SlideShare a Scribd company logo
วิราคะ
หมายถึง...ความสิ้นกําหนัด ภาวะที่สํารอกกิเลสหรือ
...ความสิ
ธรรมเปนที่สิ้นกิเลส เปนอาการหมดความกําหนัดใน
กามซึ่งเปนผลมาจากนิพพิทา ดวยการพิจารณาเห็น
สังขาร เปนของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา...
ตา...
วิราคะ... คือความสิ้นกําหนัด ถึงความสิ้นสุดแหง
าคะ...
กิเลส มีบาลีแหงวิราคะ อยู 3 บท คือ
1. นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ เมื่อหนาย ยอมคลายกําหนัด
2. วิราโค เสฏโฐ ธมฺมานํ
วิราคะเปนความประเสริฐ แหงธรรมทั้งหลาย
3. สุขา วิราคตา โลเก กามานํ สมติกกโม
ฺ
วิราคะ คือ ความกาวลวงเสียซึ่งกามทั้งหลาย
เปนความสุขในโลก
ไวพจนแหง...วิราคะ
...วิ
1. มทนิมฺมทโน

5. ตณฺหกฺขโย

2. ปปาสวินโย

6. วิราโค

3.อาลยสมุคฺฆาโต

7. นิโรโธ

4. วฏฏปจฺเฉโท

8. นิพฺพานํ
ไวพจน
หมายถึง... คําสําหรับใชเรียกแทนกัน คือ วิราคะเปน
ธรรมเสมอดวยธรรมอื่นโดยความเปนไวพจนเนื่องเกี่ยว
กันและกัน มีอยู 8 คํา คือ...
1. มทนิมฺมทโน ธรรมอันยังความเมาใหสราง ใน
สิ่งที่เปนอารมณทําใหเกิดความมัวเมา ไดแก ชาติ
สกุล อิสริยะ บริวาร ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข วัย
ความไมมีโรคและชีวิต
2. ปปาสวินโย คือ ความนําออกเสียซึ่งความกระหาย สิ่งที่
ทําใหเกิดความกระหาย เชน ตัณหา คือความทะยานอยาก
ยึดมั่น ถือมั่น ซึ่งเปนสิ่งใหเกิดการแสวงหาสนองความอยาก
3. อาลยสมุคฺฆาโต ความถอนขึ้นซึ่งความอาลัย คือ ความ
พอใจ ชอบใจ หวงใย ติดพัน สิ่งทีทําใหเกิดความอาลัย เชน
่
ถิ่นฐานที่อยู หรือ อารมณอันนาใคร
4. วฏฏปจฺเฉโท ความเขาไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ หมายถึงวน
ไดแกการหมุนเวียนอยูในสังสารวัฏ เวียนวายตายเกิดอยูใน


ภพภูมิตางๆ
5. ตณฺหกฺขโย ความสินไปแหงตัณหา ตัณหา หมายถึง
้
ความทะยานอยาก ไดแก กามตัณหา (ความอยากในกาม)
ภวตัณหา (อยากในภพ) วิภวตัณหา (ความอยากพนจากภพ)
6. วิราโค ความสินกําหนัด สิ่งที่เปนเหมือนน้ํายอมจิตใหเกิด
้
ความกําหนัด ไดแก กิเลสกาม
7. นิโรโธ ความดับ ไดแก การดับทุกขอันเปนผลสืบเนื่อง
จากการดับตัณหาลงไดอยางเด็ดขาด ซึ่งก็คือ นิโรธ ในธรรม
ขอ อริยสัจ 4
8. นิพฺพานํ ธรรมชาติหาเครื่องเสียดแทงมิได นิพพาน
ในไวพจนแหงวิราคะ หมายถึง สอุปาทิเสสนิพพาน คือ
พระอริยบุคคลผูกําจัดกิเลสไดอยางสิ้นเชิง บรรลุเปนพระ
อรหันตแตยังดํารงเบญจขันธอยู
กามตัณหา ไดแก ความอยากเกิดในกามภพ คือ มนุษยโลก
และสวรรค ๖ ชั้น (จาตุมหาราช - ปรนิมมิตวสวัตดี)
จาตุ
ภวตัณหา ไดแก ความอยากเกิดในรูปภพ คือ รูปพรหม
๑๖ ชั้น (พรหมปาริสัชชา – อกนิฏฐา)
พรหมปาริ
อกนิ ฐา)
วิภวตัณหา ไดแก ความอยากเกิดในอรูปภพ คือ อรูปพรหม
๔ ชั้น (อากาสานัญจายตนะ – เนวสัญญานาสัญญายตนะ)
อากาสานั จายตนะ เนวสั ญานาสั ญายตนะ)
อารมณอันยั่วยวน..ใหเกิดความเมา มี 10 อยาง คือ
ยวน..ให
****************
1. สมบัติแหงชาติสกุล 2. อิสริยะ (ความเปนใหญ)
3. ขาทาสบริวาร
4. ลาภ เงิน ทอง
5. ยศศักดิ์
6. สรรเสริญ
7. ความสุข
8. เยาววัย
9. ความหาโรคมิได 10. อายุหรือชีวิตที่ยืนยาว
10.

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
Happy Sara
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
ต้นไม้ เดียวกัน
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3Onpa Akaradech
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
Padvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
ppompuy pantham
 

What's hot (20)

บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 

More from Onpa Akaradech

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2Onpa Akaradech
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ Onpa Akaradech
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยOnpa Akaradech
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeOnpa Akaradech
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหารOnpa Akaradech
 

More from Onpa Akaradech (7)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
 
นิสัย
นิสัยนิสัย
นิสัย
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
 

บทที่ 2 วิราคะ

  • 2. วิราคะ... คือความสิ้นกําหนัด ถึงความสิ้นสุดแหง าคะ... กิเลส มีบาลีแหงวิราคะ อยู 3 บท คือ 1. นิพฺพินฺทํ วิรชฺชติ เมื่อหนาย ยอมคลายกําหนัด 2. วิราโค เสฏโฐ ธมฺมานํ วิราคะเปนความประเสริฐ แหงธรรมทั้งหลาย 3. สุขา วิราคตา โลเก กามานํ สมติกกโม ฺ วิราคะ คือ ความกาวลวงเสียซึ่งกามทั้งหลาย เปนความสุขในโลก
  • 3. ไวพจนแหง...วิราคะ ...วิ 1. มทนิมฺมทโน 5. ตณฺหกฺขโย 2. ปปาสวินโย 6. วิราโค 3.อาลยสมุคฺฆาโต 7. นิโรโธ 4. วฏฏปจฺเฉโท 8. นิพฺพานํ
  • 4. ไวพจน หมายถึง... คําสําหรับใชเรียกแทนกัน คือ วิราคะเปน ธรรมเสมอดวยธรรมอื่นโดยความเปนไวพจนเนื่องเกี่ยว กันและกัน มีอยู 8 คํา คือ... 1. มทนิมฺมทโน ธรรมอันยังความเมาใหสราง ใน สิ่งที่เปนอารมณทําใหเกิดความมัวเมา ไดแก ชาติ สกุล อิสริยะ บริวาร ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข วัย ความไมมีโรคและชีวิต
  • 5. 2. ปปาสวินโย คือ ความนําออกเสียซึ่งความกระหาย สิ่งที่ ทําใหเกิดความกระหาย เชน ตัณหา คือความทะยานอยาก ยึดมั่น ถือมั่น ซึ่งเปนสิ่งใหเกิดการแสวงหาสนองความอยาก 3. อาลยสมุคฺฆาโต ความถอนขึ้นซึ่งความอาลัย คือ ความ พอใจ ชอบใจ หวงใย ติดพัน สิ่งทีทําใหเกิดความอาลัย เชน ่ ถิ่นฐานที่อยู หรือ อารมณอันนาใคร 4. วฏฏปจฺเฉโท ความเขาไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ หมายถึงวน ไดแกการหมุนเวียนอยูในสังสารวัฏ เวียนวายตายเกิดอยูใน   ภพภูมิตางๆ
  • 6. 5. ตณฺหกฺขโย ความสินไปแหงตัณหา ตัณหา หมายถึง ้ ความทะยานอยาก ไดแก กามตัณหา (ความอยากในกาม) ภวตัณหา (อยากในภพ) วิภวตัณหา (ความอยากพนจากภพ) 6. วิราโค ความสินกําหนัด สิ่งที่เปนเหมือนน้ํายอมจิตใหเกิด ้ ความกําหนัด ไดแก กิเลสกาม 7. นิโรโธ ความดับ ไดแก การดับทุกขอันเปนผลสืบเนื่อง จากการดับตัณหาลงไดอยางเด็ดขาด ซึ่งก็คือ นิโรธ ในธรรม ขอ อริยสัจ 4
  • 7. 8. นิพฺพานํ ธรรมชาติหาเครื่องเสียดแทงมิได นิพพาน ในไวพจนแหงวิราคะ หมายถึง สอุปาทิเสสนิพพาน คือ พระอริยบุคคลผูกําจัดกิเลสไดอยางสิ้นเชิง บรรลุเปนพระ อรหันตแตยังดํารงเบญจขันธอยู กามตัณหา ไดแก ความอยากเกิดในกามภพ คือ มนุษยโลก และสวรรค ๖ ชั้น (จาตุมหาราช - ปรนิมมิตวสวัตดี) จาตุ ภวตัณหา ไดแก ความอยากเกิดในรูปภพ คือ รูปพรหม ๑๖ ชั้น (พรหมปาริสัชชา – อกนิฏฐา) พรหมปาริ อกนิ ฐา) วิภวตัณหา ไดแก ความอยากเกิดในอรูปภพ คือ อรูปพรหม ๔ ชั้น (อากาสานัญจายตนะ – เนวสัญญานาสัญญายตนะ) อากาสานั จายตนะ เนวสั ญานาสั ญายตนะ)
  • 8. อารมณอันยั่วยวน..ใหเกิดความเมา มี 10 อยาง คือ ยวน..ให **************** 1. สมบัติแหงชาติสกุล 2. อิสริยะ (ความเปนใหญ) 3. ขาทาสบริวาร 4. ลาภ เงิน ทอง 5. ยศศักดิ์ 6. สรรเสริญ 7. ความสุข 8. เยาววัย 9. ความหาโรคมิได 10. อายุหรือชีวิตที่ยืนยาว 10.