SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
การบรรยายพิเศษ
เรื่อง
ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
โดย
ดร.สุทธศรี วงษสมาน
เลขาธิการสภาการศึกษา
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม 1
การกาวสูศตวรรษที่ ๒๑
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ (21 st Century Skills) ถือ
เปนความจําเปนเรงดวนในโลกยุคใหม ซึ่งเปลี่ยนผานจากการ
เรียนรูในศตวรรษที่ ๒๐ ที่เนนการสรางคนออกไปทํางานใน
ภาคอุตสาหกรรม สรางผลผลิตซ้ําๆ ในสิ่งแวดลอมเดิมๆ แตโลก
ปจจุบันประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ ตองการ “ทักษะ” ที่จะอยู
ทามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
2
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ดังนั้นการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ จึงตองเปนกระบวนการ
เรียนรูที่เปนไปเพื่อ
๑. สรางประชากรในประเทศใหสามารถดํารงชีวิต ทํางานและ
เปนผูขับเคลื่อนสังคมไดอยางมีคุณภาพ
๒. มีทักษะในการเรียนรูและพรอมเรียนรู เรียนรูไดตลอดเวลา
จากทุกสถานที่
๓. มีทักษะชีวิตที่ดี และปรับตัวยืดหยุนไดทุกรูปแบบ
4
“การศึกษาเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”
กระบวนทัศนการจัดการศึกษาใหม
• สรางพลเมืองไทยแหงศตวรรษที่ ๒๑ ใหเปนรากฐานของประเทศ
• สรางกําลังงานไทยแหงศตวรรษที่ ๒๑ ใหเปนพลังขับดันประเทศ
การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคนไทย ๖๗ ลานคน
มิใชการจัดการศึกษาเฉพาะคนในวัยเรียน ๑๓ ลานคน
ปฐมวัย การศึกษาภาคบังคับ
ม.ปลาย/ปวช. และ อุดมฯ
วัยทํางาน สูงวัย
วัยเรียน ๑๓ ลานคน
วัยแรงงาน ๓๘ ลานคน
ประชากรไทย ๖๗ ลานคน ๓
(๐-๕ ป)
(๖-๒๑ ป)
(๑๕-๕๙ ป) (๖๐ ปขึ้นไป)
กระทรวงศึกษาธิการ
การศึกษาที่มีคุณภาพ จะสรางเด็ก-เยาวชนที่มีคุณภาพ
เปนจุดเริ่มของพลเมืองและกําลังงานที่มีคุณภาพ
“การศึกษาเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”
เปาหมายการศึกษาใหม
สอดคลองกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ตัวชี้วัดสําคัญ
• ตัวชี้วัดความสําเร็จพื้นฐานและเพิ่มศักยภาพการแขงขันเปนตัวชี้วัดหลัก เนน Benchmarking
• ตัวชี้วัดเพื่อติดตามการดําเนินการสูเปาหมาย (Monitoring Indicators) เปนตัวชี้วัดรอง
๔
กระทรวงศึกษาธิการ
“เรงพัฒนา”
ศักยภาพการแขงขัน
ของประเทศ
เพื่อความมั่งคั่ง ยั่งยืน
“วางรากฐาน”
การพัฒนาประเทศ
เพื่อความมั่นคงยั่งยืน
๕ ยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษา
๕
กระทรวงศึกษาธิการ
ขับเคลื่อนตอเนื่อง : (ป ๕๙ – ๖๓)
แกไขปญหา ขจัดอุปสรรค : (ป ๕๗)
วางรากฐาน : (ป ๕๘)
การกําหนดหลักเกณฑการโยกยายครูอยูในพื้นที่เพื่อประโยชนตอผูเรียน
การกําหนดหลักเกณฑการประเมินครูเพื่อเลื่อนวิทยาฐานะใหผูกโยงกับผลการเรียน
การแกไขปญหาหนี้สินครูทั้งระบบ
โครงการพัฒนาครูผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัด Coaching Team เพื่อพัฒนาครูและปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน
การผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
โครงการคุรุทายาท เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูและสงเสริมจรรยาวิชาชีพ
โครงการทุนชางเทคนิคและบัณฑิตนักปฏิบัติ เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูสายอาชีพ และเทคโนโลยีชั้นสูง
การกําหนดใหสถาบันอุดมศึกษาและโรงเรียนที่เปนเลิศในพื้นที่รับผิดชอบในการพัฒนาครู
การพัฒนาระบบคูปองพัฒนาครู
การปรับปรุงระบบการนิเทศและศึกษานิเทศก
การกําหนดอัตราพนักราชการสําหรับครูอาชีวศึกษา เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูสายอาชีพ
อยูระหวางขั้นตอนการเสนอ/อนุมัติใหดําเนินการ
อยูระหวางขั้นตอนการดําเนินการ/ดําเนินการแลว
ยังไมไดดําเนินการ (ติดขัดดานกฎหมายหรืออุปสรรคอื่น ๆ)
การแกไขปญหาใบประกอบวิชาชีพครูโดยเฉพาะสาขาวิชาที่ขาดแคลน
การคืนครูสูหองเรียน และการลดกิจกรรมที่ดึงครูออกจากหองเรียน
๙
กระทรวงศึกษาธิการ
การปรับเปลี่ยนบทบาทคณาจารย
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
 เมื่อกระบวนการเรียนรูเปลี่ยน บทบาทของคณาจารยก็ตอง
เปลี่ยนไป “ครูเพื่อศิษย” จึงตองเปลี่ยนจุดเนนจาก “การสอน”
ไปเนนที่ “การเรียน” (ทั้งของศิษยและของตนเอง)
 ตองเรียนรูและปรับปรุงรูปแบบการเรียนรูที่จัดใหแกศิษย
 ตองเปลี่ยนบทบาทของครูอาจารยจาก ครูสอน (Teacher) ไป
เปน ครูฝก (Coach) หรือผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู
(Learning Facilitator)
9
บทบาทคณาจารยในศตวรรษที่ ๒๑ ควรเปนอยางไร ?
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
“ครู/คณาจารย” จึงเปนบุคลากรที่มีความสําคัญยิ่ง สําหรับการ
เรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เพราะเปนฟนเฟองหลักในการจัดการ
เรียนรู จึงตองเปลี่ยนเปาหมายการเรียนรูของศิษยที่เนนความรู
ไปสูการพัฒนาทักษะที่สําคัญในการเรียนรู เพื่อการดํารงชีวิต
ประกอบดวย ๓ ทักษะหลัก ไดแก
๑. การเรียนรูและนวัตกรรม (Critical Thinking and Innovation)
๒. การเรียนรูสื่อดิจิตอล (Digital and Life)
๓. ทักษะชีวิตและการทํางาน (Career and Life)
10
สถาบันอุดมศึกษา.....กับบทบาทคณาจารยที่เปลี่ยนไป
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
เมื่อบทบาทของคณาจารยเกิดการเปลี่ยนแปลง สถาบันอุดมศึกษาจึง
เปนสถาบันสําคัญที่ตองปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตบัณฑิต การสรางความ
พรอมและความเขมแข็งใหแกสถาบันอุดมศึกษาจึงเปนเรื่องจําเปนเรงดวน
เปาหมายของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิตที่จบจากสถาบันใหเปน
คนมีความรู มีความสามารถ มีงานทํา เปนคนดีของสังคม
คณาจารย จึงตองมีคุณภาพ มีการพัฒนาอยางเหมาะสมและ
ตอเนื่อง
11
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ในฐานะฝายเลขานุการฯ
ของคณะอนุกรรมการปฏิรูประบบการผลิตและพัฒนาครู ไดจัดทํา (ราง)
ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครูขึ้น ประกอบดวย ๕ ยุทธศาสตร
๑๘ มาตรการ โดยมี เปาหมายในการสรางพลเมืองที่มีคุณภาพเหมาะกับ
การเปนประชากรในศตวรรษที่ ๒๑
12
กรอบแนวคิดยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
พลเมืองที่มีคุณภาพเหมาะกับการเปนประชากรในศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศาสตรที่๑
การปฏิรูประบบและรูปแบบการ
ผลิตครู
ยุทธศาสตรที่๒
การปฏิรูประบบและรูปแบบการ
พัฒนาครู
ยุทธศาสตรที่๓
การปฏิรูประบบการใชครูและ
ระบบบริหารงานบุคคลของครู
ยุทธศาสตรที่๔
การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิต
และพัฒนาครู
ยุทธศาสตรที่๕
การสรางกลไกการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
ครูมืออาชีพที่มีสมรรถนะเปนเลิศในระดับสากลเหมาะสมกับบริบทของไทย
หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท.
๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท.
๑๙. ตชด.
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ยุทธศาสตรและมาตรการที่เกี่ยวของกับสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา
ศักยภาพคณาจารย ประกอบดวย ๒ ยุทธศาสตร ไดแก
ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู
มาตรการ ๒ เสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งใหสถาบันผลิตครู
14
ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู
หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท.
๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท. ๑๙. ตชด.
๑. จัดทํา
แผนการ
ผลิตครูที่
สัมพันธกับ
แผนการใชครู
๒. เสริมสราง
ความพรอม
และความ
เขมแข็งให
สถาบัน
ผลิตครู
๓. วางระบบ
การจัดสรรทุน
สําหรับ
นักศึกษาครู
๔. ปรับ
ระบบและ
รูปแบบการ
ผลิตครู
๕. กําหนด
แนวทาง
การเตรียม
นักศึกษาครู
เพื่อใหไดครูดี
มีคุณภาพ
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู
มาตรการ ๒ เสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งใหสถาบันผลิตครู
เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรูของสถาบันผลิตครูใหไดมาตรฐาน มี
สมรรถนะในระดับสากล มีแนวดําเนินการ ดังนี้
๑. กําหนดกลยุทธเสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งของสถาบัน
ผลิตครู
๒. สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพคณาจารย (ครูของครู) ในสถาบัน
ผลิตครู โดยสงเสริมการวิจัยเพื่อคิดคนนวัตกรรมดานการเรียนการสอน
นวัตกรรมหลักสูตรที่เหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง
16
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
๓. จัดระบบงบประมาณตรงแกคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรเพื่อการ
พัฒนาสูความเปนสถาบันผลิตวิชาชีพชั้นสูง
๔. เรงรัดการผลิตคณาจารย (ครูของครู) ยุคใหมของคณะครุศาสตร/
ศึกษาศาสตร ทดแทนคณาจารยที่เกษียณอายุราชการ โดยการจัดสรรทุน
ปริญญาเอกหรือทุนหลังปริญญาเอกที่มีคุณภาพสูง เพื่อพัฒนาคณาจารย
ของสถาบันผลิตครูและเสริมสรางความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง
๕. สถาบันผลิตครูปรับกระบวนการเรียนการสอนใหมีมาตรฐานในระดับ
สากล โดยมีจุดเนนอยูที่การใหผูเรียนเปนศูนยกลาง และเกิดการเรียนรูดวย
ตนเอง
17
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
๖. กําหนดแนวทางและมาตรฐานการฝกประสบการณวิชาชีพที่เหมาะสม
และมีคุณภาพ ไดแก องคประกอบโรงเรียนฝกประสบการณวิชาชีพ ระบบ
การคัดเลือกครูพี่เลี้ยง แนวทางการเสริมสรางความรวมมือระหวางสถาบัน
ผลิตครูและหนวยงานที่เกี่ยวของ
๗. จัดใหมีกลไกหรือระบบประกันคุณภาพการผลิตครูและการรับรอง
มาตรฐานสถาบันผลิตครูและคุณภาพบัณฑิต
๘. จัดใหมีระบบตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของคณาจารยตามภารกิจที่
กําหนดและกํากับดูแลใหคณาจารยประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีแก
นักศึกษาครูและชุมชน
18
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ยุทธศาสตรและมาตรการที่เกี่ยวของกับสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา
ศักยภาพคณาจารย (ตอ)
ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู
มาตรการ ๑ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการผลิตครู
มาตรการ ๒ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาครู
มาตรการ ๓ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูและสรางสิ่งแวดลอมทาง
วิชาการ
19
ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู
๑. วิจัยเพื่อพัฒนา
นวัตกรรมการผลิตครู
๒. วิจัยเพื่อพัฒนา
นวัตกรรมการ
พัฒนาครู
๓. พัฒนานวัตกรรม
การจัดการเรียนรูและ
สรางสิ่งแวดลอมทาง
วิชาการ
หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท.
๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท. ๑๙. ตชด.
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู
มาตรการ ๑ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการผลิตครู มีแนวดําเนินการดังนี้
๑. จัดใหมีแผนแมบทในการดําเนินงานวิจัยดานครุศึกษา เพื่อพัฒนา
รูปแบบและวิธีการผลิตครูที่ตอเนื่อง
๒. สํารวจหาความตองการในการวิจัยนวัตกรรมที่สอดคลองกับความ
ตองการในการผลิตครูของแตละพื้นที่และสถานศึกษาฯ
๓. กําหนดใหการวิจัยเปนสวนหนึ่งของภาระงานของสถาบันผลิตครู/
สถาบันอุดมศึกษา
ฯลฯ
21
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู
มาตรการ ๒ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาครู มีแนวดําเนินการดังนี้
๑. จัดใหมีแผนแมบทในการดําเนินงานเพื่อพัฒนารูปแบบและวิธีการ
พัฒนาครูที่เหมาะสม
๒. สํารวจหาความตองการในการวิจัยนวัตกรรมที่สอดคลองกับความ
ตองการในการพัฒนาครูของทุกระดับทุกประเภทและสถานศึกษาฯ
๓. กําหนดใหการวิจัยนวัตกรรมการพัฒนาครูเปนวิถีการพัฒนางานปกติที่
ทําอยูในปจจุบัน (Routine to Research : R2R)
ฯลฯ
22
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู
มาตรการ ๓ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูและสรางสิ่งแวดลอมทาง
วิชาการ มีแนวดําเนินการดังนี้
- กําหนดใหการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูเปนสวนหนึ่ง
ของภาระงาน (Work Force) ของครู/คณาจารยทุกคน
ฯลฯ
23
สรุปสาระสําคัญ
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น.
ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
 (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ใหความสําคัญกับการพัฒนา
ศักยภาพคณาจารยในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเปนครูของครู ในฐานะฝาย
ผลิตกําลังคนหลักของประเทศ ดั้งนั้น สถาบันอุดมศึกษาตองเสริมสราง
ความเขมแข็งใหแกคณาจารยดวยรูปแบบวิธีการที่เหมาะสมอยางตอเนื่อง
ทั้งในดานวิชาการ การวิจัย เครือขายวิชาการ เพื่อใหคณาจารยไดเพิ่มพูน
ความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพของตนอยางยั่งยืนตอไป
24

More Related Content

More from Teaching & Learning Support and Development Center

การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teaching & Learning Support and Development Center
 
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯการจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯTeaching & Learning Support and Development Center
 
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพการพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพTeaching & Learning Support and Development Center
 
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติTeaching & Learning Support and Development Center
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปTeaching & Learning Support and Development Center
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการTeaching & Learning Support and Development Center
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring RubricsTeaching & Learning Support and Development Center
 

More from Teaching & Learning Support and Development Center (11)

รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการรวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
รวมผลงานขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนรู้: ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
 
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯการจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
การจัดทำ มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
 
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพการพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
การพัฒนาแผนการสอนแบบอาจารย์มืออาชีพ
 
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
การพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
 
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
 
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
 
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการสิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
สิ่งที่ควรคำนึงในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork rameworkKMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
KMUTT 3.0 – Professional Standard Frame ork ramework
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 

การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา

  • 1. การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา โดย ดร.สุทธศรี วงษสมาน เลขาธิการสภาการศึกษา การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม 1
  • 2. การกาวสูศตวรรษที่ ๒๑ การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ (21 st Century Skills) ถือ เปนความจําเปนเรงดวนในโลกยุคใหม ซึ่งเปลี่ยนผานจากการ เรียนรูในศตวรรษที่ ๒๐ ที่เนนการสรางคนออกไปทํางานใน ภาคอุตสาหกรรม สรางผลผลิตซ้ําๆ ในสิ่งแวดลอมเดิมๆ แตโลก ปจจุบันประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ ตองการ “ทักษะ” ที่จะอยู ทามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว 2
  • 3. การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • 4. การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดังนั้นการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ จึงตองเปนกระบวนการ เรียนรูที่เปนไปเพื่อ ๑. สรางประชากรในประเทศใหสามารถดํารงชีวิต ทํางานและ เปนผูขับเคลื่อนสังคมไดอยางมีคุณภาพ ๒. มีทักษะในการเรียนรูและพรอมเรียนรู เรียนรูไดตลอดเวลา จากทุกสถานที่ ๓. มีทักษะชีวิตที่ดี และปรับตัวยืดหยุนไดทุกรูปแบบ 4
  • 5. “การศึกษาเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” กระบวนทัศนการจัดการศึกษาใหม • สรางพลเมืองไทยแหงศตวรรษที่ ๒๑ ใหเปนรากฐานของประเทศ • สรางกําลังงานไทยแหงศตวรรษที่ ๒๑ ใหเปนพลังขับดันประเทศ การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคนไทย ๖๗ ลานคน มิใชการจัดการศึกษาเฉพาะคนในวัยเรียน ๑๓ ลานคน ปฐมวัย การศึกษาภาคบังคับ ม.ปลาย/ปวช. และ อุดมฯ วัยทํางาน สูงวัย วัยเรียน ๑๓ ลานคน วัยแรงงาน ๓๘ ลานคน ประชากรไทย ๖๗ ลานคน ๓ (๐-๕ ป) (๖-๒๑ ป) (๑๕-๕๙ ป) (๖๐ ปขึ้นไป) กระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาที่มีคุณภาพ จะสรางเด็ก-เยาวชนที่มีคุณภาพ เปนจุดเริ่มของพลเมืองและกําลังงานที่มีคุณภาพ
  • 6. “การศึกษาเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” เปาหมายการศึกษาใหม สอดคลองกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและทิศทางการพัฒนาประเทศ ตัวชี้วัดสําคัญ • ตัวชี้วัดความสําเร็จพื้นฐานและเพิ่มศักยภาพการแขงขันเปนตัวชี้วัดหลัก เนน Benchmarking • ตัวชี้วัดเพื่อติดตามการดําเนินการสูเปาหมาย (Monitoring Indicators) เปนตัวชี้วัดรอง ๔ กระทรวงศึกษาธิการ “เรงพัฒนา” ศักยภาพการแขงขัน ของประเทศ เพื่อความมั่งคั่ง ยั่งยืน “วางรากฐาน” การพัฒนาประเทศ เพื่อความมั่นคงยั่งยืน
  • 8. ขับเคลื่อนตอเนื่อง : (ป ๕๙ – ๖๓) แกไขปญหา ขจัดอุปสรรค : (ป ๕๗) วางรากฐาน : (ป ๕๘) การกําหนดหลักเกณฑการโยกยายครูอยูในพื้นที่เพื่อประโยชนตอผูเรียน การกําหนดหลักเกณฑการประเมินครูเพื่อเลื่อนวิทยาฐานะใหผูกโยงกับผลการเรียน การแกไขปญหาหนี้สินครูทั้งระบบ โครงการพัฒนาครูผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัด Coaching Team เพื่อพัฒนาครูและปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน การผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โครงการคุรุทายาท เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูและสงเสริมจรรยาวิชาชีพ โครงการทุนชางเทคนิคและบัณฑิตนักปฏิบัติ เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูสายอาชีพ และเทคโนโลยีชั้นสูง การกําหนดใหสถาบันอุดมศึกษาและโรงเรียนที่เปนเลิศในพื้นที่รับผิดชอบในการพัฒนาครู การพัฒนาระบบคูปองพัฒนาครู การปรับปรุงระบบการนิเทศและศึกษานิเทศก การกําหนดอัตราพนักราชการสําหรับครูอาชีวศึกษา เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูสายอาชีพ อยูระหวางขั้นตอนการเสนอ/อนุมัติใหดําเนินการ อยูระหวางขั้นตอนการดําเนินการ/ดําเนินการแลว ยังไมไดดําเนินการ (ติดขัดดานกฎหมายหรืออุปสรรคอื่น ๆ) การแกไขปญหาใบประกอบวิชาชีพครูโดยเฉพาะสาขาวิชาที่ขาดแคลน การคืนครูสูหองเรียน และการลดกิจกรรมที่ดึงครูออกจากหองเรียน ๙ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 9. การปรับเปลี่ยนบทบาทคณาจารย การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม  เมื่อกระบวนการเรียนรูเปลี่ยน บทบาทของคณาจารยก็ตอง เปลี่ยนไป “ครูเพื่อศิษย” จึงตองเปลี่ยนจุดเนนจาก “การสอน” ไปเนนที่ “การเรียน” (ทั้งของศิษยและของตนเอง)  ตองเรียนรูและปรับปรุงรูปแบบการเรียนรูที่จัดใหแกศิษย  ตองเปลี่ยนบทบาทของครูอาจารยจาก ครูสอน (Teacher) ไป เปน ครูฝก (Coach) หรือผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู (Learning Facilitator) 9
  • 10. บทบาทคณาจารยในศตวรรษที่ ๒๑ ควรเปนอยางไร ? การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม “ครู/คณาจารย” จึงเปนบุคลากรที่มีความสําคัญยิ่ง สําหรับการ เรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เพราะเปนฟนเฟองหลักในการจัดการ เรียนรู จึงตองเปลี่ยนเปาหมายการเรียนรูของศิษยที่เนนความรู ไปสูการพัฒนาทักษะที่สําคัญในการเรียนรู เพื่อการดํารงชีวิต ประกอบดวย ๓ ทักษะหลัก ไดแก ๑. การเรียนรูและนวัตกรรม (Critical Thinking and Innovation) ๒. การเรียนรูสื่อดิจิตอล (Digital and Life) ๓. ทักษะชีวิตและการทํางาน (Career and Life) 10
  • 11. สถาบันอุดมศึกษา.....กับบทบาทคณาจารยที่เปลี่ยนไป การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม เมื่อบทบาทของคณาจารยเกิดการเปลี่ยนแปลง สถาบันอุดมศึกษาจึง เปนสถาบันสําคัญที่ตองปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตบัณฑิต การสรางความ พรอมและความเขมแข็งใหแกสถาบันอุดมศึกษาจึงเปนเรื่องจําเปนเรงดวน เปาหมายของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิตที่จบจากสถาบันใหเปน คนมีความรู มีความสามารถ มีงานทํา เปนคนดีของสังคม คณาจารย จึงตองมีคุณภาพ มีการพัฒนาอยางเหมาะสมและ ตอเนื่อง 11
  • 12. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ในฐานะฝายเลขานุการฯ ของคณะอนุกรรมการปฏิรูประบบการผลิตและพัฒนาครู ไดจัดทํา (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครูขึ้น ประกอบดวย ๕ ยุทธศาสตร ๑๘ มาตรการ โดยมี เปาหมายในการสรางพลเมืองที่มีคุณภาพเหมาะกับ การเปนประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ 12
  • 13. กรอบแนวคิดยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู พลเมืองที่มีคุณภาพเหมาะกับการเปนประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ ยุทธศาสตรที่๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการ ผลิตครู ยุทธศาสตรที่๒ การปฏิรูประบบและรูปแบบการ พัฒนาครู ยุทธศาสตรที่๓ การปฏิรูประบบการใชครูและ ระบบบริหารงานบุคคลของครู ยุทธศาสตรที่๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิต และพัฒนาครู ยุทธศาสตรที่๕ การสรางกลไกการขับเคลื่อน ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ครูมืออาชีพที่มีสมรรถนะเปนเลิศในระดับสากลเหมาะสมกับบริบทของไทย หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท. ๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท. ๑๙. ตชด.
  • 14. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ยุทธศาสตรและมาตรการที่เกี่ยวของกับสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา ศักยภาพคณาจารย ประกอบดวย ๒ ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู มาตรการ ๒ เสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งใหสถาบันผลิตครู 14
  • 15. ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท. ๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท. ๑๙. ตชด. ๑. จัดทํา แผนการ ผลิตครูที่ สัมพันธกับ แผนการใชครู ๒. เสริมสราง ความพรอม และความ เขมแข็งให สถาบัน ผลิตครู ๓. วางระบบ การจัดสรรทุน สําหรับ นักศึกษาครู ๔. ปรับ ระบบและ รูปแบบการ ผลิตครู ๕. กําหนด แนวทาง การเตรียม นักศึกษาครู เพื่อใหไดครูดี มีคุณภาพ
  • 16. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู มาตรการ ๒ เสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งใหสถาบันผลิตครู เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรูของสถาบันผลิตครูใหไดมาตรฐาน มี สมรรถนะในระดับสากล มีแนวดําเนินการ ดังนี้ ๑. กําหนดกลยุทธเสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งของสถาบัน ผลิตครู ๒. สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพคณาจารย (ครูของครู) ในสถาบัน ผลิตครู โดยสงเสริมการวิจัยเพื่อคิดคนนวัตกรรมดานการเรียนการสอน นวัตกรรมหลักสูตรที่เหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง 16
  • 17. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ๓. จัดระบบงบประมาณตรงแกคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรเพื่อการ พัฒนาสูความเปนสถาบันผลิตวิชาชีพชั้นสูง ๔. เรงรัดการผลิตคณาจารย (ครูของครู) ยุคใหมของคณะครุศาสตร/ ศึกษาศาสตร ทดแทนคณาจารยที่เกษียณอายุราชการ โดยการจัดสรรทุน ปริญญาเอกหรือทุนหลังปริญญาเอกที่มีคุณภาพสูง เพื่อพัฒนาคณาจารย ของสถาบันผลิตครูและเสริมสรางความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ๕. สถาบันผลิตครูปรับกระบวนการเรียนการสอนใหมีมาตรฐานในระดับ สากล โดยมีจุดเนนอยูที่การใหผูเรียนเปนศูนยกลาง และเกิดการเรียนรูดวย ตนเอง 17
  • 18. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ๖. กําหนดแนวทางและมาตรฐานการฝกประสบการณวิชาชีพที่เหมาะสม และมีคุณภาพ ไดแก องคประกอบโรงเรียนฝกประสบการณวิชาชีพ ระบบ การคัดเลือกครูพี่เลี้ยง แนวทางการเสริมสรางความรวมมือระหวางสถาบัน ผลิตครูและหนวยงานที่เกี่ยวของ ๗. จัดใหมีกลไกหรือระบบประกันคุณภาพการผลิตครูและการรับรอง มาตรฐานสถาบันผลิตครูและคุณภาพบัณฑิต ๘. จัดใหมีระบบตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของคณาจารยตามภารกิจที่ กําหนดและกํากับดูแลใหคณาจารยประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีแก นักศึกษาครูและชุมชน 18
  • 19. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ยุทธศาสตรและมาตรการที่เกี่ยวของกับสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา ศักยภาพคณาจารย (ตอ) ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู มาตรการ ๑ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการผลิตครู มาตรการ ๒ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาครู มาตรการ ๓ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูและสรางสิ่งแวดลอมทาง วิชาการ 19
  • 20. ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู ๑. วิจัยเพื่อพัฒนา นวัตกรรมการผลิตครู ๒. วิจัยเพื่อพัฒนา นวัตกรรมการ พัฒนาครู ๓. พัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรูและ สรางสิ่งแวดลอมทาง วิชาการ หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท. ๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท. ๑๙. ตชด.
  • 21. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู มาตรการ ๑ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการผลิตครู มีแนวดําเนินการดังนี้ ๑. จัดใหมีแผนแมบทในการดําเนินงานวิจัยดานครุศึกษา เพื่อพัฒนา รูปแบบและวิธีการผลิตครูที่ตอเนื่อง ๒. สํารวจหาความตองการในการวิจัยนวัตกรรมที่สอดคลองกับความ ตองการในการผลิตครูของแตละพื้นที่และสถานศึกษาฯ ๓. กําหนดใหการวิจัยเปนสวนหนึ่งของภาระงานของสถาบันผลิตครู/ สถาบันอุดมศึกษา ฯลฯ 21
  • 22. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู มาตรการ ๒ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาครู มีแนวดําเนินการดังนี้ ๑. จัดใหมีแผนแมบทในการดําเนินงานเพื่อพัฒนารูปแบบและวิธีการ พัฒนาครูที่เหมาะสม ๒. สํารวจหาความตองการในการวิจัยนวัตกรรมที่สอดคลองกับความ ตองการในการพัฒนาครูของทุกระดับทุกประเภทและสถานศึกษาฯ ๓. กําหนดใหการวิจัยนวัตกรรมการพัฒนาครูเปนวิถีการพัฒนางานปกติที่ ทําอยูในปจจุบัน (Routine to Research : R2R) ฯลฯ 22
  • 23. (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู มาตรการ ๓ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูและสรางสิ่งแวดลอมทาง วิชาการ มีแนวดําเนินการดังนี้ - กําหนดใหการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูเปนสวนหนึ่ง ของภาระงาน (Work Force) ของครู/คณาจารยทุกคน ฯลฯ 23
  • 24. สรุปสาระสําคัญ การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม  (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ใหความสําคัญกับการพัฒนา ศักยภาพคณาจารยในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเปนครูของครู ในฐานะฝาย ผลิตกําลังคนหลักของประเทศ ดั้งนั้น สถาบันอุดมศึกษาตองเสริมสราง ความเขมแข็งใหแกคณาจารยดวยรูปแบบวิธีการที่เหมาะสมอยางตอเนื่อง ทั้งในดานวิชาการ การวิจัย เครือขายวิชาการ เพื่อใหคณาจารยไดเพิ่มพูน ความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพของตนอยางยั่งยืนตอไป 24