SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ 2542และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
โรงเรียนแต่ละโรงเรียนมีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการมีส่วนร่วมใน    การจัดการศึกษา มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น  เกิดนโยบายเรียนฟรี 12  ปี  ปัจจุบันเป็นเรียนฟรี 15  ปี  ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย
เกิดจัดการศึกษาสามรูปแบบ คือ การศึกษา     ในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษา  ตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภทตามความพร้อม ความ                เหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่น
สถานศึกษาเอกชนเป็นนิติบุคคลจัดการศึกษาได้   ทุกระดับและทุกประเภท ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องมีใบประกอบวิชาชีพของครู มีการประเมินเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ เกิดระบบประกันคุณภาพภายนอกและภายในศึกษา การประเมินภายในโดยโรงเรียนเป็นผู้ประเมิน การประเมินภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
บุคคล ซึ่งมีความบกพร่องทางด้านต่าง ๆ หรือมีร่างกายพิการ หรือมีความต้องการเป็นพิเศษ หรือผู้ด้อยโอกาสมีสิทธิและมีโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ เกิดกฎหมายการศึกษาภาคบังคับเก้าปี  นักเรียนที่เรียนในแต่ละรูปแบบสมมารถเทียบโอนผลการเรียนได้
ผลของการปฏิรูปการศึกษา ผลการปฏิรูปการศึกษาการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 1 (2540-2550) สรุปได้ดังนี้
ความสำเร็จมาก  การขยายโอกาสทางการศึกษา12 ปี และ 15 ปี  การจัดการศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ การศึกษาทางเลือก  การจัดการศึกษาโดยครอบครัว  โดยสถานประกอบการ โดยสถาบันศาสนา ฯลฯ การเพิ่มงบประมาณเพื่อการศึกษา  การมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ความสำเร็จปานกลาง การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การใช้แหล่งการเรียนรู้  ครูภูมิปัญญาไทย
ความล้มเหลว      1.  การผลิตและพัฒนาครู  ผู้บริหาร     2.  วิทยฐานะครูและผู้บริหาร กับ  ผลการเรียนของผู้เรียนไม่สัมพันธ์กัน     3.  สื่อและเทคโนโลยี
ปัญหาในการ ปฏิรูปการศึกษา มี 9 ด้าน  ซึ่งพอที่สรุปประเด็นสำคัญ  ได้ ดังนี้
1. ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน/สถานศึกษา พบว่า 1.1. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของ สมศ. รอบแรก ถึงร้อยละ 65 (จากสถานศึกษาสามหมื่นแห่งทั่วประเทศ) และต่อมามีการประเมินรอบสองอีก ก็ยังมีสถานศึกษาที่ต้องได้รับการพัฒนาอีก ถึงร้อยละ 20.3      1.2. สัมฤทธิผลการเรียนของนักเรียนในวิชาหลัก มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 50      1.3. ผู้สำเร็จอาชีวศึกษาและอุดมศึกษามีความสามารถและสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ และขาดทักษะความรู้พื้นฐานที่จำเป็น
2. ด้านการผลิตและพัฒนาครูอาจารย์ พบว่า     2.1. นโยบายจำกัดอัตราคนภาครัฐ และมาตรการจูงใจให้ครูออกก่อนเกษียณ (ปี 2543-2549) มีผลให้วงการการศึกษาต้องสูญเสียอัตราครูไปถึง 53,948 อัตรา    2.2. บัณฑิตครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ บางส่วนจบแล้วไม่เป็นครู อาจารย์    2.3. ครูสอนไม่ตรงวุฒิ    2.4. ขาดแคลนครูในบางพื้นที่    2.5. ในอนาคตอีกประมาณ 5-10 ปี จะมีครูประจำการเกษียณมากกว่าร้อยละ 50 จำเป็นต้องมีการเตรียมวางแผนผลิตครูรองรับ    2.6.การคัดเลือกบุคคลมาเป็นครู พบว่าผู้เข้าเรียนคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ แม้จะมีจำนวนมาก แต่ส่วนใหญ่มักจะเลือกเรียนไว้เป็นอันดับท้ายๆ เป็นความจำเป็นต้องเรียน ดังนั้น จึงไม่ได้คนเก่ง และมีใจรักมาเป็นค2.7. ด้านการพัฒนาครู ขาดระบบการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพต่อเนื่อง ขาดการดูแลเอาใจใส่รู
3. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและจัดการศึกษา และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมรวมทั้งการกระจายอำนาจ พบว่า     3.1. แม้จะมีกฎกระทรวง และหลักเกณฑ์และวิธีการการกระจายอำนาจ แต่หน่วยปฏิบัติยังไม่มีอิสระและความคล่องตัวในการบริหารงานและจัดการศึกษา เท่าที่ควร    3.2. การจัดการศึกษาของเอกชนยังไม่การขยายตัวเท่าที่ควร    3.3. สถานประกอบการและสถาบันต่างๆ มีส่วนร่วมจัดการศึกษาเพิ่มขึ้น แต่ยังมีสัดส่วนน้อยมาก
4. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา พบว่า 4.1. ท้องถิ่นไม่มีความพร้อมในการจัดการศึกษาปฐมวัย    4.2. เด็กที่เข้าเรียนการศึกษาภาคบังคับออกกลางคันมาก    4.3. เด็กไม่นิยมเรียนอาชีวศึกษา    4.4. การให้บริการการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาสยังไม่ทั่วถึง    4.5. การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ยังไม่มีกลไกที่ชัดเจน ขาดองค์ความรู้เครื่องมือในการจัดการ
5. การผลิตและพัฒนากำลังคน พบว่า 5.1. ผู้สำเร็จอาชีวศึกษากว่าร้อยละ 70 ศึกษาต่อปริญญาตรี ทำให้ขาดแคลนกำลังคนระดับกลางอย่างต่อเนื่อง    5.2. ผู้สำเร็จขาดความรู้และทักษะที่จำเป็น    5.3. การผลิตคนด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์เกินความต้องการ ทำให้บัณฑิตจบใหม่ตกงาน
6. ด้านการเงินเพื่อการศึกษา พบว่า 6.1. ความด้อยประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรเพื่อการศึกษา    6.2. กลไกของรัฐไม่เอื้อให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ศึกษาและระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ    6.3. การจัดสรรงบประมาณตามความต้องการปัจจัยการผลิตไม่สัมพันธ์กับผลผลิต    6.4. การบริหารภายใต้กฎระเบียบทางราชการที่มีความตึงตัวสูง ทำให้สถานศึกษาขาดแรงจูงใจในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อการ แข่งขัน
7. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พบว่า 7.1. มีปัญหาการดำเนินการเนื่องมาจากขาดการพัฒนาเนื้อหาผ่านสื่อที่มีคุณภาพ    7.2. ขาดการพัฒนาการเรียนการสอนและการพัฒนาผู้สอน    7.3. ครูและนักเรียนนำความรู้ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยตนเองน้อย    7.4. สถานศึกษามีจำนวนคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ไม่เพียงพอ
8. ด้านกฎหมายการศึกษา พบว่า     8.1. กฎหมายการศึกษาอยู่ระหว่างดำเนินการหลายฉบับ    8.2. กฎหมายการศึกษาที่มีผลใช้บังคับแล้ว ยังไม่สามารถใช้บังคับได้อย่างมีประสิทธิภาพ    8.3. การบริหารจัดการศึกษาบางเรื่องยังขาดกฎหมายรองรับ    8.4. หน่วยงานส่วนกลางบังคับใช้กฎหมายการศึกษา โดยเน้นโครงสร้างองค์กรมากกว่าการปฏิรูปคุณภาพการเรียนการสอน
9. ด้านการศึกษาตลอดชีวิต พบว่า 9.1. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยังขาดเนื้อหาและวิธีการที่เหมาะสม    9.2. ขาดการปรับปรุงกฎระเบียบที่จะเอื้ออำนวยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง    9.3. การศึกษาตลอดชีวิตยังไม่เป็นวิถีชีวิตของคนในชาติ

More Related Content

What's hot

หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนงานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนจุลี สร้อยญานะ
 
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้ายผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22teerawut123
 
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยบทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยณรงค์ พร้อมบัวป่า
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์Krusupharat
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานtanongsak
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานKatekyo Sama
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 

What's hot (18)

หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
พรบ. 2545
พรบ. 2545พรบ. 2545
พรบ. 2545
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูนงานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
งานนำเสนออาเซี่ยน4 โรงเรียนอนุบาลลำพูน
 
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22
 
กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6
 
นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่
 
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยบทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
 
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
เปรียบเทียบนโยบายของนายอภิสิทธิ์กับยิ่งลักษณ์
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
 

Viewers also liked

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติCapitano Oishi
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมBoonlert Aroonpiboon
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อโทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนSuchanan Papan
 
แจ้งรายละเอียดหนังสือสอบ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) มีทุกตำแหน...
แจ้งรายละเอียดหนังสือสอบ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) มีทุกตำแหน...แจ้งรายละเอียดหนังสือสอบ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) มีทุกตำแหน...
แจ้งรายละเอียดหนังสือสอบ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) มีทุกตำแหน...ฟรีแมน ไฟส์
 
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์imdnmu
 
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษโทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับsomchay
 
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐานพรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐานpiyanut2534
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

Viewers also liked (20)

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
 
คณะกรรมการต่างๆ
คณะกรรมการต่างๆคณะกรรมการต่างๆ
คณะกรรมการต่างๆ
 
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อพรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2547 ย่อ
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
แจ้งรายละเอียดหนังสือสอบ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) มีทุกตำแหน...
แจ้งรายละเอียดหนังสือสอบ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) มีทุกตำแหน...แจ้งรายละเอียดหนังสือสอบ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) มีทุกตำแหน...
แจ้งรายละเอียดหนังสือสอบ สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (สกย.) มีทุกตำแหน...
 
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
 
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษการบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
การบรรจุและแต่งตั้ง ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทาง กศษ
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงานสมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
สมรรถนะหลัก และ ประจำสายงาน
 
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546  ปรับ
3. พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ปรับ
 
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐานพรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พรบ.การศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
เพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตรเพิ่มเติม รวมมิตร
เพิ่มเติม รวมมิตร
 
สุรินทร์
สุรินทร์สุรินทร์
สุรินทร์
 
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
ความรู้ทั่วไป +วิทยฐานะ + จรรยาบรรณ V1
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 

Similar to สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
Kobbbbb
KobbbbbKobbbbb
Kobbbbbaukkra
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำruathai
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษาแผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษาThawatchai Rustanawan
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1Trai Traiphop
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กKittisak Amthow
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่prangkupk
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 

Similar to สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542 (20)

W 2
W 2W 2
W 2
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Rub 1
Rub 1Rub 1
Rub 1
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
 
Kobbbbb
KobbbbbKobbbbb
Kobbbbb
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษาแผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
 
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
2012 03-22-28119-1 (บันทึกอัตโนมัติ)
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
2
22
2
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
2.2
2.22.2
2.2
 

สรุปผลที่เกิดขึ้นตาม พรบ.การศึกษา 2542

  • 2. โรงเรียนแต่ละโรงเรียนมีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น  เกิดนโยบายเรียนฟรี 12 ปี ปัจจุบันเป็นเรียนฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 3. เกิดจัดการศึกษาสามรูปแบบ คือ การศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภทตามความพร้อม ความ เหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่น
  • 4. สถานศึกษาเอกชนเป็นนิติบุคคลจัดการศึกษาได้ ทุกระดับและทุกประเภท ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องมีใบประกอบวิชาชีพของครู มีการประเมินเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ เกิดระบบประกันคุณภาพภายนอกและภายในศึกษา การประเมินภายในโดยโรงเรียนเป็นผู้ประเมิน การประเมินภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
  • 5. บุคคล ซึ่งมีความบกพร่องทางด้านต่าง ๆ หรือมีร่างกายพิการ หรือมีความต้องการเป็นพิเศษ หรือผู้ด้อยโอกาสมีสิทธิและมีโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ เกิดกฎหมายการศึกษาภาคบังคับเก้าปี  นักเรียนที่เรียนในแต่ละรูปแบบสมมารถเทียบโอนผลการเรียนได้
  • 7. ความสำเร็จมาก  การขยายโอกาสทางการศึกษา12 ปี และ 15 ปี การจัดการศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ การศึกษาทางเลือก  การจัดการศึกษาโดยครอบครัว  โดยสถานประกอบการ โดยสถาบันศาสนา ฯลฯ การเพิ่มงบประมาณเพื่อการศึกษา การมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
  • 9. ความล้มเหลว 1. การผลิตและพัฒนาครู  ผู้บริหาร 2. วิทยฐานะครูและผู้บริหาร กับ  ผลการเรียนของผู้เรียนไม่สัมพันธ์กัน 3. สื่อและเทคโนโลยี
  • 10. ปัญหาในการ ปฏิรูปการศึกษา มี 9 ด้าน ซึ่งพอที่สรุปประเด็นสำคัญ ได้ ดังนี้
  • 11. 1. ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน/สถานศึกษา พบว่า 1.1. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของ สมศ. รอบแรก ถึงร้อยละ 65 (จากสถานศึกษาสามหมื่นแห่งทั่วประเทศ) และต่อมามีการประเมินรอบสองอีก ก็ยังมีสถานศึกษาที่ต้องได้รับการพัฒนาอีก ถึงร้อยละ 20.3 1.2. สัมฤทธิผลการเรียนของนักเรียนในวิชาหลัก มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 50 1.3. ผู้สำเร็จอาชีวศึกษาและอุดมศึกษามีความสามารถและสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ และขาดทักษะความรู้พื้นฐานที่จำเป็น
  • 12. 2. ด้านการผลิตและพัฒนาครูอาจารย์ พบว่า 2.1. นโยบายจำกัดอัตราคนภาครัฐ และมาตรการจูงใจให้ครูออกก่อนเกษียณ (ปี 2543-2549) มีผลให้วงการการศึกษาต้องสูญเสียอัตราครูไปถึง 53,948 อัตรา 2.2. บัณฑิตครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ บางส่วนจบแล้วไม่เป็นครู อาจารย์ 2.3. ครูสอนไม่ตรงวุฒิ 2.4. ขาดแคลนครูในบางพื้นที่ 2.5. ในอนาคตอีกประมาณ 5-10 ปี จะมีครูประจำการเกษียณมากกว่าร้อยละ 50 จำเป็นต้องมีการเตรียมวางแผนผลิตครูรองรับ 2.6.การคัดเลือกบุคคลมาเป็นครู พบว่าผู้เข้าเรียนคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ แม้จะมีจำนวนมาก แต่ส่วนใหญ่มักจะเลือกเรียนไว้เป็นอันดับท้ายๆ เป็นความจำเป็นต้องเรียน ดังนั้น จึงไม่ได้คนเก่ง และมีใจรักมาเป็นค2.7. ด้านการพัฒนาครู ขาดระบบการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพต่อเนื่อง ขาดการดูแลเอาใจใส่รู
  • 13. 3. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและจัดการศึกษา และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมรวมทั้งการกระจายอำนาจ พบว่า 3.1. แม้จะมีกฎกระทรวง และหลักเกณฑ์และวิธีการการกระจายอำนาจ แต่หน่วยปฏิบัติยังไม่มีอิสระและความคล่องตัวในการบริหารงานและจัดการศึกษา เท่าที่ควร 3.2. การจัดการศึกษาของเอกชนยังไม่การขยายตัวเท่าที่ควร 3.3. สถานประกอบการและสถาบันต่างๆ มีส่วนร่วมจัดการศึกษาเพิ่มขึ้น แต่ยังมีสัดส่วนน้อยมาก
  • 14. 4. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา พบว่า 4.1. ท้องถิ่นไม่มีความพร้อมในการจัดการศึกษาปฐมวัย 4.2. เด็กที่เข้าเรียนการศึกษาภาคบังคับออกกลางคันมาก 4.3. เด็กไม่นิยมเรียนอาชีวศึกษา 4.4. การให้บริการการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาสยังไม่ทั่วถึง 4.5. การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ยังไม่มีกลไกที่ชัดเจน ขาดองค์ความรู้เครื่องมือในการจัดการ
  • 15. 5. การผลิตและพัฒนากำลังคน พบว่า 5.1. ผู้สำเร็จอาชีวศึกษากว่าร้อยละ 70 ศึกษาต่อปริญญาตรี ทำให้ขาดแคลนกำลังคนระดับกลางอย่างต่อเนื่อง 5.2. ผู้สำเร็จขาดความรู้และทักษะที่จำเป็น 5.3. การผลิตคนด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์เกินความต้องการ ทำให้บัณฑิตจบใหม่ตกงาน
  • 16. 6. ด้านการเงินเพื่อการศึกษา พบว่า 6.1. ความด้อยประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรเพื่อการศึกษา 6.2. กลไกของรัฐไม่เอื้อให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ศึกษาและระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.3. การจัดสรรงบประมาณตามความต้องการปัจจัยการผลิตไม่สัมพันธ์กับผลผลิต 6.4. การบริหารภายใต้กฎระเบียบทางราชการที่มีความตึงตัวสูง ทำให้สถานศึกษาขาดแรงจูงใจในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อการ แข่งขัน
  • 17. 7. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พบว่า 7.1. มีปัญหาการดำเนินการเนื่องมาจากขาดการพัฒนาเนื้อหาผ่านสื่อที่มีคุณภาพ 7.2. ขาดการพัฒนาการเรียนการสอนและการพัฒนาผู้สอน 7.3. ครูและนักเรียนนำความรู้ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยตนเองน้อย 7.4. สถานศึกษามีจำนวนคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ไม่เพียงพอ
  • 18. 8. ด้านกฎหมายการศึกษา พบว่า 8.1. กฎหมายการศึกษาอยู่ระหว่างดำเนินการหลายฉบับ 8.2. กฎหมายการศึกษาที่มีผลใช้บังคับแล้ว ยังไม่สามารถใช้บังคับได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8.3. การบริหารจัดการศึกษาบางเรื่องยังขาดกฎหมายรองรับ 8.4. หน่วยงานส่วนกลางบังคับใช้กฎหมายการศึกษา โดยเน้นโครงสร้างองค์กรมากกว่าการปฏิรูปคุณภาพการเรียนการสอน
  • 19. 9. ด้านการศึกษาตลอดชีวิต พบว่า 9.1. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยังขาดเนื้อหาและวิธีการที่เหมาะสม 9.2. ขาดการปรับปรุงกฎระเบียบที่จะเอื้ออำนวยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง 9.3. การศึกษาตลอดชีวิตยังไม่เป็นวิถีชีวิตของคนในชาติ