัติรายวิชาศึกษาทั่วไปที่ไม่ใช่รหัส ๐๐๐
•   เป็นรายวิชาที่ไม่ได้อยู่ในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป พ.ศ. ๒๕๕๓
•   จานวนไม่เกิน ๙ หน่วยกิต
•   สอดคล้องกับปรัชญาวิชาศึกษาทั่วไป
•   พิจารณาโดยกรรมการวิชาศึกษาทั่วไป
•   อาจพิจารณาใช้รายวิชาศึกษาทั่วไปของหลักสูตรนานาชาติได้



                                                                  12
มาตรฐานผลการเรียนรู้
• มีอย่างน้อย ๕ ด้าน (อาจเพิ่ม ทักษะพิสัย ในบางหลักสูตร)
• จัดทามาตรฐานผลการเรียนรู้ของหลักสูตร (ไม่จาเป็นต้องเหมือน
  หรือตรงกับของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป)
• เน้น มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ ในผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม
  จริยธรรม
• จัดทาแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ
  เรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) โดยนารายวิชาทั้งหมด
  มากาหนดตามผลการเรียนรู้ที่หลักสูตรกาหนด
                                                               13
ข้อควรคานึงในการจัดทารายวิชา
• การใช้ศัพท์บัญญัติตามราชบัณฑิตยสถาน
  (http://www.royin.go.th/)
• การตรงกันของคาอธิบายรายวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  แบบวลีต่อวลี
• เขียนคาอธิบายรายวิชาเป็นแบบวลี (ไม่เป็นประโยค)
• ทุกรายวิชาต้องมีส่วนในการพัฒนาผลการเรียนรู้
• ทุกผลการเรียนรู้ต้องมีรายวิชารับผิดชอบในจานวนที่เหมาะสม
                                                            14
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา       กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม ๒๕๕๕


         สภามหาวิทยาลัย                มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๕


  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภาฯ      พฤศจิกายน ๒๕๕๔ – มกราคม ๒๕๕๕


   กรรมการกลั่นกรองหลักสูตรฯ          กันยายน – พฤศจิกายน ๒๕๕๔


       กรรมการประจาคณะ                  ปลาย สิงหาคม ๒๕๕๔


 ประชุม/เวียนกรรมการร่างหลักสูตร          ต้น สิงหาคม ๒๕๕๔


 จัดทารายละเอียดหลักสูตร มคอ.๒        เมษายน – กรกฎาคม ๒๕๕๔


 แต่งตั้งคณะกรรมการร่างหลักสูตร        มีนาคม – เมษายน ๒๕๕๔
                                                                  15
http://slideshare.net/denpong
http://facebook.com/denpong.s

More Related Content

What's hot

Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Denpong Soodphakdee
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
dtschool
 
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
Mnr Prn
 

What's hot (18)

Static utq 19august
Static utq 19augustStatic utq 19august
Static utq 19august
 
แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2
 
หลักการจัดแผน
หลักการจัดแผนหลักการจัดแผน
หลักการจัดแผน
 
แนวทางบริหารหลักสูตรคณะศิลปศาสตร์
แนวทางบริหารหลักสูตรคณะศิลปศาสตร์แนวทางบริหารหลักสูตรคณะศิลปศาสตร์
แนวทางบริหารหลักสูตรคณะศิลปศาสตร์
 
Teaching plan
Teaching planTeaching plan
Teaching plan
 
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตรworkshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
workshop แนวทางการบริหารหลักสูตร
 
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตรหลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลีPptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
Pptประเมินวิทยาฐานะชำนาญการ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการPPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
 
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษาสื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
สื่อการเรียนรู้ไอซีทีเพื่ออาชีวศึกษา
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
 

Viewers also liked

Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Denpong Soodphakdee
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
Denpong Soodphakdee
 

Viewers also liked (18)

Innovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in EducationInnovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in Education
 
Eneygy Awarness
Eneygy AwarnessEneygy Awarness
Eneygy Awarness
 
Cutting Edge Innovation in Education
Cutting Edge Innovation in  EducationCutting Edge Innovation in  Education
Cutting Edge Innovation in Education
 
Institute of Learning and Teaching Innovation
Institute of Learning and Teaching InnovationInstitute of Learning and Teaching Innovation
Institute of Learning and Teaching Innovation
 
ICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU StudentsICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU Students
 
Social Media in Education
Social Media in EducationSocial Media in Education
Social Media in Education
 
Khon Kaen University : GE & TQF-HEd
Khon Kaen University : GE & TQF-HEdKhon Kaen University : GE & TQF-HEd
Khon Kaen University : GE & TQF-HEd
 
KKU Google Apps - Case Study
KKU Google Apps - Case StudyKKU Google Apps - Case Study
KKU Google Apps - Case Study
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen University
 
Academic Administration : Khon Kaen University
Academic Administration : Khon Kaen UniversityAcademic Administration : Khon Kaen University
Academic Administration : Khon Kaen University
 
Google Apps for Education : An Implementation Case Study of KKU
Google Apps for Education : An Implementation Case Study of KKUGoogle Apps for Education : An Implementation Case Study of KKU
Google Apps for Education : An Implementation Case Study of KKU
 
Database Tuning for e-Learning
Database Tuning for e-LearningDatabase Tuning for e-Learning
Database Tuning for e-Learning
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library Service
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education Institute
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
 
Steam and Condensate Loop (Thai)
Steam and Condensate Loop (Thai)Steam and Condensate Loop (Thai)
Steam and Condensate Loop (Thai)
 

Similar to Khon Kaen University TQF Process 2011

แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
narongsak promwang
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
Sarawut Rajchakit
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
Nang Ka Nangnarak
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
Jutatip Ni
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O net
Dhanee Chant
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
unyaparnss
 

Similar to Khon Kaen University TQF Process 2011 (20)

ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
2552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.92552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.9
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O net
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
 
คู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNtคู่มือการสอบNt
คู่มือการสอบNt
 

More from Denpong Soodphakdee

การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Denpong Soodphakdee
 

More from Denpong Soodphakdee (18)

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKU
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKU
 
New Media in Digital Age
New Media in Digital AgeNew Media in Digital Age
New Media in Digital Age
 
21st century learning skills
21st century learning skills21st century learning skills
21st century learning skills
 
ICT in Modern Education
ICT in Modern EducationICT in Modern Education
ICT in Modern Education
 
New Learning Paradigm
New Learning ParadigmNew Learning Paradigm
New Learning Paradigm
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its Applications
 
KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century Learners
 
Google Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU ExperiencesGoogle Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU Experiences
 
Video the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERsVideo the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERs
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational Resources
 
Cloud and Online Services Opportunity for Education
Cloud and Online Services Opportunity for EducationCloud and Online Services Opportunity for Education
Cloud and Online Services Opportunity for Education
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ICT and Social Media in Thailand Education
ICT and Social Media in Thailand EducationICT and Social Media in Thailand Education
ICT and Social Media in Thailand Education
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy Conservation
 

Khon Kaen University TQF Process 2011

  • 1. การดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น รอบปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ denpong@kku.ac.th 1
  • 2. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ • บังคับใช้ตั้งแต่ระดับอนุปริญญา – ปริญญาเอก • คุณภาพบัณฑิตต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดและต้อง ครอบคลุมอย่างน้อย ๕ ด้าน • ต้องพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร และดาเนินการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและการประเมินผลเพื่อให้มั่นใจว่า บัณฑิตมีมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ตามที่กาหนด • ให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาหลักสูตรที่จะรับนักศึกษาใหม่เป็นครั้งแรก ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้นไปตามประกาศนี้ สาหรับหลักสูตรที่ เปิดสอนอยู่แล้วต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับประกาศนี้ภายในปี การศึกษา ๒๕๕๕ 2
  • 4. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สภามหาวิทยาลัย • แต่งตั้งโดยอธิการบดีหรือรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ • องค์ประกอบ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภาฯ oอาจารย์ประจาในหลักสูตร อย่างน้อย ๒ คน o ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย อย่างน้อย ๓ คน ขั้นตอนการจัดทาและพิจารณาหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ควรประกอบด้วย) กรรมการกลั่นกรองหลักสูตรฯ  นั วิ าการที่เชี่ยวชาญในสาขาวิ (ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่กนช๑๙๑๑/๒๕๕๒) ชา  ตัวแทนผู้ใช้บัณฑิต  ตัวแทนภาคประชาชน กรรมการประจาคณะ • บทบาทหน้าที่ o ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล ประชุม/เวียนกรรมการร่างหลักสูตร o ร่างกรอบคุณลักษณะที่พึงประสงค์และกรอบผลการ เรียนรู้ o จัดทาเอกสาร มคอ.2 จัดทารายละเอียดหลักสูตร มคอ.๒ แต่งตั้งคณะกรรมการร่างหลักสูตร 4
  • 5. มาตรฐานคุณวุฒิสาขา (มคอ.๑) • คณะกรรมการการอุดมศึกษาพัฒนามาตรฐานคุณวุฒสาขา/ ิ สาขาวิชาต่าง ๆ ของแต่ละระดับคุณวุฒิ เพื่อสถาบันอุดมศึกษาได้ ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงรายละเอียดของ หลักสูตรและจัดการเรียนการสอน • จัดทา มคอ.๑ เสร็จสิ้นแล้ว จานวน ๗ สาขาวิชา • กาลังดาเนินการวิจัยเพื่อจัดทา มคอ.๑ จานวน ๘ สาขาวิชา • เห็นชอบให้ดาเนินการวิจัยเพื่อจัดทา มคอ.๑ จานวน ๑๔ สาขาวิชา 5
  • 6. มาตรฐานคุณวุฒิสาขา (มคอ.๑) - แล้วเสร็จ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาโลจิสติกส์ พ.ศ. ๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการ โรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี พ.ศ. ๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขา ศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรห้าปี) 6
  • 7. มาตรฐานคุณวุฒิสาขา (มคอ.๑) - กาลังดาเนินการ • กาลังดาเนินการวิจัยเพื่อจัดทา มคอ.๑ จานวน ๘ สาขาวิชา – สัตวแพทยศาสตร์, วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์, การแพทย์แผนไทย ประยุกต์ (ตรี-บัณฑิตศึกษา), พยาบาลศาสตร์ (บัณฑิตศึกษา), ภาษาไทย, อุตสาหกรรมเกษตร, เทคโนโลยีชีวภาพ, กายภาพบาบัด (ตรี-บัณฑิตศึกษา) • เห็นชอบให้ดาเนินการวิจัยเพื่อจัดทา มคอ.๑ จานวน ๑๔ สาขาวิชา – บริหารธุรกิจ, เศรษฐศาสตร์, เกษตรศาสตร์ ป่าไม้และประมง, สถาปัตยกรรมศาสตร์, ภาษาต่างประเทศ, สาธารณสุขศาสตร์, สิ่งแวดล้อม, ศิลปกรรมศาสตร์, นิเทศศาสตร์, แพทยศาสตร์, เภสัช ศาสตร์, ทันตแพทยศาสตร์, การบริหารการศึกษา, ครุศาสตร์อุตสาหกรรม 7
  • 8. ข้อกาหนดทั่วไปตาม มคอ.๑ • โครงสร้างลักษณะสาขาวิชา • คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ • มาตรฐานผลการเรียนรู้ • โครงสร้างหลักสูตร (หลักสูตรต้องมีโครงสร้างตาม มคอ.๑ และ มาตรฐานวิชาชีพควบคุม) • เนื้อหาสาระสาคัญของสาขาวิชา • คุณสมบัติคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 8
  • 10. รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.๒) • โครงสร้างหลักสูตร  รายวิชาศึกษาทั่วไป อย่างน้อย ๓๐ หน่วยกิต  รายวิชาเฉพาะ อย่างน้อย ๘๔ หน่วยกิต  รายวิชาเลือกเสรี อย่างน้อย ๖ หน่วยกิต • เงื่อนไขอื่นๆ  รายวิชาภาษาอังกฤษ อย่างน้อย ๑๒ หน่วยกิต  รายวิชาศึกษาทั่วไปรหัส ๐๐๐xxx อย่างน้อย ๒๑ หน่วยกิต + รายวิชาศึกษาทั่วไป ที่ไม่ใช่รหัส ๐๐๐xxx ไม่เกิน ๙ หน่วยกิต  รายวิชาสหกิจศึกษา อย่างน้อย ๖ หน่วยกิต (บังคับ หรือ เลือก)  ต้องสอบผ่านหลักสูตรมาตรฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 10
  • 11. นโยบายมหาวิทยาลัยและสภามหาวิทยาลัย  มีรายวิชาที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการเรียนการสอน  ส่งเสริมการเรียนการสอนให้นักศึกษาเรียนรู้ภาษาที่สาม (นอกเหนือจากภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)  ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมที่เป็นอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย คือ มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ 11
  • 12. การขออนุมัติรายวิชาศึกษาทั่วไปที่ไม่ใช่รหัส ๐๐๐ • เป็นรายวิชาที่ไม่ได้อยู่ในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป พ.ศ. ๒๕๕๓ • จานวนไม่เกิน ๙ หน่วยกิต • สอดคล้องกับปรัชญาวิชาศึกษาทั่วไป • พิจารณาโดยกรรมการวิชาศึกษาทั่วไป • อาจพิจารณาใช้รายวิชาศึกษาทั่วไปของหลักสูตรนานาชาติได้ 12
  • 13. มาตรฐานผลการเรียนรู้ • มีอย่างน้อย ๕ ด้าน (อาจเพิ่ม ทักษะพิสัย ในบางหลักสูตร) • จัดทามาตรฐานผลการเรียนรู้ของหลักสูตร (ไม่จาเป็นต้องเหมือน หรือตรงกับของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป) • เน้น มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ ในผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม • จัดทาแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ เรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) โดยนารายวิชาทั้งหมด มากาหนดตามผลการเรียนรู้ที่หลักสูตรกาหนด 13
  • 14. ข้อควรคานึงในการจัดทารายวิชา • การใช้ศัพท์บัญญัติตามราชบัณฑิตยสถาน (http://www.royin.go.th/) • การตรงกันของคาอธิบายรายวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ แบบวลีต่อวลี • เขียนคาอธิบายรายวิชาเป็นแบบวลี (ไม่เป็นประโยค) • ทุกรายวิชาต้องมีส่วนในการพัฒนาผลการเรียนรู้ • ทุกผลการเรียนรู้ต้องมีรายวิชารับผิดชอบในจานวนที่เหมาะสม 14
  • 15. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม ๒๕๕๕ สภามหาวิทยาลัย มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภาฯ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ – มกราคม ๒๕๕๕ กรรมการกลั่นกรองหลักสูตรฯ กันยายน – พฤศจิกายน ๒๕๕๔ กรรมการประจาคณะ ปลาย สิงหาคม ๒๕๕๔ ประชุม/เวียนกรรมการร่างหลักสูตร ต้น สิงหาคม ๒๕๕๔ จัดทารายละเอียดหลักสูตร มคอ.๒ เมษายน – กรกฎาคม ๒๕๕๔ แต่งตั้งคณะกรรมการร่างหลักสูตร มีนาคม – เมษายน ๒๕๕๔ 15