SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
การเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ
A Pathway to an Academic Position
จะทาอย่างไร
อยากได้ ผศ.?
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุบิน ยุระรัช
Email/Facebook: subin.yu@spu.ac.th, drsubin@hotmail.com
Mobile: 085-075-2007 Phone: 02-579-1111 ext. 1155, 3051
อาจารย์  ทาวิจัย  Sig. [ผศ. รศ. ศ.]
อาจารย์  ไม่ทาวิจัย  Sick
ตาแหน่งทางวิชาการ…มีอะไรบ้าง?
คณาจารย์ประจา
(อยู่ประจาที่สถาบัน)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์
คณาจารย์พิเศษ
(ไม่ได้อยู่ประจาที่
สถาบัน)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
พิเศษ
รองศาสตราจารย์
พิเศษ
ศาสตราจารย์
พิเศษ
อืม…น่าสนใจ!!!
แล้ว อ.ประจาแบบพิเศษล่ะ?
ที่มา: สกว. (http://elibrary.trf.or.th/)
“การวิจัยจะรุ่งเรืองมิได้ ถ้าสังคมไทย
ไม่ให้คุณค่าและเคารพต่อความคิดริเริ่ม
ต้องไม่มีการล่วงละเมิด ลอกเลียน หรือ
อ้างว่าเป็นของตน”
1. ข้อมูลผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
2. คุณสมบัติของผู้เสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ
3. หลักเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ [NEW]
4. ผลการสอนและผลงานทางวิชาการ
5. วิธีการแต่งตั้งและกระบวนการขอตาแหน่งทางวิชาการ
6. คาถาม-คาตอบ [Q & A]
หัวข้อการนาเสนอ
ข้อมูลผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
หัวข้อที่ 1
ผศ. รศ. ศ @ SPU 73 คน (23.25%)
จานวนอาจารย์ประจา ข้อมูล ณ วันที่ 6 มี.ค. 2558
ที่ อาจารย์ประจา จานวน (คน) ร้อยละ
1 ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ 314 100
2 อนุปริญญา 1 0.32
3 มีวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเท่า 27 8.60
4 มีวุฒิปริญญาโท หรือเทียบเท่า 214 68.15
5 มีวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า 72 22.93
6 ไม่มีตาแหน่งทางวิชาการ (อ.) 241 76.75
7 มีตาแหน่ง ผศ. 65 20.70
8 มีตาแหน่ง รศ. 7 2.23
9 มีตาแหน่ง ศ. 1 0.32
ผศ. รศ. ศ @ SPU [รายคณะ]
ที่ คณะ/วิทยาลัย/สานักวิชา อาจารย์ ผศ. รศ. ศ. รวม %
1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 26 8 0 0 34 10.83
2 นิติศาสตร์ 16 4 0 1 21 6.69
3 นิเทศศาสตร์ 17 4 0 0 21 6.69
4 บริหารธุรกิจ 31 4 1 0 36 11.46
5 บัญชี 13 2 0 0 15 4.78
6 วิศวกรรมศาสตร์ 31 18 3 0 52 16.56
ผศ. รศ. ศ @ SPU [รายคณะ]
ที่ คณะ/วิทยาลัย/สานักวิชา อาจารย์ ผศ. รศ. ศ. รวม %
7 ศิลปศาสตร์ 28 2 0 0 30 9.55
8 สถาปัตยกรรมศาสตร์ 18 4 0 0 22 7.01
9 ดิจิทัลมีเดีย 17 0 1 0 18 5.73
10 ศึกษาทั่วไป 9 11 0 0 20 6.37
11 บัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ 7 7 2 0 16 5.10
12 นานาชาติ 10 0 0 0 10 3.18
13 สถาบันภาษาและวัฒนธรรม 18 1 0 0 19 6.05
รวม 241 65 7 1 314 100
คุณสมบัติของผู้เสนอขอกาหนด
ตาแหน่งทางวิชาการ
หัวข้อที่ 2
คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง
มี 2 ข้อ คือ (1) คุณวุฒิ และ (2) ระยะเวลาการเป็นอาจารย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์, ผศ.
จบ ป.ตรี/เทียบเท่า และต้องเป็นอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 9 ปี
จบ ป.โท/เทียบเท่า และต้องเป็นอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
จบ ป.เอก/เทียบเท่า และต้องเป็นอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
รองศาสตราจารย์, รศ.
เป็น ผศ. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี
ศาสตราจารย์, ศ.
เป็น รศ. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
การนับเวลา (ระยะเวลาการบรรจุเป็นอาจารย์ประจา)
1. ถ้าเคยเป็นอาจารย์ประจาในสถาบันอุดมศึกษาอื่นมาก่อน นับ
ได้เต็มเวลา จะต้องมีหนังสือรับรองการทางานจากสถาบันอุดมศึกษาเดิม
มายืนยัน
2. ถ้าเคยเป็นอาจารย์พิเศษในสถาบันอุดมศึกษา และสอนประจา
วิชาไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต/ทวิภาค อาจนาเวลาที่สอนมาคานวณเทียบ
ได้ 3/4 ของเวลาที่สอน
3. ถ้าได้รับวุฒิสูงขึ้น ให้นับเวลาได้ทั้งก่อนและหลังได้รับวุฒิ
ตัวอย่าง วิธีการคานวณเวลาในการปฏิบัติงาน
(กรณีมีวุฒิปริญญาโทอยู่ก่อนแล้ว และลาศึกษาต่อปริญญาเอก)
ตัวอย่าง อาจารย์ ก. จบปริญญาโท และเป็นอาจารย์มาแล้ว 3 ปี 4 เดือน
หลังจากนั้นได้รับทุนไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอก หลังจากที่เรียนจบแล้วและ
กลับมาทางานต่อ อาจารย์ ก. จะต้องทางานหลังจบปริญญาเอกเป็นเวลานาน
เท่าใดจึงจะมีสิทธิ์ยื่นขอตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์
1. คานวณจานวนเดือนที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์ (วุฒิปริญญาโท)
3 ปี 4 เดือน = 40 เดือน
2. ระยะเวลาตามสิทธิ์ของผู้จบปริญญาโทในการขอตาแหน่ง ผศ. คือ 5 ปี
(หรือ 60 เดือน) เพราะฉะนั้นยังขาดเวลาตามสิทธิ์อยู่ 60-40=20 เดือน คิดเป็น
สัดส่วนของสิทธิ์ที่ขาดเท่ากับ 20/60=1/3
3. สิทธิ์ในการขอตาแหน่ง ผศ. หลังจากจบปริญญาเอก คือ 2 ปี
(24 เดือน) เพราะฉะนั้น เวลาที่ต้องทางานหลังจากจบปริญญาเอกเพื่อให้ได้สิทธิ์
ในการขอตาแหน่ง ผศ. คือ 24 x 1/3= 8 เดือน
หมายเหตุ: การขอตาแหน่งทางวิชาการ โดยวิธีพิเศษ
การขอตาแหน่งทางวิชาการ โดยวิธีพิเศษ หมายถึง ผู้ขอมี
คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งต่างไปจากที่กาหนดในมาตรฐาน เช่น
ระยะเวลาการเป็นอาจารย์ไม่ครบตามหลักเกณฑ์ เป็นต้น โดยให้ผู้ขอ
เสนอผลงานทางวิชาการและให้ดาเนินการตามวิธีการเช่นเดียวกับการ
แต่งตั้งโดยวิธีปกติโดยอนุโลม แต่มีเงื่อนไข คือ
1. ให้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน พิจารณา
ผลงานทางวิชาการและจริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ
2. การตัดสินของที่ประชุมต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 4
ใน 5 เสียง
3. ผลงานทางวิชาการต้องมีคุณภาพในระดับดีมาก
การรับรองตนเองด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ
1. มีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ไม่เคยนาผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงาน
ของตนและไม่เคยลอกเลียนผลงานของผู้อื่น รวมทั้งไม่เคยนาผลงานของตนเองใน
เรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการมากกว่าหนึ่งฉบับ ในลักษณะที่จะทาให้
เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่
2. ให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นามาใช้ในผลงาน
ทางวิชาการของตนเองและแสดงหลักฐานของการค้นคว้าไว้อย่างชัดเจน
3. ไม่เคยละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นและสิทธิมนุษยชน
เพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานทางวิชาการ
4. ศึกษาโดยใช้หลักวิชาการเป็นเกณฑ์ ไม่มีอคติมาเกี่ยวข้องและเสนอ
ผลงานตามความเป็นจริง ข้าพเจ้าไม่เคยจงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัยโดยหวัง
ผลประโยชน์ส่วนตัว หรือไม่เคยสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น และเสนอผลงานตาม
ความเป็นจริง ไม่ขยายข้อค้นพบโดยปราศจากการตรวจสอบยืนยันในทางวิชาการ
5. ได้นาผลงานไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบธรรมและชอบด้วยกฎหมาย
ลงนามรับรอง และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
 ผู้ขอต้องลงนามรับรองตนเองด้านจริยธรรมและ
จรรยาบรรณทางวิชาการ
 ผู้ขอต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เพราะมิฉะนั้นจะ
นาไปสู่การผิดวินัยอย่างร้ายแรง
 ผลงานวิทยานิพนธ์….ไม่สามารถนามาใช้ได้
หลักเกณฑ์
การขอตาแหน่งทางวิชาการ
หัวข้อที่ 3
ระเบียบ กกอ.
ว่าด้วยมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้ง
คณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ดารงแหน่ง
ทางวิชาการ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556
[ประกาศ 27 มิถุนายน 2556]
เอกสารอ้างอิง (ล่าสุด)
สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556
1. ยกเลิก 7.1.3 ในฉบับที่ 3 (2550) (ผลงานทางวิชาการ ผศ.)
การขอตาแหน่ง ผศ. ตามระเบียบ กกอ. ฉบับที่ 5 (2556)
ผลงานที่นามาเสนอ คือ
ผลงานวิจัย หรือ
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น หรือ
ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตารา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ
หมายเหตุ ผลงานทุกประเภทมีคุณภาพอยู่ในระดับ “ดี”
สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ]
2. ยกเลิก 7.1.3 ในฉบับที่ 3 (2550) (ผลงานทางวิชาการ รศ.)
การขอตาแหน่ง รศ. ตามระเบียบ กกอ. ฉบับที่ 5 (2556)
ผลงานที่นามาเสนอ คือ
ผลงานวิจัย หรือ
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น และ
ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตารา หรือหนังสือ
หมายเหตุ 1. ผลงานทุกประเภทมีคุณภาพอยู่ในระดับ “ดี”
2. ไม่จาเป็นต้องใช้ “บทความทางวิชาการ”
สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ]
3. ยกเลิก 7.3.3 ในฉบับที่ 3 (2550) (ผลงานทางวิชาการ ศ.)
แบบที่ 1 ผลงานที่นามาเสนอ คือ
ผลงานวิจัย หรือ
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น และ
ผลงานแต่งตารา หรือหนังสือ
หมายเหตุ ผลงานทุกประเภทมีคุณภาพอยู่ในระดับ “ดีมาก”
แบบที่ 2 ผลงานที่นามาเสนอ คือ
ผลงานวิจัย หรือ
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น หรือ
ผลงานแต่งตารา หรือหนังสือ
หมายเหตุ ผลงานทุกประเภทมีคุณภาพอยู่ในระดับ “ดีเด่น”
สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ]
4. ยกเลิกข้อความใน 8.1.3 ในฉบับที่ 3 (2550) และแก้ไข
เพิ่มเติมในฉบับที่ 4 (2552) และให้ใช้ข้อความนี้แทน
“ในกรณีการพิจารณาผลงานทางวิชาการของกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทาหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการและจริยธรรมและ
จรรยาบรรณทางวิชาการ ตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์และรอง
ศาสตราจารย์ ที่มีผลการประเมินเป็นเอกฉันท์ ว่าคุณภาพของผลงาน
ทางวิชาการของผู้กาหนดตาแหน่งอยู่ในเกณฑ์หรือไม่อยู่ในเกณฑ์ที่
คณะกรรมการกาหนดนั้น สภาสถาบันอาจกาหนดการยกเว้นการประชุม
ไว้ในข้อบังคับของสภาสถาบัน โดยให้ถือเอาผลการประเมินดังกล่าวเป็น
ผลการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทาหน้าที่ประเมินผล
งานทางวิชาการและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการก็ได้”
สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ]
5. ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคหก ในข้อ 8.1.3 (ผศ.) และ
8.2.3 (รศ.) ตามระเบียบ กกอ. ฉบับที่ 3 (2550) ดังนี้
“สภาสถาบันอาจกาหนดไว้ในข้อบังคับของสภาสถาบันให้
แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชน หรือผู้ที่ปฏิบัติงานร่วมกับชุมชนที่
มีความรู้หรือความเชี่ยวชาญเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เสนอขอ
ทาหน้าที่เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคแรก เพิ่มเติมได้
อีก 2 คน ในกรณีที่ผู้ขอเสนอผลงานทางวิชาการรับใช้สังคม
โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการก่อน
ดาเนินการแต่งตั้ง”
สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ]
6. ให้ยกเลิกแบบคาขอฯ แบบเสนอแต่งตั้งฯ และคาจากัด
ความของผลงานทางวิชาการ ลักษณะการเผยแพร่และผลงาน
ทางวิชาการที่จาแนกตามระดับคุณภาพของบทความทาง
วิชาการ ตามเอกสารแนบท้ายระเบียบ กกอ. ฉบับที่ 3 พ.ศ.
2550 และให้ใช้ตามที่กาหนดไว้ท้ายระเบียบนี้แทน
สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ]
7. คาจากัดความ ลักษณะการเผยแพร่และผลงานทางวิชาการ
ที่จาแนกตามระดับคุณภาพของผลงานวิชาการรับใช้สังคม
ลักษณะการมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการรับใช้สังคม และ
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการรับใช้สังคม ให้เป็นไป
ตามที่กาหนดไว้ท้ายระเบียบนี้
ข้อมูลและรายละเอียดการขอตาแหน่งทางวิชาการ
เว็บไซต์ สานักงานบุคคล
http://www.spu.ac.th/hr/about/service
เว็บไซต์ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย
http://www.spu.ac.th/research/service
1. แบบคาขอรับการพิจารณากาหนดตาแหน่งทางวิชาการ
2. ระเบียบ กกอ. ว่าด้วยมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งคณาจารย์ใน
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ดารงแหน่งทางวิชาการ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556
3. แบบฟอร์ม (สายมนุษย์ฯ และสายวิทย์ฯ) และตัวอย่าง
4. กระบวนการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ
5. คู่มือการขอตาแหน่ง ผศ. [ยังไม่ได้ upload]
6. เอกสารอื่นๆ
ผลการสอน
และผลงานทางวิชาการ
หัวข้อที่ 4
ผลการสอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
มีชั่วโมงสอน มีความชานาญในการสอน มี “เอกสารประกอบการสอน”ไม่
น้อยกว่า 1 รายวิชา ที่มีคุณภาพดี ผ่านการประเมินโดยคณะกรรมการของสถาบัน
รองศาสตราจารย์
มีชั่วโมงสอน มีความชานาญพิเศษในการสอน มี “เอกสารคาสอน” ไม่
น้อยกว่า 1 รายวิชา ที่มีคุณภาพดี ผ่านการประเมินโดยคณะกรรมการของสถาบัน
ศาสตราจารย์
มีชั่วโมงสอน มีความเชี่ยวชาญในการสอน ผ่านการประเมินโดย
คณะกรรมการของสถาบัน (ไม่ได้กล่าวถึงเอกสารหรือสื่อการสอนอื่นใด)
*คณะกรรมการของสถาบัน = คณะอนุกรรมการประเมินผลการสอน
อะไรที่เรียกว่าสมบูรณ์แบบ?
เอกสาร
ประกอบ
การสอน
เอกสาร
คาสอน
ตารา
ผศ. รศ. รศ.
ผลการสอน....ผลงาน 3 แบบ?
เอกสารประกอบการสอน เอกสารคาสอน ตารา
หมายถึง เอกสารหรือ
สื่ออื่นๆ ที่ใช้
ประกอบการสอนวิชา
ใดวิชาหนึ่งตาม
หลักสูตรของ
มหาวิทยาลัยที่สะท้อน
ให้เห็นเนื้อหาวิชาและ
วิธีการสอนอย่างเป็น
ระบบ
หมายถึง เอกสาร
คาบรรยาย หรือสื่อ
อื่นๆ ที่ใช้สอนวิชาใด
วิชาหนึ่งตามหลักสูตร
ของมหาวิทยาลัยที่
สะท้อนให้เห็น
เนื้อหาวิชาและวิธีการ
สอนอย่างเป็นระบบ
และมีความสมบูรณ์
กว่าเอกสาร
ประกอบการสอน
หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่
เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ อาจ
เขียนเพื่อตอบสนองเนื้อหา
ทั้งหมดของรายวิชา หรือเป็นส่วน
หนึ่งของวิชาหรือหลักสูตรก็ได้
โดยมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
ความรู้ที่เกี่ยวข้อง พัฒนาจาก
เอกสารคาสอนจนถึงระดับที่มี
ความ สมบูรณ์ที่สุด แม้ว่าจะไม่ใช่
ผู้เรียนในวิชานั้น แต่สามารถอ่าน
และทาความเข้าใจได้ด้วยตนเอง
องค์ประกอบของเอกสารประกอบการสอน/คาสอน
1 มีโครงการสอน แผนการสอน และหัวข้อการสอนที่ครอบคลุมคาอธิบายรายวิชา
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
2 มีการเรียบเรียงเลขหน้าอย่างเป็นระบบตามหัวข้อ/สารบัญ
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
3 มีการพิสูจน์อักษร และเอกสารสามารถอ่านได้ทั้งภาพและตัวอักษร
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
4 มีการเผยแพร่และนาไปใช้มาแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
5 มีบรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง
 ผ่าน  ไม่ผ่าน
คาแนะนา: การประเมินผลการสอน
 ผู้เสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ จะต้องส่ง
“ตารางสอน” และระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง เช่น
วันและช่วงเวลาที่สอน ห้องเรียน อาคารเรียน และวัน
สุดท้ายที่สอน เป็นต้น ให้สานักงานบุคคลทราบล่วงหน้า
เพื่อจะได้ประสานงานคณะอนุกรรมการเข้าประเมินการ
สอนได้ถูกต้อง
ผลงานทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทางวิชาการใน
ลักษณะอื่น หรือ ตารา หรือ หนังสือ หรือ บทความทางวิชาการ (คุณภาพดี)
รองศาสตราจารย์
ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทางวิชาการใน
ลักษณะอื่น และ ตารา หรือ หนังสือ (คุณภาพดี)
ศาสตราจารย์
แบบที่ 1 ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทาง
วิชาการในลักษณะอื่น และ ตารา หรือ หนังสือ (คุณภาพดีมาก)
แบบที่ 2 ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทาง
วิชาการในลักษณะอื่น หรือ ตารา หรือ หนังสือ (คุณภาพดีเด่น)
ผลงานวิจัย
 สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: เสนอเฉพาะบทความวิจัย
 สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: เสนอตัวเล่ม และบทความวิจัย
 บทความวิจัย จะต้องได้รับการเผยแพร่ใน 2 รูปแบบ คือ
(1) Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ
(2) วารสารวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
 เช่น สิ่งประดิษฐ์/ งานสร้างสรรค์/ งานแปล/ สารานุกรม
 สาหรับ “หนังสือแปล” ถือเป็นงานแปลชนิดหนึ่ง เทียบเท่า
ผลงานวิจัย [ไม่อยู่ในหมวด หนังสือ/ตารา]
ตารา
 สมบูรณ์มากกว่าเอกสารประกอบการสอน และเอกสารคาสอน
 ผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ
 สามารถถ่ายสาเนาเย็บเล่มได้ ไม่จาเป็นต้องเข้าโรงพิมพ์
หนังสือ
 เป็นหนังสือในเชิงวิชาการ (ไม่ใช่หนังสือแปล)
 มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง/สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่ขอตาแหน่งทางวิชาการ
 ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่โดยสานักพิมพ์
บทความทางวิชาการ
 ไม่ใช่บทความวิจัย (ดูนิยามในภาคผนวก)
 ได้รับการเผยแพร่ใน 3 รูปแบบ คือ
(1) หนังสือรวมบทความ ที่มี Peer Review
(2) Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ
(3) วารสารวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ
คาจากัดความ ลักษณะการเผยแพร่ และระดับคุณภาพ
ของ “บทความทางวิชาการ” [NEW]
1. คาจากัดความ
 งานเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกาหนดประเด็นที่ต้องการอธิบายหรือ
วิเคราะห์อย่างชัดเจน ทั้งนี้มีการวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลัก
วิชาการโดยมีการสารวจวรรณกรรมเพื่อสนับสนุนจนสามารถสรุปผล
การวิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้ อาจเป็นการนาความรู้จากแหล่งต่างๆ
มาประมวลร้อยเรียงเพื่อวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยที่ผู้เขียนแสดง
ทัศนะทางวิชาการของตนไว้อย่างชัดเจนด้วย
2. รูปแบบ
 ประกอบด้วย การนาความที่แสดงเหตุผลหรือที่มาของประเด็นที่
ต้องการอธิบายหรือวิเคราะห์ กระบวนการอธิบายหรือวิเคราะห์และ
บทสรุป มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมที่ครบถ้วนและสมบูรณ์
3. การเผยแพร่
 เผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้
(1) เผยแพร่ในรูปแบบของบทความทางวิชาการในวารสารวิชาการ
(2) เผยแพร่ในหนังสือรวมบทความ ที่มีการบรรณาธิการประเมินและ
ตรวจสอบคุณภาพของบทความต่างๆ ในหนังสือนั้นแล้ว
(3) เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการ
(Proceedings) ของการประชุมวิชาการในระดับชาติหรือนานาชาติ ที่มี
การบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพของบทความต่างๆ ที่
นาเสนอนั้นแล้ว
*** เมื่อได้เผยแพร่ตามลักษณะข้างต้นและได้มีการพิจารณา
ประเมินคุณภาพของ “บทความทางวิชาการ” นั้นแล้ว การนา “บทความ
ทางวิชาการ” นั้น มาแก้ไขปรับปรุง หรือเพิ่มเติมส่วนใดส่วนหนึ่ง เพื่อ
นามาเสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ และให้มีการประเมินคุณภาพ
“บทความทางวิชาการ” นั้นอีกครั้งหนึ่งจะกระทาไม่ได้
4. ระดับคุณภาพ
 ระดับดี เป็นบทความทางวิชาการที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ
ถูกต้องสมบูรณ์และทันสมัย มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชัดเจนเป็น
ประโยชน์ต่อวงวิชาการ
 ระดับดีมาก ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดี โดยมีข้อกาหนดเพิ่มเติม ดังนี้
(1) มีการวิเคราะห์และเสนอความรู้หรือวิธีการที่ทันสมัยต่อ
ความก้าวหน้าทางวิชาการและเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ
(2) สามารถนาไปใช้อ้างอิงหรือนาไปปฏิบัติได้
 ระดับดีเด่น ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดีมาก โดยมีข้อกาหนดเพิ่มเติม ดังนี้
(1) มีลักษณะเป็นงานบุกเบิกทางวิชาการ และมีการสังเคราะห์จนถึง
ระดับที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ (Body of Knowledge) ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
(2) มีการกระตุ้นให้เกิดความคิดและคนคว้าต่อเนื่อง เป็นที่เชื่อถือและ
ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในระดับชาติ และ/หรือนานาชาติ
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม
1.ลักษณะการมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการรับใช้สังคม
 ในกรณีดาเนินงานเป็นหมู่คณะ หรือบูรณาการหลายสาขาวิชา ผู้ขอ
กาหนดตาแหน่งต้องเป็นผู้ดาเนินการหลัก
 ขั้นตอนการทางานมี 3 ขั้นตอน
(1) วิเคราะห์สถานการณ์ก่อนเริ่มกิจกรรมรับใช้สังคม
(2) ออกแบบหรือพัฒนาชิ้นงาน/แนวคิด/กิจกรรม
(3) ประเมินผลลัพธ์และสรุปแนวทางการนาไปขยายผล/ปรับปรุง
 ผู้ขอระบุบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในผลงานของผู้ร่วมงาน
ทุกคน และบทบาทหน้าที่หลักของผู้ขอกาหนดตาแหน่ง และให้
ผู้ร่วมงานทุกคนลงนามรับรอง
 อาจไม่ต้องระบุสัดส่วนการมีส่วนร่วมเป็น % ก็ได้
2. คาจากัดความ ลักษณะการเผยแพร่ และระดับคุณภาพ
2.1 คาจากัดความ
 ผลงานที่เป็นประโยนช์ต่อสังคมหรือท้องถิ่น ที่เกิดขึ้นโดยใช้ความ
เชี่ยวชาญในสาขาวิชาอย่างน้อยหนึ่งสาขาวิชา และปรากฏผลที่
สามารถประเมินได้เป็นรูปธรรม โดยประจักษ์ต่อสาธารณะ
2.1 คาจากัดความ [ต่อ]
 ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมนี้ต้องเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ในทางที่ดีขึ้นทางด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้านเกี่ยวกับชุมชน วิถี
ชีวิต ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม อาชีพ เศรษฐกิจ การเมืองการ
ปกครอง คุณภาพชีวิต หรือสุขภาพ หรือเป็นผลงานที่นาไปสู่การจด
ทะเบียนสิทธิบัตรหรือทรัพย์สินทางปัญญาในรูปแบบอื่นที่สามารถ
แสดงได้เป็นที่ประจักษ์ว่าสามารถใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนาสังคม และ
ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างชัดเจน หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงในความ
ตระหนักและการรับรู้ปัญหาและแนวทางแก้ไขของชุมชน ทั้งนี้ไม่นับ
รวมงานที่แสวงหากาไรและได้รับผลตอบแทนส่วนบุคคลในเชิงธุรกิจ
2.2 รูปแบบ
 จัดทาเป็นเอกสาร โดยมีคาอธิบาย/ชี้แจงโดยชัดเจนประกอบผลงาน
นั้น เพื่อชี้ให้เห็นว่าเป็นผลงานที่ทาให้เกิดการพัฒนาเป็นประโยชน์ต่อ
สังคม มีความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น และเกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ
หรือเสริมสร้างความรู้หรือก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาหนึ่งๆ
หรือหลายสาขาวิชาได้อย่างไร ในแง่ใด โดยต้องปรากฏเป็นที่
ประจักษ์ในประเด็นต่อไปนี้
2.2 รูปแบบ [ต่อ]
 สภาพการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
 การมีส่วนร่วมและการยอมรับของสังคมเป้าหมาย
 กระบวนการที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
 ความรู้หรือความเชี่ยวชาญที่ใช้ในการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น
 การคาดการณ์สิ่งที่จะตามมาหลังจากการเปลี่ยนแปลงได้เกิดขึ้นแล้ว
 การประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
 แนวทางการติดตามและธารงรักษาพัฒนาการที่เกิดขึ้นให้คงอยู่ต่อไป
ทั้งนี้ นอกจากเอกสารแสดงผลงานดังกล่าวข้างต้น อาจแสดงหลักฐาน
เพิ่มเติมอื่นๆ เกี่ยวกับผลงาน เช่น รูปภาพ หรือการบันทึกภาพยนตร์ หรือ
แถบเสียง หรือวิดีทัศน์ ประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้
2.3 การเผยแพร่
 ให้มีการเผยแพร่โดยการจัดเวทีนาเสนอผลงานในพื้นที่หรือการเปิด
ให้เยี่ยมชมพื้นที่ และจะต้องมีการเผยแพร่สูสาธารณชนอย่าง
กว้างขวางในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สอดคล้องกับผลงาน โดยการ
เผยแพร่นั้นจะต้องมีการบันทึกเป็นเอกสารหรือเป็นลายลักษณ์อักษร
ที่สามารถใช้อ้างอิง หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
2.4 ระดับคุณภาพ
 ระดับดี มีการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศที่ชัดเจน มีการระบุปัญหาหรือความ
ต้องการโดยการมีส่วนร่วมของสังคมกลุ่มเป้าหมาย มีการวิเคราะห์หรือ
สังเคราะห์ความรู้ที่สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น หรือทาความเข้าใจ
สถานการณ์ จนเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นอย่างเป็นที่ประจักษ์ หรือ
ก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนหรือสังคมนั้น
 ระดับดีมาก ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดี และต้องสามารถนาไปใช้เป็น
ตัวอย่างในการแก้ไขปัญหาหรือทาความเข้าใจสถานการณ์ จนเกิดการ
เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นอย่างเป็นที่ประจักษ์หรือก่อให้เกิดการพัฒนาให้กับ
สังคมอื่นได้ หรือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในระดับจังหวัดหรือ
ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
 ระดับดีเด่น ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดีมาก และต้องส่งผลกระทบต่อสังคม
หรือแวดวงวิชาการอย่างกว้างขวาง เป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือระดับ
นานาชาติ หรือได้รับรางวัลจากองค์กรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
เช่น UNESCO WHO UNICEF เป็นต้น
คาแนะนา: การเสนอผลงานทางวิชาการ
 ผู้ขอไม่ควรส่งผลงานทั้งหมดที่ตนเองมี แต่ควรคัดเลือก
เฉพาะผลงานทางวิชาการของตนเองที่เด่นเท่านั้น
 ถ้าผู้ขอแน่ใจว่าผลงานทางวิชาการมีคุณภาพดี สามารถ
เสนออย่างละ 1 เรื่องก็ได้
วิธีการแต่งตั้ง
และกระบวนการขอตาแหน่งทางวิชาการ
หัวข้อที่ 5
วิธีการแต่งตั้ง
มี 2 วิธี
1. โดยวิธีปกติ
2. โดยวิธีพิเศษ
ผู้ที่สนใจ...ต้องทาอะไรบ้าง?...
1.
ผู้ขอส่งบันทึกข้อความ,
แบบฟอร์ม,แบบรับรอง,
ผลงานทางวิชาการ (1 ชุด)
2.
ยื่นเอกสารและหลักฐานที่
สานักงานบุคคล
3.
ตรวจสอบความถูกต้อง
และความครบถ้วนของ
เอกสารและหลักฐาน
4.
ครบถ้วน รับเรื่อง
ไม่ครบถ้วน ส่งแก้
5.
คณะกรรมการกลั่นกรองฯ
เสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่ออ่าน
ผลงานและคณะอนุกรรมการ
ประเมินผลการสอน
6.
คณะกรรมการพิจารณาฯ
แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเพื่ออ่าน
ผลงานและคณะอนุกรรมการ
ประเมินผลการสอน
7.
คณะกรรมการฯ พิจารณา
ผลการประเมินของ
ผู้ทรงคุณวุฒิฯ
8.
ผ่าน เข้าสภามหาวิทยาลัย
ไม่ผ่าน เริ่มขั้นตอน 1 ใหม่
9.
อธิการบดี
ออกคาสั่งแต่งตั้ง และ
แจ้ง สกอ.ภายใน 30 วัน
คาถาม-คาตอบ
[Q & A]
หัวข้อที่ 6
คาถาม-คาตอบ
คาถามที่ 1. “ตารา” เหมาะสมที่จะนามาใช้เพื่อเสนอขอกาหนด
ตาแหน่ง “ผศ.” หรือ “รศ.”
คาตอบ รศ. เพราะการทาตาราที่มีคุณภาพต้องใช้ระยะเวลา
(แต่สามารถนามาเสนอขอ ผศ. ได้)
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 2. การขอ ผศ. ใช้ “เอกสารประกอบการสอน” หรือ
“เอกสารคาสอน” และต้องเสนอกี่วิชา
คาตอบ เอกสารประกอบการสอน จานวน 1 วิชา และใช้สอน
มาแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา และไม่จาเป็นต้องมีผู้ทรงคุณวุฒิ
ประเมินก่อน (เอกสารประกอบการสอนไม่ใช่ผลงานทางวิชาการ แต่
นามาใช้เพื่อประกอบการประเมินผลการสอน)
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 3. การเสนอผลงานวิจัยในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขแตกต่าง
กันหรือไม่ อย่างไร
คาตอบ แตกต่างกัน สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะเสนอ
เฉพาะ “บทความวิจัย” ที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้วแทนงานวิจัย 1 เรื่อง แต่ใน
สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จะต้องเสนอทั้ง “ตัวเล่มวิจัย” และ
“บทความวิจัย” ที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว จึงจะนับเป็นงานวิจัย 1 เรื่อง
เนื่องจากผู้ทรงคุณวุฒิต้องการดูระเบียบวิธีวิจัย
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 4. ในการขอกาหนดตาแหน่ง ผศ. ต้องยื่นผลงานทางวิชาการ
(ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ผลงานวิชาการรับใช้
สังคม ตารา หนังสือ บทความทางวิชาการ) กี่เรื่อง
คาตอบ อย่างน้อย 1 เรื่องที่มีคุณภาพดี ที่แสดงว่าท่านเป็นผู้มี
ความชานาญหรือเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น โดยให้พิจารณาว่า
“คุณภาพของงานสาคัญกว่าปริมาณ”
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 5. หากไม่มี “บทความทางวิชาการ” สามารถใช้ “หนังสือ”
หรือ “ตารา” แทนได้หรือไม่ในการขอตาแหน่ง “ผศ.”
คาตอบ ได้ ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ฯ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556
กาหนดไว้ว่า การขอตาแหน่ง ผศ. ผู้ขอจะต้องเสนอ
(1) ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทาง
วิชาการในลักษณะอื่น หรือ ตารา หรือ หนังสือ หรือ บทความทาง
วิชาการ (คุณภาพดี)
(2) เอกสารประกอบการสอน 1 เล่ม
(โดยปกติควรจะเสนอบทความทางวิชาการ เนื่องจากทาได้รวดเร็วกว่า)
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 6. ผลงานทางวิชาการ ที่ผู้ขอมีส่วนร่วมในงานไม่ถึง 50% ใช้
ยื่นขอตาแหน่ง ผศ. ได้หรือไม่
คาตอบ ถ้ามีผลงานทางวิชาการเพียง 1 เรื่อง และมีส่วนร่วมใน
งานไม่ถึง 50% จะนามาใช้ยื่นขอตาแหน่ง ผศ. ไม่ได้ ปริมาณงานของ
ผลงานทางวิชาการที่จะใช้ขอตาแหน่ง ผศ. รวมแล้วต้องมากกว่า 50%
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 7. ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่งานวิจัย (ตารา/หนังสือ/
บทความทางวิชาการ) ที่ผู้ขอมีส่วนร่วมในงานไม่ถึง 50% ใช้ยื่นขอ
ตาแหน่งได้หรือไม่
คาตอบ ไม่ได้ เพราะตามหลักเกณฑ์ระบุไว้ว่า ผู้ขอจะต้องมีส่วน
ร่วมไม่น้อยกว่า 50% และต้องเป็นผู้ดาเนินการหลักในเรื่องนั้น
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 8. ผลงานทางวิชาการประเภท “หนังสือแปล” สามารถ
นามาใช้ทดแทน “บทความทางวิชาการ” หรือ “ตารา” เพื่อขอตาแหน่ง
ผศ. ได้หรือไม่
คาตอบ ไม่ได้ เพราะการแปลถือว่าเป็นการใช้ความสามารถทาง
ภาษา ไม่ใช่ความสามารถทางวิชาการ และตามคาจากัดความที่อยู่ใน
ระเบียบและหลักเกณฑ์ฯ ระบุว่า “งานแปล” จัดเป็น “ผลงานทาง
วิชาการในลักษณะอื่น” ซึ่งเทียบเท่า “ผลงานวิจัย”
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 9. หากผู้ขอไปช่วยเขียนบางหน่วยหรือบางบทของตาราบาง
เล่ม เช่น ตาราของ มสธ. หรือ มร. เป็นต้น จะนามาใช้ยื่นขอตาแหน่ง
ผศ. ได้หรือไม่
คาตอบ ไม่ได้ เพราะถ้าจะนับเป็น “ตารา” 1 เล่ม สกอ. กาหนดว่า
จะต้องมีอย่างน้อย 5 หน่วย หรือ 5 บท ซึ่งเขียนในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน อาจจะอยู่ในเล่มเดียวกันหรือต่างเล่มกันก็ได้
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 10. บทความทางวิชาการ ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ใน
“หนังสือรวมบทความ” สามารถนามาใช้ขอตาแหน่ง ผศ. ได้หรือไม่
คาตอบ ได้ ถ้ามีกระบวนการ Peer Review เพื่อตรวจสอบ
คุณภาพของบทความก่อนการตีพิมพ์
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 11. ผลการวิจัยที่นาเสนอในการประชุมวิชาการ และ
Proceedings ตีพิมพ์เฉพาะบทคัดย่อ (Abstract) สามารถนามายื่นขอ
ผศ. ได้หรือไม่
คาตอบ ไม่ได้ เพราะผู้ทรงคุณวุฒิ (Readers) ไม่สามารถประเมิน
คุณภาพได้ จะต้องเป็น Proceedings ที่ตีพิมพ์ Full Paper เท่านั้น ซึ่ง
อาจจะอยู่ในรูป CD ก็ได้
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 12. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น เช่น สิ่งประดิษฐ์ งาน
สร้างสรรค์ เป็นต้น สามารถนามาใช้ทดแทน “ผลงานวิจัย” ได้หรือไม่
คาตอบ ได้ เพราะระเบียบและหลักเกณฑ์ฯ ระบุไว้ว่า ผู้ขอ
ตาแหน่ง ผศ. จะต้องเสนอ “ผลงานวิจัย” หรือ “ผลงานวิชาการรับใช้
สังคม” หรือ “ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น” (ดูนิยามในภาคผนวก)
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 13. หากมีเฉพาะหนังสือตอบรับ (Acceptance letter) เพื่อ
ตีพิมพ์บทความวิจัย/บทความวิชาการในวารสารวิชาการระดับชาติ/
นานาชาติ สามารถนามายื่นขอตาแหน่ง ผศ. ได้หรือไม่
คาตอบ ไม่ได้ ผู้ขอควรรอให้บทความวิจัย/บทความวิชาการได้รับ
การตีพิมพ์เผยแพร่ก่อน เนื่องจากในบางกรณี บทความวิจัย/บทความ
วิชาการในวารสารบางเล่ม ไม่ได้รับการตีพิมพ์ในฉบับที่ระบุไว้ในหนังสือ
ตอบรับ หรือตีพิมพ์ล่าช้า หรือกองบรรณาธิการวารสารปิดทาการ
ชั่วคราว ทาให้ไม่ทราบกาหนดที่แน่นอนว่าบทความวิจัย/บทความ
วิชาการจะได้รับการตีพิมพ์เมื่อใด
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 14. การยื่นผลงานทางวิชาการเพื่อขอกาหนดตาแหน่ง ผศ.
รศ. หรือ ศ. สามารถยื่นได้ที่ใด
คาตอบ ยื่นที่คณะและดาเนินการตามขั้นตอน
(หน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ สานักงานบุคคล)
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 15. การยื่นผลงานทางวิชาการเพื่อขอตาแหน่ง ผศ. รศ. หรือ
ศ. สามารถยื่นได้ในช่วงเวลาใดบ้าง
คาตอบ ยื่นได้ทั้งปีที่คณะ ในวันและเวลาทาการ
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 16. เจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุนที่มีผลงานทางวิชาการ เช่น
ผลงานวิจัย หนังสือ บทความวิจัย บทความวิชาการ เป็นต้น สามารถขอ
ตาแหน่งทางวิชาการได้หรือไม่
คาตอบ ไม่ได้ ผู้ที่สามารถยื่นขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการได้
จะต้องได้รับการบรรจุแต่งตั้งในตาแหน่ง “อาจารย์” [ดูคาสั่งแต่งตั้ง]
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 17. หากอายุงานไม่ถึงตามระเบียบหลักเกณฑ์ฯ แต่มีผลงาน
ทางวิชาการ สามารถยื่นขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการได้ทันทีหรือไม่
คาตอบ สามารถทาได้โดยวิธีพิเศษ แต่ไม่แนะนาเพราะต้องแต่งตั้ง
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทาหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการและ
จรรยาบรรณาทางวิชาการ [Readers] จานวน 5 คน
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 18. สาขาวิชาที่ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ จาเป็นต้องมี
เปิดสอนในมหาวิทยาลัยหรือไม่
คาตอบ ไม่จาเป็น ขึ้นอยู่กับผลงานทางวิชาการนามาเสนอเพื่อ
ขอรับการพิจารณาว่าอยู่ในสาขาวิชาใด เช่น
1. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา
2. สาขาวิชาคณิตศาสตร์
3. สาขาวิชาวิจัยการศึกษา
เป็นต้น
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 19. สาขาวิชาที่ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ ควรจะกาหนด
เป็นสาขาวิชากว้างๆ หรือเฉพาะเจาะจง
คาตอบ ผู้ขอควรระบุ “สาขาวิชา” ที่ขอให้ชัดเจนเพื่อแสดงถึง
ความเชี่ยวชาญหรือความชานาญเฉพาะด้าน เช่น
1. ไม่ควรระบุว่า “สาขาวิชาบริหารธุรกิจ” แต่ควรระบุว่า
“สาขาวิชาการจัดการ” หรือ “สาขาวิชาการตลาด” ฯลฯ
2. ไม่ควรระบุว่า “สาขาวิศวกรรมศาสตร์” แต่ควรระบุว่า
“สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า” หรือ “สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล” ฯลฯ
เป็นต้น
*ยกเว้นบางสาขาวิชาที่ไม่มีวิชาเอก เช่น สาขาวิชานิติศาสตร์ เป็นต้น
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 20. สาขาวิชาที่ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ จาเป็นต้อง
เป็นสาขาวิชาที่เปิดสอนในคณะหรือไม่
คาตอบ ไม่จาเป็น ยกตัวอย่างเช่น
นายคนเก่ง ทางานดี ถูกแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ประจาคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ แต่มีความสนใจในพระพุทธศาสนา โดยมีผลงานทาง
วิชาการทางด้านพระพุทธศาสนาจานวนมาก ดังนั้น…
นายคนเก่ง ทางานดี สามารถยื่นขอกาหนดตาแหน่งทาง
วิชาการใน “สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา” ได้ แต่ต้องมี “วิชาที่สอน” ที่
เกี่ยวข้องกับปรัชญาและศาสนา ด้วย เป็นต้น
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 21. ผู้ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ สามารถเสนอชื่อ หรือ
ขอทราบรายชื่อคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทาหน้าที่ประเมินผลงาน
ทางวิชาการและจรรยาบรรณาและจริยธรรมทางวิชาการ (Readers)
ได้หรือไม่
คาตอบ ไม่ได้ ทุกกระบวนการเป็น “ความลับ”
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 22. ผู้ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ สามารถใช้ ผศ. รศ. ศ.
นาหน้าชื่อได้ตั้งแต่เมื่อใด และนับตั้งแต่วันที่เท่าใด
คาตอบ 1. การใช้ ผศ. รศ. หรือ ศ. นาหน้าชื่อสามารถใช้ได้ตั้งแต่
วันที่มหาวิทยาลัยมีคาสั่งแต่งตั้ง
2. การนับเวลาการดารงตาแหน่ง ผศ. รศ. หรือ ศ. ให้
นับตั้งแต่วันที่มหาวิทยาลัยรับเรื่อง
หมายเหตุ
หลังจากที่มหาวิทยาลัยมีคาสั่งแต่งตั้งแล้ว จะดาเนินการแจ้ง สกอ. ภายใน
30 วัน หลังจากนั้น สกอ. จะมีหนังสือถึงมหาวิทยาลัยแจ้งการรับทราบ
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 23. ผู้ขอจะหา “แบบคาขอรับการพิจารณากาหนดตาแหน่ง
ทางวิชาการ” หรือเอกสารอื่นๆ ได้ที่ใด
คาตอบ ผู้ขอสามารถ Download แบบฟอร์ม ระเบียบและ
หลักเกณฑ์ฯ (ล่าสุด) และเอกสารที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้ที่เว็บไซต์ของ
สานักงานบุคคล หรือศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย
คาถาม-คาตอบ [ต่อ]
คาถามที่ 24. หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ เช่น ระเบียบหลักเกณฑ์
การขอตาแหน่งทางวิชาการ บัญชีรายชื่อ Readers หนังสือเวียนจาก
สกอ. เรื่อง ตาแหน่งทางวิชาการ เป็นต้น สามารถหาได้จากที่ใด
คาตอบ เข้าไปที่เว็บไซต์ “สานักส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร”
ของ สกอ. โดยเข้าไปที่ http://basd.mua.go.th
ผู้ประสานงาน:
1. สานักงานบุคคล
คุณสุปรียา สังข์ทอง [เอี้ยง]
โทรศัพท์: 02-579-1111 # 1200
อีเมล์: supreeya.sa@spu.ac.th
2.ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย
ผศ. ดร. สุบิน ยุระรัช [บิน]
โทรศัพท์: 02-579-1111 # 1155
อีเมล์: subin.yu@spu.ac.th
Q & A for QA

More Related Content

What's hot

โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยpanadda kingkaew
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
แผนการสอน CBI
แผนการสอน CBIแผนการสอน CBI
แผนการสอน CBISuccess SC Slac
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันRoiyan111
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นChamp Woy
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...Totsaporn Inthanin
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
ทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของวัตสันทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของวัตสันhoossanee
 
รายงานเชิงวิชาการ ประวัติเขากระโดง
รายงานเชิงวิชาการ ประวัติเขากระโดงรายงานเชิงวิชาการ ประวัติเขากระโดง
รายงานเชิงวิชาการ ประวัติเขากระโดงkongdech
 

What's hot (20)

๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
แผนการสอน CBI
แผนการสอน CBIแผนการสอน CBI
แผนการสอน CBI
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
ทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของวัตสันทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของวัตสัน
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
รายงานเชิงวิชาการ ประวัติเขากระโดง
รายงานเชิงวิชาการ ประวัติเขากระโดงรายงานเชิงวิชาการ ประวัติเขากระโดง
รายงานเชิงวิชาการ ประวัติเขากระโดง
 

Similar to การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

Lectures14-6-65.pdf
Lectures14-6-65.pdfLectures14-6-65.pdf
Lectures14-6-65.pdfssuser2a839e
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์Maewmeow Srichan
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาPuripat Piriyasatit
 
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการdtammanoon
 
Test Upload from PHP 04.
Test Upload from PHP 04.Test Upload from PHP 04.
Test Upload from PHP 04.dtammanoon
 
Test Upload from PHP 03.
Test Upload from PHP 03.Test Upload from PHP 03.
Test Upload from PHP 03.dtammanoon
 

Similar to การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ (10)

Lectures14-6-65.pdf
Lectures14-6-65.pdfLectures14-6-65.pdf
Lectures14-6-65.pdf
 
Academic position
Academic positionAcademic position
Academic position
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
ชำนาญการพนักงานมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
 
Test Upload from PHP 04.
Test Upload from PHP 04.Test Upload from PHP 04.
Test Upload from PHP 04.
 
Test Upload from PHP 03.
Test Upload from PHP 03.Test Upload from PHP 03.
Test Upload from PHP 03.
 
เทคนิคการทำ Portfolio
เทคนิคการทำ Portfolioเทคนิคการทำ Portfolio
เทคนิคการทำ Portfolio
 
เทคนิคการทำ Portfolio
เทคนิคการทำ Portfolioเทคนิคการทำ Portfolio
เทคนิคการทำ Portfolio
 

More from Teaching & Learning Support and Development Center

สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1Teaching & Learning Support and Development Center
 
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Worksการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning WorksTeaching & Learning Support and Development Center
 
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teaching & Learning Support and Development Center
 
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯการจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯTeaching & Learning Support and Development Center
 
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพการพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพTeaching & Learning Support and Development Center
 
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติTeaching & Learning Support and Development Center
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปTeaching & Learning Support and Development Center
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการTeaching & Learning Support and Development Center
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring RubricsTeaching & Learning Support and Development Center
 
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาการบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาTeaching & Learning Support and Development Center
 

More from Teaching & Learning Support and Development Center (13)

สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
 
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Worksการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 How Learning Works
 
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการรวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
 
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯการจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
 
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพการพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
 
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork rameworkKMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาการบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา
 

การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

  • 1. การเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ A Pathway to an Academic Position จะทาอย่างไร อยากได้ ผศ.? ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุบิน ยุระรัช Email/Facebook: subin.yu@spu.ac.th, drsubin@hotmail.com Mobile: 085-075-2007 Phone: 02-579-1111 ext. 1155, 3051
  • 2. อาจารย์  ทาวิจัย  Sig. [ผศ. รศ. ศ.] อาจารย์  ไม่ทาวิจัย  Sick
  • 4. ที่มา: สกว. (http://elibrary.trf.or.th/) “การวิจัยจะรุ่งเรืองมิได้ ถ้าสังคมไทย ไม่ให้คุณค่าและเคารพต่อความคิดริเริ่ม ต้องไม่มีการล่วงละเมิด ลอกเลียน หรือ อ้างว่าเป็นของตน”
  • 5. 1. ข้อมูลผู้ดารงตาแหน่งทางวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2. คุณสมบัติของผู้เสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ 3. หลักเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ [NEW] 4. ผลการสอนและผลงานทางวิชาการ 5. วิธีการแต่งตั้งและกระบวนการขอตาแหน่งทางวิชาการ 6. คาถาม-คาตอบ [Q & A] หัวข้อการนาเสนอ
  • 7. ผศ. รศ. ศ @ SPU 73 คน (23.25%) จานวนอาจารย์ประจา ข้อมูล ณ วันที่ 6 มี.ค. 2558 ที่ อาจารย์ประจา จานวน (คน) ร้อยละ 1 ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ 314 100 2 อนุปริญญา 1 0.32 3 มีวุฒิปริญญาตรี หรือเทียบเท่า 27 8.60 4 มีวุฒิปริญญาโท หรือเทียบเท่า 214 68.15 5 มีวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า 72 22.93 6 ไม่มีตาแหน่งทางวิชาการ (อ.) 241 76.75 7 มีตาแหน่ง ผศ. 65 20.70 8 มีตาแหน่ง รศ. 7 2.23 9 มีตาแหน่ง ศ. 1 0.32
  • 8. ผศ. รศ. ศ @ SPU [รายคณะ] ที่ คณะ/วิทยาลัย/สานักวิชา อาจารย์ ผศ. รศ. ศ. รวม % 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ 26 8 0 0 34 10.83 2 นิติศาสตร์ 16 4 0 1 21 6.69 3 นิเทศศาสตร์ 17 4 0 0 21 6.69 4 บริหารธุรกิจ 31 4 1 0 36 11.46 5 บัญชี 13 2 0 0 15 4.78 6 วิศวกรรมศาสตร์ 31 18 3 0 52 16.56
  • 9. ผศ. รศ. ศ @ SPU [รายคณะ] ที่ คณะ/วิทยาลัย/สานักวิชา อาจารย์ ผศ. รศ. ศ. รวม % 7 ศิลปศาสตร์ 28 2 0 0 30 9.55 8 สถาปัตยกรรมศาสตร์ 18 4 0 0 22 7.01 9 ดิจิทัลมีเดีย 17 0 1 0 18 5.73 10 ศึกษาทั่วไป 9 11 0 0 20 6.37 11 บัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ 7 7 2 0 16 5.10 12 นานาชาติ 10 0 0 0 10 3.18 13 สถาบันภาษาและวัฒนธรรม 18 1 0 0 19 6.05 รวม 241 65 7 1 314 100
  • 11. คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง มี 2 ข้อ คือ (1) คุณวุฒิ และ (2) ระยะเวลาการเป็นอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์, ผศ. จบ ป.ตรี/เทียบเท่า และต้องเป็นอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 9 ปี จบ ป.โท/เทียบเท่า และต้องเป็นอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี จบ ป.เอก/เทียบเท่า และต้องเป็นอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี รองศาสตราจารย์, รศ. เป็น ผศ. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ศาสตราจารย์, ศ. เป็น รศ. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
  • 12. การนับเวลา (ระยะเวลาการบรรจุเป็นอาจารย์ประจา) 1. ถ้าเคยเป็นอาจารย์ประจาในสถาบันอุดมศึกษาอื่นมาก่อน นับ ได้เต็มเวลา จะต้องมีหนังสือรับรองการทางานจากสถาบันอุดมศึกษาเดิม มายืนยัน 2. ถ้าเคยเป็นอาจารย์พิเศษในสถาบันอุดมศึกษา และสอนประจา วิชาไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต/ทวิภาค อาจนาเวลาที่สอนมาคานวณเทียบ ได้ 3/4 ของเวลาที่สอน 3. ถ้าได้รับวุฒิสูงขึ้น ให้นับเวลาได้ทั้งก่อนและหลังได้รับวุฒิ
  • 13. ตัวอย่าง วิธีการคานวณเวลาในการปฏิบัติงาน (กรณีมีวุฒิปริญญาโทอยู่ก่อนแล้ว และลาศึกษาต่อปริญญาเอก) ตัวอย่าง อาจารย์ ก. จบปริญญาโท และเป็นอาจารย์มาแล้ว 3 ปี 4 เดือน หลังจากนั้นได้รับทุนไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอก หลังจากที่เรียนจบแล้วและ กลับมาทางานต่อ อาจารย์ ก. จะต้องทางานหลังจบปริญญาเอกเป็นเวลานาน เท่าใดจึงจะมีสิทธิ์ยื่นขอตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1. คานวณจานวนเดือนที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์ (วุฒิปริญญาโท) 3 ปี 4 เดือน = 40 เดือน 2. ระยะเวลาตามสิทธิ์ของผู้จบปริญญาโทในการขอตาแหน่ง ผศ. คือ 5 ปี (หรือ 60 เดือน) เพราะฉะนั้นยังขาดเวลาตามสิทธิ์อยู่ 60-40=20 เดือน คิดเป็น สัดส่วนของสิทธิ์ที่ขาดเท่ากับ 20/60=1/3 3. สิทธิ์ในการขอตาแหน่ง ผศ. หลังจากจบปริญญาเอก คือ 2 ปี (24 เดือน) เพราะฉะนั้น เวลาที่ต้องทางานหลังจากจบปริญญาเอกเพื่อให้ได้สิทธิ์ ในการขอตาแหน่ง ผศ. คือ 24 x 1/3= 8 เดือน
  • 14. หมายเหตุ: การขอตาแหน่งทางวิชาการ โดยวิธีพิเศษ การขอตาแหน่งทางวิชาการ โดยวิธีพิเศษ หมายถึง ผู้ขอมี คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งต่างไปจากที่กาหนดในมาตรฐาน เช่น ระยะเวลาการเป็นอาจารย์ไม่ครบตามหลักเกณฑ์ เป็นต้น โดยให้ผู้ขอ เสนอผลงานทางวิชาการและให้ดาเนินการตามวิธีการเช่นเดียวกับการ แต่งตั้งโดยวิธีปกติโดยอนุโลม แต่มีเงื่อนไข คือ 1. ให้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน พิจารณา ผลงานทางวิชาการและจริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ 2. การตัดสินของที่ประชุมต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 เสียง 3. ผลงานทางวิชาการต้องมีคุณภาพในระดับดีมาก
  • 15. การรับรองตนเองด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ 1. มีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ไม่เคยนาผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงาน ของตนและไม่เคยลอกเลียนผลงานของผู้อื่น รวมทั้งไม่เคยนาผลงานของตนเองใน เรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการมากกว่าหนึ่งฉบับ ในลักษณะที่จะทาให้ เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ 2. ให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นามาใช้ในผลงาน ทางวิชาการของตนเองและแสดงหลักฐานของการค้นคว้าไว้อย่างชัดเจน 3. ไม่เคยละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นและสิทธิมนุษยชน เพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานทางวิชาการ 4. ศึกษาโดยใช้หลักวิชาการเป็นเกณฑ์ ไม่มีอคติมาเกี่ยวข้องและเสนอ ผลงานตามความเป็นจริง ข้าพเจ้าไม่เคยจงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัยโดยหวัง ผลประโยชน์ส่วนตัว หรือไม่เคยสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น และเสนอผลงานตาม ความเป็นจริง ไม่ขยายข้อค้นพบโดยปราศจากการตรวจสอบยืนยันในทางวิชาการ 5. ได้นาผลงานไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบธรรมและชอบด้วยกฎหมาย
  • 16. ลงนามรับรอง และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด  ผู้ขอต้องลงนามรับรองตนเองด้านจริยธรรมและ จรรยาบรรณทางวิชาการ  ผู้ขอต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เพราะมิฉะนั้นจะ นาไปสู่การผิดวินัยอย่างร้ายแรง  ผลงานวิทยานิพนธ์….ไม่สามารถนามาใช้ได้
  • 19. สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 1. ยกเลิก 7.1.3 ในฉบับที่ 3 (2550) (ผลงานทางวิชาการ ผศ.) การขอตาแหน่ง ผศ. ตามระเบียบ กกอ. ฉบับที่ 5 (2556) ผลงานที่นามาเสนอ คือ ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น หรือ ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตารา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ หมายเหตุ ผลงานทุกประเภทมีคุณภาพอยู่ในระดับ “ดี”
  • 20. สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ] 2. ยกเลิก 7.1.3 ในฉบับที่ 3 (2550) (ผลงานทางวิชาการ รศ.) การขอตาแหน่ง รศ. ตามระเบียบ กกอ. ฉบับที่ 5 (2556) ผลงานที่นามาเสนอ คือ ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น และ ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตารา หรือหนังสือ หมายเหตุ 1. ผลงานทุกประเภทมีคุณภาพอยู่ในระดับ “ดี” 2. ไม่จาเป็นต้องใช้ “บทความทางวิชาการ”
  • 21. สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ] 3. ยกเลิก 7.3.3 ในฉบับที่ 3 (2550) (ผลงานทางวิชาการ ศ.) แบบที่ 1 ผลงานที่นามาเสนอ คือ ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น และ ผลงานแต่งตารา หรือหนังสือ หมายเหตุ ผลงานทุกประเภทมีคุณภาพอยู่ในระดับ “ดีมาก” แบบที่ 2 ผลงานที่นามาเสนอ คือ ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น หรือ ผลงานแต่งตารา หรือหนังสือ หมายเหตุ ผลงานทุกประเภทมีคุณภาพอยู่ในระดับ “ดีเด่น”
  • 22. สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ] 4. ยกเลิกข้อความใน 8.1.3 ในฉบับที่ 3 (2550) และแก้ไข เพิ่มเติมในฉบับที่ 4 (2552) และให้ใช้ข้อความนี้แทน “ในกรณีการพิจารณาผลงานทางวิชาการของกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทาหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการและจริยธรรมและ จรรยาบรรณทางวิชาการ ตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์และรอง ศาสตราจารย์ ที่มีผลการประเมินเป็นเอกฉันท์ ว่าคุณภาพของผลงาน ทางวิชาการของผู้กาหนดตาแหน่งอยู่ในเกณฑ์หรือไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ คณะกรรมการกาหนดนั้น สภาสถาบันอาจกาหนดการยกเว้นการประชุม ไว้ในข้อบังคับของสภาสถาบัน โดยให้ถือเอาผลการประเมินดังกล่าวเป็น ผลการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทาหน้าที่ประเมินผล งานทางวิชาการและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการก็ได้”
  • 23. สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ] 5. ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคหก ในข้อ 8.1.3 (ผศ.) และ 8.2.3 (รศ.) ตามระเบียบ กกอ. ฉบับที่ 3 (2550) ดังนี้ “สภาสถาบันอาจกาหนดไว้ในข้อบังคับของสภาสถาบันให้ แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชน หรือผู้ที่ปฏิบัติงานร่วมกับชุมชนที่ มีความรู้หรือความเชี่ยวชาญเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เสนอขอ ทาหน้าที่เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคแรก เพิ่มเติมได้ อีก 2 คน ในกรณีที่ผู้ขอเสนอผลงานทางวิชาการรับใช้สังคม โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการก่อน ดาเนินการแต่งตั้ง”
  • 24. สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ] 6. ให้ยกเลิกแบบคาขอฯ แบบเสนอแต่งตั้งฯ และคาจากัด ความของผลงานทางวิชาการ ลักษณะการเผยแพร่และผลงาน ทางวิชาการที่จาแนกตามระดับคุณภาพของบทความทาง วิชาการ ตามเอกสารแนบท้ายระเบียบ กกอ. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2550 และให้ใช้ตามที่กาหนดไว้ท้ายระเบียบนี้แทน
  • 25. สาระสาคัญของฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 [ต่อ] 7. คาจากัดความ ลักษณะการเผยแพร่และผลงานทางวิชาการ ที่จาแนกตามระดับคุณภาพของผลงานวิชาการรับใช้สังคม ลักษณะการมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการรับใช้สังคม และ แนวทางการประเมินผลงานวิชาการรับใช้สังคม ให้เป็นไป ตามที่กาหนดไว้ท้ายระเบียบนี้
  • 26. ข้อมูลและรายละเอียดการขอตาแหน่งทางวิชาการ เว็บไซต์ สานักงานบุคคล http://www.spu.ac.th/hr/about/service เว็บไซต์ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย http://www.spu.ac.th/research/service 1. แบบคาขอรับการพิจารณากาหนดตาแหน่งทางวิชาการ 2. ระเบียบ กกอ. ว่าด้วยมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งคณาจารย์ใน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ดารงแหน่งทางวิชาการ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 3. แบบฟอร์ม (สายมนุษย์ฯ และสายวิทย์ฯ) และตัวอย่าง 4. กระบวนการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ 5. คู่มือการขอตาแหน่ง ผศ. [ยังไม่ได้ upload] 6. เอกสารอื่นๆ
  • 28. ผลการสอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มีชั่วโมงสอน มีความชานาญในการสอน มี “เอกสารประกอบการสอน”ไม่ น้อยกว่า 1 รายวิชา ที่มีคุณภาพดี ผ่านการประเมินโดยคณะกรรมการของสถาบัน รองศาสตราจารย์ มีชั่วโมงสอน มีความชานาญพิเศษในการสอน มี “เอกสารคาสอน” ไม่ น้อยกว่า 1 รายวิชา ที่มีคุณภาพดี ผ่านการประเมินโดยคณะกรรมการของสถาบัน ศาสตราจารย์ มีชั่วโมงสอน มีความเชี่ยวชาญในการสอน ผ่านการประเมินโดย คณะกรรมการของสถาบัน (ไม่ได้กล่าวถึงเอกสารหรือสื่อการสอนอื่นใด) *คณะกรรมการของสถาบัน = คณะอนุกรรมการประเมินผลการสอน
  • 30. ผลการสอน....ผลงาน 3 แบบ? เอกสารประกอบการสอน เอกสารคาสอน ตารา หมายถึง เอกสารหรือ สื่ออื่นๆ ที่ใช้ ประกอบการสอนวิชา ใดวิชาหนึ่งตาม หลักสูตรของ มหาวิทยาลัยที่สะท้อน ให้เห็นเนื้อหาวิชาและ วิธีการสอนอย่างเป็น ระบบ หมายถึง เอกสาร คาบรรยาย หรือสื่อ อื่นๆ ที่ใช้สอนวิชาใด วิชาหนึ่งตามหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยที่ สะท้อนให้เห็น เนื้อหาวิชาและวิธีการ สอนอย่างเป็นระบบ และมีความสมบูรณ์ กว่าเอกสาร ประกอบการสอน หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่ เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ อาจ เขียนเพื่อตอบสนองเนื้อหา ทั้งหมดของรายวิชา หรือเป็นส่วน หนึ่งของวิชาหรือหลักสูตรก็ได้ โดยมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ความรู้ที่เกี่ยวข้อง พัฒนาจาก เอกสารคาสอนจนถึงระดับที่มี ความ สมบูรณ์ที่สุด แม้ว่าจะไม่ใช่ ผู้เรียนในวิชานั้น แต่สามารถอ่าน และทาความเข้าใจได้ด้วยตนเอง
  • 31. องค์ประกอบของเอกสารประกอบการสอน/คาสอน 1 มีโครงการสอน แผนการสอน และหัวข้อการสอนที่ครอบคลุมคาอธิบายรายวิชา  ผ่าน  ไม่ผ่าน 2 มีการเรียบเรียงเลขหน้าอย่างเป็นระบบตามหัวข้อ/สารบัญ  ผ่าน  ไม่ผ่าน 3 มีการพิสูจน์อักษร และเอกสารสามารถอ่านได้ทั้งภาพและตัวอักษร  ผ่าน  ไม่ผ่าน 4 มีการเผยแพร่และนาไปใช้มาแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา  ผ่าน  ไม่ผ่าน 5 มีบรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง  ผ่าน  ไม่ผ่าน
  • 32. คาแนะนา: การประเมินผลการสอน  ผู้เสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ จะต้องส่ง “ตารางสอน” และระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง เช่น วันและช่วงเวลาที่สอน ห้องเรียน อาคารเรียน และวัน สุดท้ายที่สอน เป็นต้น ให้สานักงานบุคคลทราบล่วงหน้า เพื่อจะได้ประสานงานคณะอนุกรรมการเข้าประเมินการ สอนได้ถูกต้อง
  • 33. ผลงานทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทางวิชาการใน ลักษณะอื่น หรือ ตารา หรือ หนังสือ หรือ บทความทางวิชาการ (คุณภาพดี) รองศาสตราจารย์ ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทางวิชาการใน ลักษณะอื่น และ ตารา หรือ หนังสือ (คุณภาพดี) ศาสตราจารย์ แบบที่ 1 ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทาง วิชาการในลักษณะอื่น และ ตารา หรือ หนังสือ (คุณภาพดีมาก) แบบที่ 2 ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทาง วิชาการในลักษณะอื่น หรือ ตารา หรือ หนังสือ (คุณภาพดีเด่น)
  • 34. ผลงานวิจัย  สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: เสนอเฉพาะบทความวิจัย  สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: เสนอตัวเล่ม และบทความวิจัย  บทความวิจัย จะต้องได้รับการเผยแพร่ใน 2 รูปแบบ คือ (1) Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ (2) วารสารวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ
  • 35. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น  เช่น สิ่งประดิษฐ์/ งานสร้างสรรค์/ งานแปล/ สารานุกรม  สาหรับ “หนังสือแปล” ถือเป็นงานแปลชนิดหนึ่ง เทียบเท่า ผลงานวิจัย [ไม่อยู่ในหมวด หนังสือ/ตารา]
  • 36. ตารา  สมบูรณ์มากกว่าเอกสารประกอบการสอน และเอกสารคาสอน  ผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ  สามารถถ่ายสาเนาเย็บเล่มได้ ไม่จาเป็นต้องเข้าโรงพิมพ์
  • 37. หนังสือ  เป็นหนังสือในเชิงวิชาการ (ไม่ใช่หนังสือแปล)  มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง/สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่ขอตาแหน่งทางวิชาการ  ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่โดยสานักพิมพ์
  • 38. บทความทางวิชาการ  ไม่ใช่บทความวิจัย (ดูนิยามในภาคผนวก)  ได้รับการเผยแพร่ใน 3 รูปแบบ คือ (1) หนังสือรวมบทความ ที่มี Peer Review (2) Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ (3) วารสารวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ
  • 39. คาจากัดความ ลักษณะการเผยแพร่ และระดับคุณภาพ ของ “บทความทางวิชาการ” [NEW] 1. คาจากัดความ  งานเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกาหนดประเด็นที่ต้องการอธิบายหรือ วิเคราะห์อย่างชัดเจน ทั้งนี้มีการวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลัก วิชาการโดยมีการสารวจวรรณกรรมเพื่อสนับสนุนจนสามารถสรุปผล การวิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้ อาจเป็นการนาความรู้จากแหล่งต่างๆ มาประมวลร้อยเรียงเพื่อวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยที่ผู้เขียนแสดง ทัศนะทางวิชาการของตนไว้อย่างชัดเจนด้วย
  • 40. 2. รูปแบบ  ประกอบด้วย การนาความที่แสดงเหตุผลหรือที่มาของประเด็นที่ ต้องการอธิบายหรือวิเคราะห์ กระบวนการอธิบายหรือวิเคราะห์และ บทสรุป มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมที่ครบถ้วนและสมบูรณ์
  • 41. 3. การเผยแพร่  เผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้ (1) เผยแพร่ในรูปแบบของบทความทางวิชาการในวารสารวิชาการ (2) เผยแพร่ในหนังสือรวมบทความ ที่มีการบรรณาธิการประเมินและ ตรวจสอบคุณภาพของบทความต่างๆ ในหนังสือนั้นแล้ว (3) เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการ (Proceedings) ของการประชุมวิชาการในระดับชาติหรือนานาชาติ ที่มี การบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบคุณภาพของบทความต่างๆ ที่ นาเสนอนั้นแล้ว *** เมื่อได้เผยแพร่ตามลักษณะข้างต้นและได้มีการพิจารณา ประเมินคุณภาพของ “บทความทางวิชาการ” นั้นแล้ว การนา “บทความ ทางวิชาการ” นั้น มาแก้ไขปรับปรุง หรือเพิ่มเติมส่วนใดส่วนหนึ่ง เพื่อ นามาเสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ และให้มีการประเมินคุณภาพ “บทความทางวิชาการ” นั้นอีกครั้งหนึ่งจะกระทาไม่ได้
  • 42. 4. ระดับคุณภาพ  ระดับดี เป็นบทความทางวิชาการที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการ ถูกต้องสมบูรณ์และทันสมัย มีแนวคิดและการนาเสนอที่ชัดเจนเป็น ประโยชน์ต่อวงวิชาการ  ระดับดีมาก ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดี โดยมีข้อกาหนดเพิ่มเติม ดังนี้ (1) มีการวิเคราะห์และเสนอความรู้หรือวิธีการที่ทันสมัยต่อ ความก้าวหน้าทางวิชาการและเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ (2) สามารถนาไปใช้อ้างอิงหรือนาไปปฏิบัติได้  ระดับดีเด่น ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดีมาก โดยมีข้อกาหนดเพิ่มเติม ดังนี้ (1) มีลักษณะเป็นงานบุกเบิกทางวิชาการ และมีการสังเคราะห์จนถึง ระดับที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ (Body of Knowledge) ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (2) มีการกระตุ้นให้เกิดความคิดและคนคว้าต่อเนื่อง เป็นที่เชื่อถือและ ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในระดับชาติ และ/หรือนานาชาติ
  • 43. ผลงานวิชาการรับใช้สังคม 1.ลักษณะการมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการรับใช้สังคม  ในกรณีดาเนินงานเป็นหมู่คณะ หรือบูรณาการหลายสาขาวิชา ผู้ขอ กาหนดตาแหน่งต้องเป็นผู้ดาเนินการหลัก  ขั้นตอนการทางานมี 3 ขั้นตอน (1) วิเคราะห์สถานการณ์ก่อนเริ่มกิจกรรมรับใช้สังคม (2) ออกแบบหรือพัฒนาชิ้นงาน/แนวคิด/กิจกรรม (3) ประเมินผลลัพธ์และสรุปแนวทางการนาไปขยายผล/ปรับปรุง  ผู้ขอระบุบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในผลงานของผู้ร่วมงาน ทุกคน และบทบาทหน้าที่หลักของผู้ขอกาหนดตาแหน่ง และให้ ผู้ร่วมงานทุกคนลงนามรับรอง  อาจไม่ต้องระบุสัดส่วนการมีส่วนร่วมเป็น % ก็ได้
  • 44. 2. คาจากัดความ ลักษณะการเผยแพร่ และระดับคุณภาพ 2.1 คาจากัดความ  ผลงานที่เป็นประโยนช์ต่อสังคมหรือท้องถิ่น ที่เกิดขึ้นโดยใช้ความ เชี่ยวชาญในสาขาวิชาอย่างน้อยหนึ่งสาขาวิชา และปรากฏผลที่ สามารถประเมินได้เป็นรูปธรรม โดยประจักษ์ต่อสาธารณะ
  • 45. 2.1 คาจากัดความ [ต่อ]  ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมนี้ต้องเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในทางที่ดีขึ้นทางด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้านเกี่ยวกับชุมชน วิถี ชีวิต ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม อาชีพ เศรษฐกิจ การเมืองการ ปกครอง คุณภาพชีวิต หรือสุขภาพ หรือเป็นผลงานที่นาไปสู่การจด ทะเบียนสิทธิบัตรหรือทรัพย์สินทางปัญญาในรูปแบบอื่นที่สามารถ แสดงได้เป็นที่ประจักษ์ว่าสามารถใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนาสังคม และ ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างชัดเจน หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงในความ ตระหนักและการรับรู้ปัญหาและแนวทางแก้ไขของชุมชน ทั้งนี้ไม่นับ รวมงานที่แสวงหากาไรและได้รับผลตอบแทนส่วนบุคคลในเชิงธุรกิจ
  • 46. 2.2 รูปแบบ  จัดทาเป็นเอกสาร โดยมีคาอธิบาย/ชี้แจงโดยชัดเจนประกอบผลงาน นั้น เพื่อชี้ให้เห็นว่าเป็นผลงานที่ทาให้เกิดการพัฒนาเป็นประโยชน์ต่อ สังคม มีความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น และเกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเสริมสร้างความรู้หรือก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาหนึ่งๆ หรือหลายสาขาวิชาได้อย่างไร ในแง่ใด โดยต้องปรากฏเป็นที่ ประจักษ์ในประเด็นต่อไปนี้
  • 47. 2.2 รูปแบบ [ต่อ]  สภาพการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น  การมีส่วนร่วมและการยอมรับของสังคมเป้าหมาย  กระบวนการที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น  ความรู้หรือความเชี่ยวชาญที่ใช้ในการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น  การคาดการณ์สิ่งที่จะตามมาหลังจากการเปลี่ยนแปลงได้เกิดขึ้นแล้ว  การประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น  แนวทางการติดตามและธารงรักษาพัฒนาการที่เกิดขึ้นให้คงอยู่ต่อไป ทั้งนี้ นอกจากเอกสารแสดงผลงานดังกล่าวข้างต้น อาจแสดงหลักฐาน เพิ่มเติมอื่นๆ เกี่ยวกับผลงาน เช่น รูปภาพ หรือการบันทึกภาพยนตร์ หรือ แถบเสียง หรือวิดีทัศน์ ประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้
  • 48. 2.3 การเผยแพร่  ให้มีการเผยแพร่โดยการจัดเวทีนาเสนอผลงานในพื้นที่หรือการเปิด ให้เยี่ยมชมพื้นที่ และจะต้องมีการเผยแพร่สูสาธารณชนอย่าง กว้างขวางในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สอดคล้องกับผลงาน โดยการ เผยแพร่นั้นจะต้องมีการบันทึกเป็นเอกสารหรือเป็นลายลักษณ์อักษร ที่สามารถใช้อ้างอิง หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
  • 49. 2.4 ระดับคุณภาพ  ระดับดี มีการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศที่ชัดเจน มีการระบุปัญหาหรือความ ต้องการโดยการมีส่วนร่วมของสังคมกลุ่มเป้าหมาย มีการวิเคราะห์หรือ สังเคราะห์ความรู้ที่สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น หรือทาความเข้าใจ สถานการณ์ จนเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นอย่างเป็นที่ประจักษ์ หรือ ก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนหรือสังคมนั้น  ระดับดีมาก ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดี และต้องสามารถนาไปใช้เป็น ตัวอย่างในการแก้ไขปัญหาหรือทาความเข้าใจสถานการณ์ จนเกิดการ เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นอย่างเป็นที่ประจักษ์หรือก่อให้เกิดการพัฒนาให้กับ สังคมอื่นได้ หรือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในระดับจังหวัดหรือ ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม  ระดับดีเด่น ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดีมาก และต้องส่งผลกระทบต่อสังคม หรือแวดวงวิชาการอย่างกว้างขวาง เป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือระดับ นานาชาติ หรือได้รับรางวัลจากองค์กรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เช่น UNESCO WHO UNICEF เป็นต้น
  • 50. คาแนะนา: การเสนอผลงานทางวิชาการ  ผู้ขอไม่ควรส่งผลงานทั้งหมดที่ตนเองมี แต่ควรคัดเลือก เฉพาะผลงานทางวิชาการของตนเองที่เด่นเท่านั้น  ถ้าผู้ขอแน่ใจว่าผลงานทางวิชาการมีคุณภาพดี สามารถ เสนออย่างละ 1 เรื่องก็ได้
  • 52. วิธีการแต่งตั้ง มี 2 วิธี 1. โดยวิธีปกติ 2. โดยวิธีพิเศษ
  • 53. ผู้ที่สนใจ...ต้องทาอะไรบ้าง?... 1. ผู้ขอส่งบันทึกข้อความ, แบบฟอร์ม,แบบรับรอง, ผลงานทางวิชาการ (1 ชุด) 2. ยื่นเอกสารและหลักฐานที่ สานักงานบุคคล 3. ตรวจสอบความถูกต้อง และความครบถ้วนของ เอกสารและหลักฐาน 4. ครบถ้วน รับเรื่อง ไม่ครบถ้วน ส่งแก้ 5. คณะกรรมการกลั่นกรองฯ เสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่ออ่าน ผลงานและคณะอนุกรรมการ ประเมินผลการสอน 6. คณะกรรมการพิจารณาฯ แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเพื่ออ่าน ผลงานและคณะอนุกรรมการ ประเมินผลการสอน 7. คณะกรรมการฯ พิจารณา ผลการประเมินของ ผู้ทรงคุณวุฒิฯ 8. ผ่าน เข้าสภามหาวิทยาลัย ไม่ผ่าน เริ่มขั้นตอน 1 ใหม่ 9. อธิการบดี ออกคาสั่งแต่งตั้ง และ แจ้ง สกอ.ภายใน 30 วัน
  • 55. คาถาม-คาตอบ คาถามที่ 1. “ตารา” เหมาะสมที่จะนามาใช้เพื่อเสนอขอกาหนด ตาแหน่ง “ผศ.” หรือ “รศ.” คาตอบ รศ. เพราะการทาตาราที่มีคุณภาพต้องใช้ระยะเวลา (แต่สามารถนามาเสนอขอ ผศ. ได้)
  • 56. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 2. การขอ ผศ. ใช้ “เอกสารประกอบการสอน” หรือ “เอกสารคาสอน” และต้องเสนอกี่วิชา คาตอบ เอกสารประกอบการสอน จานวน 1 วิชา และใช้สอน มาแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา และไม่จาเป็นต้องมีผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินก่อน (เอกสารประกอบการสอนไม่ใช่ผลงานทางวิชาการ แต่ นามาใช้เพื่อประกอบการประเมินผลการสอน)
  • 57. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 3. การเสนอผลงานวิจัยในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขแตกต่าง กันหรือไม่ อย่างไร คาตอบ แตกต่างกัน สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะเสนอ เฉพาะ “บทความวิจัย” ที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้วแทนงานวิจัย 1 เรื่อง แต่ใน สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จะต้องเสนอทั้ง “ตัวเล่มวิจัย” และ “บทความวิจัย” ที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว จึงจะนับเป็นงานวิจัย 1 เรื่อง เนื่องจากผู้ทรงคุณวุฒิต้องการดูระเบียบวิธีวิจัย
  • 58. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 4. ในการขอกาหนดตาแหน่ง ผศ. ต้องยื่นผลงานทางวิชาการ (ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ผลงานวิชาการรับใช้ สังคม ตารา หนังสือ บทความทางวิชาการ) กี่เรื่อง คาตอบ อย่างน้อย 1 เรื่องที่มีคุณภาพดี ที่แสดงว่าท่านเป็นผู้มี ความชานาญหรือเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น โดยให้พิจารณาว่า “คุณภาพของงานสาคัญกว่าปริมาณ”
  • 59. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 5. หากไม่มี “บทความทางวิชาการ” สามารถใช้ “หนังสือ” หรือ “ตารา” แทนได้หรือไม่ในการขอตาแหน่ง “ผศ.” คาตอบ ได้ ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ฯ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2556 กาหนดไว้ว่า การขอตาแหน่ง ผศ. ผู้ขอจะต้องเสนอ (1) ผลงานวิจัย หรือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม หรือ ผลงานทาง วิชาการในลักษณะอื่น หรือ ตารา หรือ หนังสือ หรือ บทความทาง วิชาการ (คุณภาพดี) (2) เอกสารประกอบการสอน 1 เล่ม (โดยปกติควรจะเสนอบทความทางวิชาการ เนื่องจากทาได้รวดเร็วกว่า)
  • 60. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 6. ผลงานทางวิชาการ ที่ผู้ขอมีส่วนร่วมในงานไม่ถึง 50% ใช้ ยื่นขอตาแหน่ง ผศ. ได้หรือไม่ คาตอบ ถ้ามีผลงานทางวิชาการเพียง 1 เรื่อง และมีส่วนร่วมใน งานไม่ถึง 50% จะนามาใช้ยื่นขอตาแหน่ง ผศ. ไม่ได้ ปริมาณงานของ ผลงานทางวิชาการที่จะใช้ขอตาแหน่ง ผศ. รวมแล้วต้องมากกว่า 50%
  • 61. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 7. ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่งานวิจัย (ตารา/หนังสือ/ บทความทางวิชาการ) ที่ผู้ขอมีส่วนร่วมในงานไม่ถึง 50% ใช้ยื่นขอ ตาแหน่งได้หรือไม่ คาตอบ ไม่ได้ เพราะตามหลักเกณฑ์ระบุไว้ว่า ผู้ขอจะต้องมีส่วน ร่วมไม่น้อยกว่า 50% และต้องเป็นผู้ดาเนินการหลักในเรื่องนั้น
  • 62. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 8. ผลงานทางวิชาการประเภท “หนังสือแปล” สามารถ นามาใช้ทดแทน “บทความทางวิชาการ” หรือ “ตารา” เพื่อขอตาแหน่ง ผศ. ได้หรือไม่ คาตอบ ไม่ได้ เพราะการแปลถือว่าเป็นการใช้ความสามารถทาง ภาษา ไม่ใช่ความสามารถทางวิชาการ และตามคาจากัดความที่อยู่ใน ระเบียบและหลักเกณฑ์ฯ ระบุว่า “งานแปล” จัดเป็น “ผลงานทาง วิชาการในลักษณะอื่น” ซึ่งเทียบเท่า “ผลงานวิจัย”
  • 63. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 9. หากผู้ขอไปช่วยเขียนบางหน่วยหรือบางบทของตาราบาง เล่ม เช่น ตาราของ มสธ. หรือ มร. เป็นต้น จะนามาใช้ยื่นขอตาแหน่ง ผศ. ได้หรือไม่ คาตอบ ไม่ได้ เพราะถ้าจะนับเป็น “ตารา” 1 เล่ม สกอ. กาหนดว่า จะต้องมีอย่างน้อย 5 หน่วย หรือ 5 บท ซึ่งเขียนในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน อาจจะอยู่ในเล่มเดียวกันหรือต่างเล่มกันก็ได้
  • 64. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 10. บทความทางวิชาการ ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ใน “หนังสือรวมบทความ” สามารถนามาใช้ขอตาแหน่ง ผศ. ได้หรือไม่ คาตอบ ได้ ถ้ามีกระบวนการ Peer Review เพื่อตรวจสอบ คุณภาพของบทความก่อนการตีพิมพ์
  • 65. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 11. ผลการวิจัยที่นาเสนอในการประชุมวิชาการ และ Proceedings ตีพิมพ์เฉพาะบทคัดย่อ (Abstract) สามารถนามายื่นขอ ผศ. ได้หรือไม่ คาตอบ ไม่ได้ เพราะผู้ทรงคุณวุฒิ (Readers) ไม่สามารถประเมิน คุณภาพได้ จะต้องเป็น Proceedings ที่ตีพิมพ์ Full Paper เท่านั้น ซึ่ง อาจจะอยู่ในรูป CD ก็ได้
  • 66. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 12. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น เช่น สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์ เป็นต้น สามารถนามาใช้ทดแทน “ผลงานวิจัย” ได้หรือไม่ คาตอบ ได้ เพราะระเบียบและหลักเกณฑ์ฯ ระบุไว้ว่า ผู้ขอ ตาแหน่ง ผศ. จะต้องเสนอ “ผลงานวิจัย” หรือ “ผลงานวิชาการรับใช้ สังคม” หรือ “ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น” (ดูนิยามในภาคผนวก)
  • 67. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 13. หากมีเฉพาะหนังสือตอบรับ (Acceptance letter) เพื่อ ตีพิมพ์บทความวิจัย/บทความวิชาการในวารสารวิชาการระดับชาติ/ นานาชาติ สามารถนามายื่นขอตาแหน่ง ผศ. ได้หรือไม่ คาตอบ ไม่ได้ ผู้ขอควรรอให้บทความวิจัย/บทความวิชาการได้รับ การตีพิมพ์เผยแพร่ก่อน เนื่องจากในบางกรณี บทความวิจัย/บทความ วิชาการในวารสารบางเล่ม ไม่ได้รับการตีพิมพ์ในฉบับที่ระบุไว้ในหนังสือ ตอบรับ หรือตีพิมพ์ล่าช้า หรือกองบรรณาธิการวารสารปิดทาการ ชั่วคราว ทาให้ไม่ทราบกาหนดที่แน่นอนว่าบทความวิจัย/บทความ วิชาการจะได้รับการตีพิมพ์เมื่อใด
  • 68. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 14. การยื่นผลงานทางวิชาการเพื่อขอกาหนดตาแหน่ง ผศ. รศ. หรือ ศ. สามารถยื่นได้ที่ใด คาตอบ ยื่นที่คณะและดาเนินการตามขั้นตอน (หน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ สานักงานบุคคล)
  • 69. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 15. การยื่นผลงานทางวิชาการเพื่อขอตาแหน่ง ผศ. รศ. หรือ ศ. สามารถยื่นได้ในช่วงเวลาใดบ้าง คาตอบ ยื่นได้ทั้งปีที่คณะ ในวันและเวลาทาการ
  • 70. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 16. เจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุนที่มีผลงานทางวิชาการ เช่น ผลงานวิจัย หนังสือ บทความวิจัย บทความวิชาการ เป็นต้น สามารถขอ ตาแหน่งทางวิชาการได้หรือไม่ คาตอบ ไม่ได้ ผู้ที่สามารถยื่นขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการได้ จะต้องได้รับการบรรจุแต่งตั้งในตาแหน่ง “อาจารย์” [ดูคาสั่งแต่งตั้ง]
  • 71. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 17. หากอายุงานไม่ถึงตามระเบียบหลักเกณฑ์ฯ แต่มีผลงาน ทางวิชาการ สามารถยื่นขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการได้ทันทีหรือไม่ คาตอบ สามารถทาได้โดยวิธีพิเศษ แต่ไม่แนะนาเพราะต้องแต่งตั้ง คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทาหน้าที่ประเมินผลงานทางวิชาการและ จรรยาบรรณาทางวิชาการ [Readers] จานวน 5 คน
  • 72. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 18. สาขาวิชาที่ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ จาเป็นต้องมี เปิดสอนในมหาวิทยาลัยหรือไม่ คาตอบ ไม่จาเป็น ขึ้นอยู่กับผลงานทางวิชาการนามาเสนอเพื่อ ขอรับการพิจารณาว่าอยู่ในสาขาวิชาใด เช่น 1. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา 2. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 3. สาขาวิชาวิจัยการศึกษา เป็นต้น
  • 73. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 19. สาขาวิชาที่ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ ควรจะกาหนด เป็นสาขาวิชากว้างๆ หรือเฉพาะเจาะจง คาตอบ ผู้ขอควรระบุ “สาขาวิชา” ที่ขอให้ชัดเจนเพื่อแสดงถึง ความเชี่ยวชาญหรือความชานาญเฉพาะด้าน เช่น 1. ไม่ควรระบุว่า “สาขาวิชาบริหารธุรกิจ” แต่ควรระบุว่า “สาขาวิชาการจัดการ” หรือ “สาขาวิชาการตลาด” ฯลฯ 2. ไม่ควรระบุว่า “สาขาวิศวกรรมศาสตร์” แต่ควรระบุว่า “สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า” หรือ “สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล” ฯลฯ เป็นต้น *ยกเว้นบางสาขาวิชาที่ไม่มีวิชาเอก เช่น สาขาวิชานิติศาสตร์ เป็นต้น
  • 74. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 20. สาขาวิชาที่ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ จาเป็นต้อง เป็นสาขาวิชาที่เปิดสอนในคณะหรือไม่ คาตอบ ไม่จาเป็น ยกตัวอย่างเช่น นายคนเก่ง ทางานดี ถูกแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ประจาคณะ วิศวกรรมศาสตร์ แต่มีความสนใจในพระพุทธศาสนา โดยมีผลงานทาง วิชาการทางด้านพระพุทธศาสนาจานวนมาก ดังนั้น… นายคนเก่ง ทางานดี สามารถยื่นขอกาหนดตาแหน่งทาง วิชาการใน “สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา” ได้ แต่ต้องมี “วิชาที่สอน” ที่ เกี่ยวข้องกับปรัชญาและศาสนา ด้วย เป็นต้น
  • 75. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 21. ผู้ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ สามารถเสนอชื่อ หรือ ขอทราบรายชื่อคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อทาหน้าที่ประเมินผลงาน ทางวิชาการและจรรยาบรรณาและจริยธรรมทางวิชาการ (Readers) ได้หรือไม่ คาตอบ ไม่ได้ ทุกกระบวนการเป็น “ความลับ”
  • 76. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 22. ผู้ขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ สามารถใช้ ผศ. รศ. ศ. นาหน้าชื่อได้ตั้งแต่เมื่อใด และนับตั้งแต่วันที่เท่าใด คาตอบ 1. การใช้ ผศ. รศ. หรือ ศ. นาหน้าชื่อสามารถใช้ได้ตั้งแต่ วันที่มหาวิทยาลัยมีคาสั่งแต่งตั้ง 2. การนับเวลาการดารงตาแหน่ง ผศ. รศ. หรือ ศ. ให้ นับตั้งแต่วันที่มหาวิทยาลัยรับเรื่อง หมายเหตุ หลังจากที่มหาวิทยาลัยมีคาสั่งแต่งตั้งแล้ว จะดาเนินการแจ้ง สกอ. ภายใน 30 วัน หลังจากนั้น สกอ. จะมีหนังสือถึงมหาวิทยาลัยแจ้งการรับทราบ
  • 77. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 23. ผู้ขอจะหา “แบบคาขอรับการพิจารณากาหนดตาแหน่ง ทางวิชาการ” หรือเอกสารอื่นๆ ได้ที่ใด คาตอบ ผู้ขอสามารถ Download แบบฟอร์ม ระเบียบและ หลักเกณฑ์ฯ (ล่าสุด) และเอกสารที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้ที่เว็บไซต์ของ สานักงานบุคคล หรือศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย
  • 78. คาถาม-คาตอบ [ต่อ] คาถามที่ 24. หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ เช่น ระเบียบหลักเกณฑ์ การขอตาแหน่งทางวิชาการ บัญชีรายชื่อ Readers หนังสือเวียนจาก สกอ. เรื่อง ตาแหน่งทางวิชาการ เป็นต้น สามารถหาได้จากที่ใด คาตอบ เข้าไปที่เว็บไซต์ “สานักส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร” ของ สกอ. โดยเข้าไปที่ http://basd.mua.go.th
  • 79. ผู้ประสานงาน: 1. สานักงานบุคคล คุณสุปรียา สังข์ทอง [เอี้ยง] โทรศัพท์: 02-579-1111 # 1200 อีเมล์: supreeya.sa@spu.ac.th 2.ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย ผศ. ดร. สุบิน ยุระรัช [บิน] โทรศัพท์: 02-579-1111 # 1155 อีเมล์: subin.yu@spu.ac.th
  • 80. Q & A for QA