SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
-1-




            คู่มือ
  กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน




            โรงเรียนบ้านกาเนะ
           เครือข่ายเมืองสตูล 1
                อาเภอเมือง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
          กระทรวงศึกษาธิการ
-2-



            คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านกาเนะ
ความสาคัญ
       คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นองค์คณะบุคคลที่ทางานร่วมกับสถานศึกษา เพื่อให้
สถานศึกษามีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการด้วยตนเองได้ตามกรอบที่กฎหมายกาหนด ดังนั้นความ
หลากหลายของบุคคลที่เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการจึงเอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ต้องอาศัยความรู้
ความสามารถ และ ประสบการณ์ในด้านต่างๆ บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ
สถานศึกษาจึงมีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ชุมชน สังคมและประเทศ
ที่มาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้ นฐาน
          อาศัยอานาจตามความในมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง กาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์
วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง และ การพ้นจากตาแหน่ง
ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2546 กาหนดให้ "...สถานศึกษาขนาดเล็กให้มี
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ
2. กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้ปกครอง จานวนหนึ่งคน
3. กรรมการที่เป็นผู้แทนครู จานวนหนึ่งคน
4. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรชุมชน จานวนหนึ่งคน
5. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวนหนึ่งคน
6. กรรมการที่เป็นผู้แทนศิษย์เก่า จานวนหนึ่งคน
7. กรรมการที่เป็นผู้แทนพระภิกษุ และหรือ ผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นที่จานวนหนึ่งรูป หรือ หนึ่งคน
     สาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก และ จานวนสองรูป หรือ สองคน สาหรับ สถานศึกษาขนาดใหญ่
8. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนหนึ่งคนสาหรับสถานศึกษาขนาดเล็กและจานวนหกคน สาหรับ
     สถานศึกษาขนาดใหญ่
9. ผู้อานวยการ เป็นกรรมการและเลขานุการ
-3-


        นอกจากยังต้องมีคุณสมบัติอื่นๆ และวิธีดาเนินการสรรหาตาม ข้อ 3-6 แห่งกฎกระทรวงดังกล่าว
อานาจหน้าที่ ตามมาตราที่ 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 กาหนดให้มี "คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546 เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริม
กิจการของสถานศึกษา" ตามมาตราที่ 26 แห่งร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา พ.ศ. 2547 "ให้คณะกรรมการสถานศึกษามีอานาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา" ดังต่อไปนี้
1. กากับ ดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ
    หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษากาหนด
2. เสนอความต้องการจานวนและอัตราตาแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใน
    สถานศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา
3. ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา
    ต่อผู้บริหารสถานศึกษา
4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือ ตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่
    การศึกษามอบหมาย


                             บทบาทกรรมการสถานศึกษา

     คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นรูปแบบการบริหารจัดการศึกษา ที่กระทรวงศึกษาธิการได้
กาหนดให้มีทุกโรงเรียน โดยให้มีจานวนแตกต่างกันไปตามขนาดที่นับจากจานวนนักเรียนในโรงเรียนนั้น
และกาหนดให้มีการประชุมอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อกากับและส่งเสริมกิจกรรมของสถานศึกษาให้
มีประสิทธิภาพ คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทหน้าที่ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2543 ดังนี้..
หน้าที่ข้อ 1 กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาของสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
       1. ศึกษาและทาความเข้าใจในความมุ่งหมายหลักการของหารจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542
       2. ศึกษาและทาความเข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันของชุมชน/ท้องถิ่น ที่ตั้งของสถานศึกษา
     3. กาหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา ด้านวิชาการบุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ กิจกรรม 3.
กาหนดนโยบาย เป้า หมาย และทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
       4. กาหนดให้สถานศึกษา จัดทาธรรมนูญโรงเรียน
-4-


หน้าที่ ข้อ 2 ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
           1. ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา
           2. พิจารณาความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปี กับแผนพัฒนาของสถานศึกษา
       3. พิจารณาถึงความเป็นไปได้และความเหมาะสมเกี่ยวกับวิธีการหรือ ยุทธศาสตร์การดาเนินงาน
ของกิจกรรม งาน/โครงงานที่ระบุไว้ในแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา
           4. ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา
หน้าที่ ข้อ 3 ให้ความเห็นชอบในการจัดทาสาระหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น มีแนว
ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
           1. ศึกษาหลักการ จุดหมาย โครงสร้างของหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน
           2. พิจารณาความสอดคล้องของสาระการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
           3.พิจารณาความถูกต้องความสมบูรณ์ของสาระการเรียนรู้และความสอดคล้องกับความต้องการของ
ท้องถิ่น
           4. ให้ความเห็นชอบในการจัดทาสาระการเรียนรู้ของสถานศึกษา


หน้าที่ ข้อ 4 กากับและติดตามการดาเนินงานตามแผนของสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
           1. กาหนดแผนการกากับและติดตามร่วมกับสถานศึกษา ได้แก่ วิธีการ ระยะเวลา
      2. ดาเนินการกากับติดตามการดาเนินงานของสถานศึกษาตามแผนที่กาหนดไว้ โดยใช้เครื่องมือที่
หลากหลาย
        3.ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่สถานศึกษาและให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและขวัญกาลังใจในการ
ดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนและมีวิธีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
หน้าที่ ข้อ 5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กทุกคนในเขตบริการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงมี
คุณภาพและได้มาตรฐาน มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
           1.สถานศึกษาจัดทาข้อมูล สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับจานวนผู้เรียนการคมนาคม สภาพทางเศรษฐกิจ
           2. สนับสนุนและจัดหาที่เรียนให้แก่เด็กในพื้นที่บริการได้เข้าเรียนในสถานศึกษาให้มากที่สุด
           3. จัดหาทุนการศึกษาอุปกรณ์การศึกษาและสิ่งจาเป็นอื่น ๆ แก่ผู้เรียนที่ขาดแคลน
หน้าที่ ข้อ 6 พิทักษ์สิทธิเด็ก ดูแลเด็กพิการ เด็กด้อยโอกาสและเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ให้ได้รับการ
พัฒนาเต็มศักยภาพ มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
           1. สนับสนุนให้เด็กพิการ ได้มีการเรียนร่วมกับเด็กปกติ
-5-


         2. สอดส่อง ดูแลเด็กที่ได้รับการทารุณ กดขี่ ข่มเหง ล่วงละเมิดทางเพศ ใช้แรงงานเด็ก กักขัง ฯลฯ
ให้ได้รับความช่วยเหลือและส่งไปขอรับบริการที่เหมาะสม
        3. สอดส่อง ดูแลเด็กที่มีความบกพร่อง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและ
การเรียนรู้หรือมีร่างกายที่พิการ     หรือทุพพลภาพหรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาขั้น
พื้นฐานอย่างทั่วถึง
       4.ส่งเสริม สนับสนุน         ให้สถานศึกษาให้แก่เด็กที่มีความสามาถพิเศษให้ได้รับการพัฒนาเป็น
รายบุคคลให้มากที่สุด
       5. สนับสนุน ส่งเสริมการทางานร่วมกับ องค์กรการพิทักษ์สิทธิเด็ก
หน้าที่ ข้อ 7 เสนอแนะและมีส่วนร่วมในการบริหารด้านวิชาการด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล
และด้านการบริหารงานทั่วไปของสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
การบริหารจัดการด้านวิชาการ
       1. มีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรฐานวิชาการของศึกษา
       2. มีส่วนร่วมในการจัดหาผลิตสื่อเพื่อพัฒนาการเรียน


การบริหารจัดการด้านงบประมาณ
       1. มีส่วนร่วมในการกาหนดวิธีการบริหารใช้งบประมาณของสถานศึกษา โดยคานึงถึงประสิทธิภาพ
       2. มีส่วนร่วมในการกาหนดวิธีการตรวจสอบติดตามและประเมินผล
การบริหารจัดการด้านการบริหารงานบุคคล
      1.มีส่วนร่วมในการกาหนดแผนพัฒนาครูและบุคลากรอื่นในสถานศึกษาและส่งเสริมให้มีการ
พัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
       2. ให้ขวัญกาลังใจและยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ครูและบุคลากรอื่นในสถานศึกษา
หน้าที่ข้อ 8 ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิชาวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อส่งเสริม
พัฒนาการของนักเรียนทุกด้าน รวมทั้งสื่อสารจารีตประเพณีศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ มี
แนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
       1. หารายได้ทรัพย์สินและทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ เพื่อสนับสนุนจัดการเรียนการสอน
       2. ส่งเสริมและกากับติดตามการใช้วิทยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น
-6-


         3.ส่งเสริมและกากับติดตามเพื่อให้สถานศึกษากิจกรรมที่ศึกษาจารีตประเพณีศิลปวัฒนธรรมของ
ท้องถิ่นและของชาติ พร้อมทั้งการยกย่องเชิดชูเกียรติภูมิปัญญาท้องถิ่นตามความเหมาะสมและโอกาสอัน
สมควร
หน้าที่ข้อที่9   เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชนตลอดจนประสานงานกับองค์กรทั้ง
ภาครัฐและเอกชนเพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยากรของชุมชนและมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและ
ท้องถิ่น มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
       1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาร่วมกับชุมชน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนจัดกิจกรรมเพื่อ
พัฒนาท้องถิ่น
       2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาการและให้บริการด้านต่างๆ แก่ชุมชน
หน้าที่ข้อ 10 ให้ความเห็นชอบรายงานผลการดาเนินงานประจาปีของสถานศึกษา ก่อนเสนอต่อสาธารณชน
มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
       1. ให้สถานศึกษาจัดทารายงานผลการดาเนินงานประจาปี
       2. เสนอแนะในการปรับปรุงรายงานผลการดาเนินงานประจาปี
       3. ให้ความเห็นชอบรายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษาก่อนเผยแพร่ของสาธารณชน


หน้าที่ ข้อ 11 แต่งตั้งที่ปรึกษาและหรือคณะอนุกรรมการ เพื่อการดาเนินงานตามระเบียบนี้ ตามที่
เห็นสมควร มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
         ประธานกรรมการสถานศึกษาแต่งตั้งที่ปรึกษาและหรือคณะอนุกรรมการตามความเหมาะสมและ
ความจาเป็นในแต่ละกรณี
-7-


          บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
               บทบาทหน้าที่ของ                          บทบาทหน้าที่ของ
             สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน              คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑. ด้านวิชาการ                           ๑. ด้านวิชาการ
   ๑.๑ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้อง    ๑.๑ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและ หลักสูตรของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้เรียน ชุมชนและท้องถิ่น  หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
                                         ความต้องการของผู้เรียน ชุมชนและท้องถิ่น

   ๑.๒ จัดการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม               ๑.๒ ให้ข้อเสนอแนะ และส่งเสริมสนับสนุน
บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม และ            ในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น    กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา
สาคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ           ท้องถิ่น ฯลฯ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง                    การจัดการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง

   ๑.๓ จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน              ๑.๓ รับทราบ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ
สถานศึกษา และรายงานผลการประเมิน                 การจัดระบบและการดาเนินการตามระบบ
ให้คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบ                   ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

๒. ด้านงบประมาณ                                 ๒. ด้านงบประมาณ
   ๒.๑ จัดตั้งและรับผิดชอบการใช้จ่าย               ๒.๑ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ
งบประมาณของสถานศึกษา ตามที่กฎหมาย               จัดตั้ง และการใช้จ่ายงบประมาณของสถานศึกษา
ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด

    ๒.๒ ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และ              ๒.๒ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ในการ
แนวปฏิบัติ ฯลฯ เกี่ยวกับการบริหารการเงินและ     ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และแนวปฏิบัติ
การจัดหารายได้จากทรัพย์สินของสถานศึกษา          เกี่ยวกับการบริหารการเงินและการจัดหารายได้
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ         จากทรัพย์สินของสถานศึกษา หรือปฏิบัติหน้าที่
กาหนด                                           อื่นเกี่ยวกับเรื่องนี้ตามที่กฎหมาย ระเบียบ
                                                ประกาศ ฯลฯ กาหนด
-8-


บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
               บทบาทหน้าที่ของ                             บทบาทหน้าที่ของ
             สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน                  คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
 ๓. ด้านการบริหารงานบุคคล                    ๓. ด้านการบริหารงานบุคคล
    ดาเนินการตามที่กฎหมายว่าด้วยระเบียบ         ปฏิบัติตามที่กฎหมายว่าด้วยระเบียบ
 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากาหนด      ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
                                             กาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
                                             สถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน

 ๔. ด้านการบริหารทั่วไป                      ๔. ด้านการบริหารทั่วไป
    ๔.๑ จัดทานโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของ         ๔.๑ ให้ความเห็น เสนอแนะและให้คาปรึกษา
 สถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน         ในการจัดทานโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของ
 ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน               สถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน
 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน      ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน
 เขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งความต้องการของ    คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน
 ชุมชน และท้องถิ่น                           เขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งความต้องการของ
                                             ชุมชน และท้องถิ่น

   ๔.๒ ดาเนินการและกากับ ติดตาม และ             ๔.๒ รับทราบ ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะในการ
 ประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการของ            ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาและกิจการของ
                                             สถานศึกษาให้สอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
 สถานศึกษา
                                             ประกาศ คาสั่ง ตลอดจนนโยบาย และแผนของ
                                             กระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน คณะกรรมการ
                                             การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา
                                             และความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น และรายงาน
                                             สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาเมื่อสถานศึกษาไม่
                                             ปฏิบติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง
                                                 ั
                                             ตลอดจนนโยบาย และแผนของกระทรวงศึกษาธิการ
                                             สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                                             สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และความต้องการของ
                                             ชุมชนและท้องถิ่น
-9-


บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
               บทบาทหน้าที่ของ                               บทบาทหน้าที่ของ
            สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน                     คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
 ๔. ด้านการบริหารทั่วไป (ต่อ)                  ๔. ด้านการบริหารทั่วไป (ต่อ)
    ๔.๓ ระดมทรัพยากร เพื่อการศึกษา รวมทั้ง         ๔.๓ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ประสาน
 ปกครองดูแลบารุงรักษา ใช้ และจัดหา             ส่งเสริม สนับสนุนเกี่ยวกับการระดมทรัพยากร
 ผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา            เพื่อการศึกษารวมทั้งปกครองดูแลบารุงรักษา
 ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด         ใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ
                                               สถานศึกษา ตามที่กฎหมายระเบียบ ประกาศ
                                               ฯลฯ กาหนด

   ๔.๔ ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ                ๔.๔ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะและให้
 แนวปฏิบัติ ฯลฯ ในการดาเนินงานด้านต่างๆ        คาปรึกษาในการออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ
 ตามกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด            แนวปฏิบัติ ฯลฯ ในการดาเนินงานด้านต่าง ๆ
                                               ของสถานศึกษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ
                                               ฯลฯ กาหนด

    ๔.๕ ส่งเสริมความเข้มแข็งในชุมชนและ            ๔.๕ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ และให้
 สร้างความสัมพันธ์กับสถาบันอื่น ๆ ในชุมชน      คาปรึกษาในการส่งเสริมความเข้มแข็งในชุมชน
 และท้องถิ่น                                   และสร้างความสัมพันธ์กับสถาบันอื่น ๆ ใน
                                               ชุมชนและท้องถิ่น

   ๔.๖ ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการของ      ๔.๖ ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการของ
 สถานศึกษา หรือตามที่ได้รับมอบหมายและ          สถานศึกษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ
 ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด         ฯลฯ กาหนด ให้เป็นอานาจหน้าที่ของ
                                               คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
-10-



            คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านกาเนะ
ความสาคัญ
       คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นองค์คณะบุคคลที่ทางานร่วมกับสถานศึกษา เพื่อให้
สถานศึกษามีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการด้วยตนเองได้ตามกรอบที่กฎหมายกาหนด ดังนั้นความ
หลากหลายของบุคคลที่เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการจึงเอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ต้องอาศัยความรู้
ความสามารถ และ ประสบการณ์ในด้านต่างๆ บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ
สถานศึกษาจึงมีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ชุมชน สังคมและประเทศ
       ทีมาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้ นฐาน
         ่
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง กาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์
วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง และ การพ้นจากตาแหน่ง
ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2546 กาหนดให้ "...สถานศึกษาขนาดเล็กให้มี
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน ประกอบด้วย
          1. ประธานกรรมการ
          2. กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้ปกครอง จานวนหนึ่งคน
          2. กรรมการที่เป็นผู้แทนครู จานวนหนึ่งคน
          3. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรชุมชน จานวนหนึ่งคน
          4. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวนหนึ่งคน
          5. กรรมการที่เป็นผู้แทนศิษย์เก่า จานวนหนึ่งคน
          6. กรรมการที่เป็นผู้แทนพระภิกษุ และหรือ ผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นที่จานวนหนึ่งรูป หรือ
              หนึ่งคนสาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก และ จานวนสองรูป หรือ สองคน สาหรับ สถานศึกษา
              ขนาดใหญ่
          7. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนหนึ่งคนสาหรับสถานศึกษาขนาดเล็กและจานวนหกคน สาหรับ
              สถานศึกษาขนาดใหญ่
          8. ผู้อานวยการ เป็นกรรมการและเลขานุการ
-11-




นอกจากยังต้องมีคุณสมบัติอื่นๆ และวิธีดาเนินการสรรหาตาม ข้อ 3-6 แห่งกฎกระทรวงดังกล่าว
        อานาจหน้าที่ ตามมาตราที่ 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 กาหนดให้มี "คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546 เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริม
กิจการของสถานศึกษา" ตามมาตราที่ 26 แห่งร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา พ.ศ. 2547 "ให้คณะกรรมการสถานศึกษามีอานาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา" ดังต่อไปนี้
            1. กากับ ดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎระเบียบ
        ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษากาหนด
                                   ี
            2. เสนอความต้องการจานวนและอัตราตาแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
                 ในสถานศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา
            3. ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใน
                 สถานศึกษาต่อผู้บริหารสถานศึกษา
            4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือ ตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขต
                 พื้นที่การศึกษามอบหมาย
-12-




                 การปฏิบัติงานของ
           คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน




                              สาระสาคัญ
1. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นใคร.
    คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ตัวแทนประชาชน ผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องในเขตชุมชน
    ที่เข้ามามีส่วนรวมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนหรือสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในชุมชน
   มีใครบ้างที่เป็นองค์ประกอบ มี 7ประเภท ได้แก่
2.1. ผู้แทนผูปกครอง จะทาหน้าที่เป็นผู้สะท้อนปัญหาและความต้องการต้นคุณภาพทางการ
              ้
    ศึกษาและคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของนักเรียนตามทีคาดหวัง
                                                    ่
    : บอกกล่าวถึงปัญหา
    : ความต้องการถึงลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน
    : ความร่วมมือกับครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา เพื่อนผู้ปกครองและชุมชน
    เพื่อจัดการศึกษาของลูกหลานให้มีคุณภาพ
-13-




    2.2.ผู้แทนครู เป็นผู้ชานาญในสายวิชาชีพครูเพื่อนาเสนอข้อมูลด้าน
    การเรียนรู้ ปัญหาและความต้องการสนับสนุนช่วยเหลือรวมทั้งรายงานผล
    การจัดการศึกษา
    2.3.ผู้แทนองค์กรชุมชน จะชี้แจงสภาพปัญหาและความต้องการในการ
    พัฒนานักเรียน ซึ่งเป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของชุมชน ร่วมทั้งให้ความร่วมมือ
    กับโรงเรียนที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้
    2.4.ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ครอบคลุม
    เขตพื้นที่บริการของสถานศึกษา จะทาหน้าที่




• บ่งชี้ถึงสภาพปัญหา
•   ความต้องการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
•   ให้การสนับสนุนงบประมาณ
•    ทรัพยากรทางการจัดการและให้บริการด้านศึกษา อาทิ บุคลากร วัสดุ
•   ครุภัณฑ์ อาคาร สถานที่ โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยี
•    เชื่อมโยงแผนการศึกษา กับแผนพัฒนาท้องถิ่น
           2.5.ผู้แทนศิษย์เก่า จะเป็นผู้มีความรัก ความศรัทธา ความภาคภูมิใจต่อ
ผู้บริหาร ครู อาจารย์ นักการภารโรง และประชาชนผู้ให้การสนับสนุนต่อโรงเรียน
ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมที่ตนได้รับการศึกษา ซึ่งจะเป็นกาลังในการช่วยเหลือ
เจือจุน จรรโลงคุณค่าของโรงเรียนไปสู่ศิษย์รุ่นน้องๆ ให้รักเรียนให้จบและกลับมา
ช่วยเหลือเกื้อกูลโรงเรียนต่อไป.
-14-




   2.6.ผู้แทนพระภิกษุสง ์ หรือ ศาสนาอื่น
            ทาหน้าที่อบรมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักพุทธศาสนา เพื่อสร้าง
   เสริมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู้และเก่งกล้า
   สามารถต่อไป.
   2.7.ผู้ทรงคุณวุฒิ หมายถึงผู้มีความรู้ความสามารถ เป็นคนดี และมี
   ประสบการณ์ด้านต่างๆที่จะมาช่วยเสริมสร้างการจัดการศึกษาทุกๆ ด้านให้
   มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ สถานศึกษามีความเข้มแข็งและมีพัฒนาการแบบ
   ยั่งยืน




2.8.ผู้บริหารสถานศึกษา จะทาหน้าที่เป็นเลขานุการและสัญลักษณ์ของโรงเรียน
   เพื่อชี้แจงสภาพการบริหาร การจัดการ การให้บริการ คาปรึกษา สร้างแรงจูงใจ
ส่งเสริมการทางาน ทาหน้าที่รายงานและเสริมให้ผู้แทนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาท
ได้อย่างเต็มที่ รวมทั้งเตรียมการและบันทึกผลการประชุม ตลอดจนอานวย
ความสะดวกต่างๆ รวมทั้งนา มติ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จากที่ประชุม
ไปสู่การปฏิบัติ
3.ความสาคัญของคณะกรรมการสถานศึกษาฯ
           ผู้แทนจากกลุ่มบุคคลต่าง ๆ (2.1 – 2.8 จึงเป็นคณะบุคคลในการ
บริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนรวม เพราะสถานศึกษาแต่ละโรงเรียนนั้นเป็น
สถาบันแห่งคุณธรรม ผู้แทนแต่ละคนจึงอุดมด้วย
           : คุณงามความดี
           : มีความรู้
-15-




        :ประสบการณ์ที่หลากหลาย
        :เข้าใจการศึกษา
        :มีความมุ่งมั่น
        :มีเวลา
        :เต็มใจและพร้อมที่จะอุทศ แรงกาย แรงใจพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
                                   ิ
         ได้มาตรฐานตามที่ ชุมชน สังคมต้องการ และ
       : ส่งผลให้เยาวชนเป็นคนดี มีคณธรรม มีความรู้ และความปรีชาสามารถ
                                         ุ
         ตลอดจนทาให้
       : ชุมชนและสังคมเข้มแข็งและประเทศชาติก้าวหน้า.
                สิ่งเหล่านี้จึงเป็นปัจจัยที่บ่งบอกถึงความสาคัญของคณะกรรมการ
สถานศึกษาฯ และเพื่อตอบปัญหาว่า

        ทาไม – เพราะเหตุใด จึงต้องมีคณะกรรมการสถานศึกษาขันพื้นฐาน
                                                         ้
-16-




4.อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ มี 3 ลักษณะ ดังนี้
         4.1.กากับการดาเนินงาน ด้านวิชาการ งบประมาณ บริหารบุคคลและ
บริหารงานทั่วไปของโรงเรียนให้สอดคล้องกับกฎหมาย กฎระเบียบ คาสั่ง และ
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หากพบว่าโรงเรียนดาเนินการไม่สอดคล้อง
ไม่ดาเนินการให้ถูกต้องคณะกรรมการฯ ต้องเสนอความเห็นต่อสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา สั่งการตามลาดับขั้นต่อไป ไม่มีอานาจสั่งการไปยังโรงเรียนแต่ประการ
ใด .
         4.2.ส่งเสริมกิจการของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีระบบ มีประสิทธิภาพ
ให้บริการการศึกษาอย่างกว้างขวาง ทั่วถึงมีคุณภาพตลอดจนเป็นที่ยอมรับ ศรัทธา
เชื่อถือของชุมชน
-17-




                4.3. อานาจหน้าที่การบริหารงานบุคคล 2 ประเภท
                ประเภท : ข้าราชการครู ต้องขึ้นกับกฎหมาย
        ว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู
                ประเภท : บุคลากรทางการศึกษาเป็นอานาจของ กรรมการ
        สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
                4.4. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ
        ฯลฯ กาหนดไว้




5.ภาระกิจการงานที่ต้องทาร่วมกับโรงเรียน ได้แก่
         5.1.งานวิชาการ
                  : ให้ความเห็นการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและ
                  ความต้องการของท้องถิน   ่
                  : เสนอแนะ ส่งเสริม สนับสนุนสภาพสิ่งแวดล้อม แหล่งการเรียนรู้
                    กระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพ
                  : รับทราบและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดระบบ – การประกันคุณภาพ
         5.2.ด้านงบประมาณ
                  : ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ การจัดตั้ง การใช้จ่ายงบประมาณให้เหมาะสม
                  : เสนอแนะความคิดเห็นเกี่ยวกับการนากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับฯ มาใช้
                   ให้เกิดประโยชน์.
         5.3.ด้านบริหารบุคคล
                  : ให้ปฏิบัติตามระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา
                    ให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาฯ
-18-




     5.4.ด้านการบริหารทั่วไป
     : ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ให้คาปรึกษา จัดทานโยบาย และพัฒนา
     : รับทราบ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพและ
      กิจการของโรงเรียน
     : ให้ความเห็น เสนอแนะ ประสาน ส่งเสริมสนับสนุน เพื่อระดมทุนทาง
      สังคม – วัฒนธรรม ตลอดจน ขอความช่วยเหลือจากทุกฝายในท้องถิ่น
     : ร่วมมือสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชนด้วยกระบวนการสร้าง
      ความสัมพันธ์แบบวัฒนธรรมไทย – การเอาแรง ลงแขก




           อนาคตของครอบครัว ชุมชน
             สังคม และประเทศชาติ
                   ขึ้นอยู่กับ
เยาวชนคนไทยที่ผ่านกระบวนการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพื่อสร้างคนดี
                 มีคุณธรรม มีความรู้ ปรีชาสามารถ

                       พระบรมราโชวาท

                 เพราะการศึกษาทาให้
            คนหายโง่ หายจน หายเจ็บ ได้พร้อมๆ กัน
                  ม.ร.ว. ศึกฤทธิ ปราโมท.
-19-



                                                        บันทึก

............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
-20-


              คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านกาเนะ

ที่                ชื่อ - สกุล        ตาแหน่ง                      หมายเหตุ

1.    นายสุชาติ หลงโซ๊ะ            ประธานกรรมการ       ผู้ทรงคุณวุฒิ

2.    นายรอหีม กาสา                   กรรมการ          ผูแทนศิษย์เก่า
                                                         ้

3.    นายกูมาแอ สตอหลง                กรรมการ          ผู้แทนผู้ปกครอง

4.    นายอับดุลมานับ หลงหัน           กรรมการ          ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน
                                                                                   ่

5.    นายดอล๊ะ กาสา                   กรรมการ          ผู้ทรงคุณวุฒิ

6.    นายเส็น หลังยาหน่าย             กรรมการ          ผู้แทนศาสนา

7.    นางสาวมานิจ บัวดวง              กรรมการ          ผู้แทนองค์กรชุมชน

8.    นางบุญตา ยากะจิ                 กรรมการ          ผู้แทนครู

9.    นายมนตรี จรียานุวัฒน์      กรรมการและเลขานุการ   ผู้บริหารโรงเรียน

More Related Content

What's hot

ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2551
ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2551 ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2551
ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2551 ตะหลึ่ง' ตึ่งโป๊ะ
 
คำสั่ง 127 2558 กรรมการ 4 ฝ่าย
คำสั่ง 127 2558 กรรมการ 4 ฝ่ายคำสั่ง 127 2558 กรรมการ 4 ฝ่าย
คำสั่ง 127 2558 กรรมการ 4 ฝ่ายKenjisang Psk
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการyahapop
 
กฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรกฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรYosiri
 
กีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอลกีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอลApaiwong Nalinee
 
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านคู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านInfluencer TH
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนสภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวันthunchanokteenzaa54
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)Natee Tasanakulwat
 
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptxPPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptxssuser305ac3
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (20)

สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
 
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา  ผลเกิดก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา  ผลเกิด
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2551
ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2551 ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2551
ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2551
 
คำสั่ง 127 2558 กรรมการ 4 ฝ่าย
คำสั่ง 127 2558 กรรมการ 4 ฝ่ายคำสั่ง 127 2558 กรรมการ 4 ฝ่าย
คำสั่ง 127 2558 กรรมการ 4 ฝ่าย
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการการใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการ
 
กฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรกฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากร
 
กีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอลกีฬาวอลเลย์บอล
กีฬาวอลเลย์บอล
 
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้านคู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
คู่มือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และบูรณาการ เล่มที่ 1 พหุปัญญา 9 ด้าน
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิงอิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
 
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptxPPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
PPT_รายงานโครงการ 2 หน้า.pptx
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
Thairadio
ThairadioThairadio
Thairadio
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อแนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
 

Similar to คู่มือกรรมการโรงเรียน 55

กศน ตำบล
กศน  ตำบลกศน  ตำบล
กศน ตำบลkruteerapol
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 

Similar to คู่มือกรรมการโรงเรียน 55 (20)

สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
กศน ตำบล
กศน  ตำบลกศน  ตำบล
กศน ตำบล
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 

More from Montree Jareeyanuwat

รางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่นรางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่นMontree Jareeyanuwat
 
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพปรางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพปMontree Jareeyanuwat
 
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นรางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นMontree Jareeyanuwat
 
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551Montree Jareeyanuwat
 
โรงเรียนดีเด่น
โรงเรียนดีเด่นโรงเรียนดีเด่น
โรงเรียนดีเด่นMontree Jareeyanuwat
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54Montree Jareeyanuwat
 
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตาMontree Jareeyanuwat
 
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุดสรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุดMontree Jareeyanuwat
 
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปีการจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปีMontree Jareeyanuwat
 
กิจกรรมสภานักเรียน
กิจกรรมสภานักเรียนกิจกรรมสภานักเรียน
กิจกรรมสภานักเรียนMontree Jareeyanuwat
 
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนMontree Jareeyanuwat
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองMontree Jareeyanuwat
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองMontree Jareeyanuwat
 
รูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีรูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีMontree Jareeyanuwat
 
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพMontree Jareeyanuwat
 
พัฒนาบุคลากร
พัฒนาบุคลากรพัฒนาบุคลากร
พัฒนาบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 

More from Montree Jareeyanuwat (20)

รางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่นรางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่น
 
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพปรางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
 
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นรางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
 
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
 
โรงเรียนดีเด่น
โรงเรียนดีเด่นโรงเรียนดีเด่น
โรงเรียนดีเด่น
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
 
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
O net
O netO net
O net
 
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุดสรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
 
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปีการจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
 
กิจกรรมสภานักเรียน
กิจกรรมสภานักเรียนกิจกรรมสภานักเรียน
กิจกรรมสภานักเรียน
 
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง
 
รูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีรูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรี
 
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
 
พัฒนาบุคลากร
พัฒนาบุคลากรพัฒนาบุคลากร
พัฒนาบุคลากร
 

คู่มือกรรมการโรงเรียน 55

  • 1. -1- คู่มือ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านกาเนะ เครือข่ายเมืองสตูล 1 อาเภอเมือง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. -2- คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านกาเนะ ความสาคัญ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นองค์คณะบุคคลที่ทางานร่วมกับสถานศึกษา เพื่อให้ สถานศึกษามีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการด้วยตนเองได้ตามกรอบที่กฎหมายกาหนด ดังนั้นความ หลากหลายของบุคคลที่เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการจึงเอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ในด้านต่างๆ บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ สถานศึกษาจึงมีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ชุมชน สังคมและประเทศ ที่มาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้ นฐาน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง กาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง และ การพ้นจากตาแหน่ง ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2546 กาหนดให้ "...สถานศึกษาขนาดเล็กให้มี คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน ประกอบด้วย 1. ประธานกรรมการ 2. กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้ปกครอง จานวนหนึ่งคน 3. กรรมการที่เป็นผู้แทนครู จานวนหนึ่งคน 4. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรชุมชน จานวนหนึ่งคน 5. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวนหนึ่งคน 6. กรรมการที่เป็นผู้แทนศิษย์เก่า จานวนหนึ่งคน 7. กรรมการที่เป็นผู้แทนพระภิกษุ และหรือ ผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นที่จานวนหนึ่งรูป หรือ หนึ่งคน สาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก และ จานวนสองรูป หรือ สองคน สาหรับ สถานศึกษาขนาดใหญ่ 8. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนหนึ่งคนสาหรับสถานศึกษาขนาดเล็กและจานวนหกคน สาหรับ สถานศึกษาขนาดใหญ่ 9. ผู้อานวยการ เป็นกรรมการและเลขานุการ
  • 3. -3- นอกจากยังต้องมีคุณสมบัติอื่นๆ และวิธีดาเนินการสรรหาตาม ข้อ 3-6 แห่งกฎกระทรวงดังกล่าว อานาจหน้าที่ ตามมาตราที่ 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กาหนดให้มี "คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546 เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริม กิจการของสถานศึกษา" ตามมาตราที่ 26 แห่งร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา พ.ศ. 2547 "ให้คณะกรรมการสถานศึกษามีอานาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา" ดังต่อไปนี้ 1. กากับ ดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษากาหนด 2. เสนอความต้องการจานวนและอัตราตาแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใน สถานศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา 3. ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา ต่อผู้บริหารสถานศึกษา 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือ ตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษามอบหมาย บทบาทกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นรูปแบบการบริหารจัดการศึกษา ที่กระทรวงศึกษาธิการได้ กาหนดให้มีทุกโรงเรียน โดยให้มีจานวนแตกต่างกันไปตามขนาดที่นับจากจานวนนักเรียนในโรงเรียนนั้น และกาหนดให้มีการประชุมอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อกากับและส่งเสริมกิจกรรมของสถานศึกษาให้ มีประสิทธิภาพ คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทหน้าที่ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2543 ดังนี้.. หน้าที่ข้อ 1 กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาของสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาและทาความเข้าใจในความมุ่งหมายหลักการของหารจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 2. ศึกษาและทาความเข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันของชุมชน/ท้องถิ่น ที่ตั้งของสถานศึกษา 3. กาหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา ด้านวิชาการบุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ กิจกรรม 3. กาหนดนโยบาย เป้า หมาย และทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 4. กาหนดให้สถานศึกษา จัดทาธรรมนูญโรงเรียน
  • 4. -4- หน้าที่ ข้อ 2 ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา 2. พิจารณาความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปี กับแผนพัฒนาของสถานศึกษา 3. พิจารณาถึงความเป็นไปได้และความเหมาะสมเกี่ยวกับวิธีการหรือ ยุทธศาสตร์การดาเนินงาน ของกิจกรรม งาน/โครงงานที่ระบุไว้ในแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา 4. ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา หน้าที่ ข้อ 3 ให้ความเห็นชอบในการจัดทาสาระหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น มีแนว ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาหลักการ จุดหมาย โครงสร้างของหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. พิจารณาความสอดคล้องของสาระการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.พิจารณาความถูกต้องความสมบูรณ์ของสาระการเรียนรู้และความสอดคล้องกับความต้องการของ ท้องถิ่น 4. ให้ความเห็นชอบในการจัดทาสาระการเรียนรู้ของสถานศึกษา หน้าที่ ข้อ 4 กากับและติดตามการดาเนินงานตามแผนของสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. กาหนดแผนการกากับและติดตามร่วมกับสถานศึกษา ได้แก่ วิธีการ ระยะเวลา 2. ดาเนินการกากับติดตามการดาเนินงานของสถานศึกษาตามแผนที่กาหนดไว้ โดยใช้เครื่องมือที่ หลากหลาย 3.ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่สถานศึกษาและให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและขวัญกาลังใจในการ ดาเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนและมีวิธีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หน้าที่ ข้อ 5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กทุกคนในเขตบริการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงมี คุณภาพและได้มาตรฐาน มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1.สถานศึกษาจัดทาข้อมูล สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับจานวนผู้เรียนการคมนาคม สภาพทางเศรษฐกิจ 2. สนับสนุนและจัดหาที่เรียนให้แก่เด็กในพื้นที่บริการได้เข้าเรียนในสถานศึกษาให้มากที่สุด 3. จัดหาทุนการศึกษาอุปกรณ์การศึกษาและสิ่งจาเป็นอื่น ๆ แก่ผู้เรียนที่ขาดแคลน หน้าที่ ข้อ 6 พิทักษ์สิทธิเด็ก ดูแลเด็กพิการ เด็กด้อยโอกาสและเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ให้ได้รับการ พัฒนาเต็มศักยภาพ มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. สนับสนุนให้เด็กพิการ ได้มีการเรียนร่วมกับเด็กปกติ
  • 5. -5- 2. สอดส่อง ดูแลเด็กที่ได้รับการทารุณ กดขี่ ข่มเหง ล่วงละเมิดทางเพศ ใช้แรงงานเด็ก กักขัง ฯลฯ ให้ได้รับความช่วยเหลือและส่งไปขอรับบริการที่เหมาะสม 3. สอดส่อง ดูแลเด็กที่มีความบกพร่อง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและ การเรียนรู้หรือมีร่างกายที่พิการ หรือทุพพลภาพหรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาขั้น พื้นฐานอย่างทั่วถึง 4.ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาให้แก่เด็กที่มีความสามาถพิเศษให้ได้รับการพัฒนาเป็น รายบุคคลให้มากที่สุด 5. สนับสนุน ส่งเสริมการทางานร่วมกับ องค์กรการพิทักษ์สิทธิเด็ก หน้าที่ ข้อ 7 เสนอแนะและมีส่วนร่วมในการบริหารด้านวิชาการด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไปของสถานศึกษา มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ การบริหารจัดการด้านวิชาการ 1. มีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรฐานวิชาการของศึกษา 2. มีส่วนร่วมในการจัดหาผลิตสื่อเพื่อพัฒนาการเรียน การบริหารจัดการด้านงบประมาณ 1. มีส่วนร่วมในการกาหนดวิธีการบริหารใช้งบประมาณของสถานศึกษา โดยคานึงถึงประสิทธิภาพ 2. มีส่วนร่วมในการกาหนดวิธีการตรวจสอบติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการด้านการบริหารงานบุคคล 1.มีส่วนร่วมในการกาหนดแผนพัฒนาครูและบุคลากรอื่นในสถานศึกษาและส่งเสริมให้มีการ พัฒนาการอย่างต่อเนื่อง 2. ให้ขวัญกาลังใจและยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ครูและบุคลากรอื่นในสถานศึกษา หน้าที่ข้อ 8 ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิชาวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อส่งเสริม พัฒนาการของนักเรียนทุกด้าน รวมทั้งสื่อสารจารีตประเพณีศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ มี แนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. หารายได้ทรัพย์สินและทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ เพื่อสนับสนุนจัดการเรียนการสอน 2. ส่งเสริมและกากับติดตามการใช้วิทยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 6. -6- 3.ส่งเสริมและกากับติดตามเพื่อให้สถานศึกษากิจกรรมที่ศึกษาจารีตประเพณีศิลปวัฒนธรรมของ ท้องถิ่นและของชาติ พร้อมทั้งการยกย่องเชิดชูเกียรติภูมิปัญญาท้องถิ่นตามความเหมาะสมและโอกาสอัน สมควร หน้าที่ข้อที่9 เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชนตลอดจนประสานงานกับองค์กรทั้ง ภาครัฐและเอกชนเพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยากรของชุมชนและมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและ ท้องถิ่น มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาร่วมกับชุมชน องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนจัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนาท้องถิ่น 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาการและให้บริการด้านต่างๆ แก่ชุมชน หน้าที่ข้อ 10 ให้ความเห็นชอบรายงานผลการดาเนินงานประจาปีของสถานศึกษา ก่อนเสนอต่อสาธารณชน มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1. ให้สถานศึกษาจัดทารายงานผลการดาเนินงานประจาปี 2. เสนอแนะในการปรับปรุงรายงานผลการดาเนินงานประจาปี 3. ให้ความเห็นชอบรายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษาก่อนเผยแพร่ของสาธารณชน หน้าที่ ข้อ 11 แต่งตั้งที่ปรึกษาและหรือคณะอนุกรรมการ เพื่อการดาเนินงานตามระเบียบนี้ ตามที่ เห็นสมควร มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ ประธานกรรมการสถานศึกษาแต่งตั้งที่ปรึกษาและหรือคณะอนุกรรมการตามความเหมาะสมและ ความจาเป็นในแต่ละกรณี
  • 7. -7- บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน บทบาทหน้าที่ของ บทบาทหน้าที่ของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑. ด้านวิชาการ ๑. ด้านวิชาการ ๑.๑ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้อง ๑.๑ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในการพัฒนา กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและ หลักสูตรของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้เรียน ชุมชนและท้องถิ่น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและ ความต้องการของผู้เรียน ชุมชนและท้องถิ่น ๑.๒ จัดการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม ๑.๒ ให้ข้อเสนอแนะ และส่งเสริมสนับสนุน บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม และ ในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา สาคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ ท้องถิ่น ฯลฯ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง การจัดการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๑.๓ จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน ๑.๓ รับทราบ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ สถานศึกษา และรายงานผลการประเมิน การจัดระบบและการดาเนินการตามระบบ ให้คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๒. ด้านงบประมาณ ๒. ด้านงบประมาณ ๒.๑ จัดตั้งและรับผิดชอบการใช้จ่าย ๒.๑ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ งบประมาณของสถานศึกษา ตามที่กฎหมาย จัดตั้ง และการใช้จ่ายงบประมาณของสถานศึกษา ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด ๒.๒ ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และ ๒.๒ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ในการ แนวปฏิบัติ ฯลฯ เกี่ยวกับการบริหารการเงินและ ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และแนวปฏิบัติ การจัดหารายได้จากทรัพย์สินของสถานศึกษา เกี่ยวกับการบริหารการเงินและการจัดหารายได้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ จากทรัพย์สินของสถานศึกษา หรือปฏิบัติหน้าที่ กาหนด อื่นเกี่ยวกับเรื่องนี้ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด
  • 8. -8- บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน บทบาทหน้าที่ของ บทบาทหน้าที่ของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓. ด้านการบริหารงานบุคคล ๓. ด้านการบริหารงานบุคคล ดาเนินการตามที่กฎหมายว่าด้วยระเบียบ ปฏิบัติตามที่กฎหมายว่าด้วยระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากาหนด ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ สถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๔. ด้านการบริหารทั่วไป ๔. ด้านการบริหารทั่วไป ๔.๑ จัดทานโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของ ๔.๑ ให้ความเห็น เสนอแนะและให้คาปรึกษา สถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน ในการจัดทานโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของ ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน สถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งความต้องการของ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน ชุมชน และท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งความต้องการของ ชุมชน และท้องถิ่น ๔.๒ ดาเนินการและกากับ ติดตาม และ ๔.๒ รับทราบ ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะในการ ประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการของ ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาและกิจการของ สถานศึกษาให้สอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ สถานศึกษา ประกาศ คาสั่ง ตลอดจนนโยบาย และแผนของ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น และรายงาน สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาเมื่อสถานศึกษาไม่ ปฏิบติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง ั ตลอดจนนโยบาย และแผนของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และความต้องการของ ชุมชนและท้องถิ่น
  • 9. -9- บทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน บทบาทหน้าที่ของ บทบาทหน้าที่ของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔. ด้านการบริหารทั่วไป (ต่อ) ๔. ด้านการบริหารทั่วไป (ต่อ) ๔.๓ ระดมทรัพยากร เพื่อการศึกษา รวมทั้ง ๔.๓ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ประสาน ปกครองดูแลบารุงรักษา ใช้ และจัดหา ส่งเสริม สนับสนุนเกี่ยวกับการระดมทรัพยากร ผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา เพื่อการศึกษารวมทั้งปกครองดูแลบารุงรักษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด ใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ สถานศึกษา ตามที่กฎหมายระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด ๔.๔ ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ๔.๔ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะและให้ แนวปฏิบัติ ฯลฯ ในการดาเนินงานด้านต่างๆ คาปรึกษาในการออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ตามกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด แนวปฏิบัติ ฯลฯ ในการดาเนินงานด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด ๔.๕ ส่งเสริมความเข้มแข็งในชุมชนและ ๔.๕ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ และให้ สร้างความสัมพันธ์กับสถาบันอื่น ๆ ในชุมชน คาปรึกษาในการส่งเสริมความเข้มแข็งในชุมชน และท้องถิ่น และสร้างความสัมพันธ์กับสถาบันอื่น ๆ ใน ชุมชนและท้องถิ่น ๔.๖ ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการของ ๔.๖ ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการของ สถานศึกษา หรือตามที่ได้รับมอบหมายและ สถานศึกษา ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด ฯลฯ กาหนด ให้เป็นอานาจหน้าที่ของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 10. -10- คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านกาเนะ ความสาคัญ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นองค์คณะบุคคลที่ทางานร่วมกับสถานศึกษา เพื่อให้ สถานศึกษามีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการด้วยตนเองได้ตามกรอบที่กฎหมายกาหนด ดังนั้นความ หลากหลายของบุคคลที่เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการจึงเอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ในด้านต่างๆ บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ สถานศึกษาจึงมีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ชุมชน สังคมและประเทศ ทีมาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้ นฐาน ่ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง กาหนดจานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดารงตาแหน่ง และ การพ้นจากตาแหน่ง ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2546 กาหนดให้ "...สถานศึกษาขนาดเล็กให้มี คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 9 คน ประกอบด้วย 1. ประธานกรรมการ 2. กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้ปกครอง จานวนหนึ่งคน 2. กรรมการที่เป็นผู้แทนครู จานวนหนึ่งคน 3. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรชุมชน จานวนหนึ่งคน 4. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวนหนึ่งคน 5. กรรมการที่เป็นผู้แทนศิษย์เก่า จานวนหนึ่งคน 6. กรรมการที่เป็นผู้แทนพระภิกษุ และหรือ ผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นที่จานวนหนึ่งรูป หรือ หนึ่งคนสาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก และ จานวนสองรูป หรือ สองคน สาหรับ สถานศึกษา ขนาดใหญ่ 7. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนหนึ่งคนสาหรับสถานศึกษาขนาดเล็กและจานวนหกคน สาหรับ สถานศึกษาขนาดใหญ่ 8. ผู้อานวยการ เป็นกรรมการและเลขานุการ
  • 11. -11- นอกจากยังต้องมีคุณสมบัติอื่นๆ และวิธีดาเนินการสรรหาตาม ข้อ 3-6 แห่งกฎกระทรวงดังกล่าว อานาจหน้าที่ ตามมาตราที่ 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กาหนดให้มี "คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2546 เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริม กิจการของสถานศึกษา" ตามมาตราที่ 26 แห่งร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา พ.ศ. 2547 "ให้คณะกรรมการสถานศึกษามีอานาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา" ดังต่อไปนี้ 1. กากับ ดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์และวิธการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษากาหนด ี 2. เสนอความต้องการจานวนและอัตราตาแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษาเพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา 3. ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใน สถานศึกษาต่อผู้บริหารสถานศึกษา 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือ ตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่การศึกษามอบหมาย
  • 12. -12- การปฏิบัติงานของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สาระสาคัญ 1. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นใคร. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ตัวแทนประชาชน ผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องในเขตชุมชน ที่เข้ามามีส่วนรวมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนหรือสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในชุมชน มีใครบ้างที่เป็นองค์ประกอบ มี 7ประเภท ได้แก่ 2.1. ผู้แทนผูปกครอง จะทาหน้าที่เป็นผู้สะท้อนปัญหาและความต้องการต้นคุณภาพทางการ ้ ศึกษาและคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของนักเรียนตามทีคาดหวัง ่ : บอกกล่าวถึงปัญหา : ความต้องการถึงลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน : ความร่วมมือกับครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา เพื่อนผู้ปกครองและชุมชน เพื่อจัดการศึกษาของลูกหลานให้มีคุณภาพ
  • 13. -13- 2.2.ผู้แทนครู เป็นผู้ชานาญในสายวิชาชีพครูเพื่อนาเสนอข้อมูลด้าน การเรียนรู้ ปัญหาและความต้องการสนับสนุนช่วยเหลือรวมทั้งรายงานผล การจัดการศึกษา 2.3.ผู้แทนองค์กรชุมชน จะชี้แจงสภาพปัญหาและความต้องการในการ พัฒนานักเรียน ซึ่งเป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของชุมชน ร่วมทั้งให้ความร่วมมือ กับโรงเรียนที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ 2.4.ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ครอบคลุม เขตพื้นที่บริการของสถานศึกษา จะทาหน้าที่ • บ่งชี้ถึงสภาพปัญหา • ความต้องการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา • ให้การสนับสนุนงบประมาณ • ทรัพยากรทางการจัดการและให้บริการด้านศึกษา อาทิ บุคลากร วัสดุ • ครุภัณฑ์ อาคาร สถานที่ โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยี • เชื่อมโยงแผนการศึกษา กับแผนพัฒนาท้องถิ่น 2.5.ผู้แทนศิษย์เก่า จะเป็นผู้มีความรัก ความศรัทธา ความภาคภูมิใจต่อ ผู้บริหาร ครู อาจารย์ นักการภารโรง และประชาชนผู้ให้การสนับสนุนต่อโรงเรียน ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมที่ตนได้รับการศึกษา ซึ่งจะเป็นกาลังในการช่วยเหลือ เจือจุน จรรโลงคุณค่าของโรงเรียนไปสู่ศิษย์รุ่นน้องๆ ให้รักเรียนให้จบและกลับมา ช่วยเหลือเกื้อกูลโรงเรียนต่อไป.
  • 14. -14- 2.6.ผู้แทนพระภิกษุสง ์ หรือ ศาสนาอื่น ทาหน้าที่อบรมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักพุทธศาสนา เพื่อสร้าง เสริมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู้และเก่งกล้า สามารถต่อไป. 2.7.ผู้ทรงคุณวุฒิ หมายถึงผู้มีความรู้ความสามารถ เป็นคนดี และมี ประสบการณ์ด้านต่างๆที่จะมาช่วยเสริมสร้างการจัดการศึกษาทุกๆ ด้านให้ มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ สถานศึกษามีความเข้มแข็งและมีพัฒนาการแบบ ยั่งยืน 2.8.ผู้บริหารสถานศึกษา จะทาหน้าที่เป็นเลขานุการและสัญลักษณ์ของโรงเรียน เพื่อชี้แจงสภาพการบริหาร การจัดการ การให้บริการ คาปรึกษา สร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมการทางาน ทาหน้าที่รายงานและเสริมให้ผู้แทนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาท ได้อย่างเต็มที่ รวมทั้งเตรียมการและบันทึกผลการประชุม ตลอดจนอานวย ความสะดวกต่างๆ รวมทั้งนา มติ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จากที่ประชุม ไปสู่การปฏิบัติ 3.ความสาคัญของคณะกรรมการสถานศึกษาฯ ผู้แทนจากกลุ่มบุคคลต่าง ๆ (2.1 – 2.8 จึงเป็นคณะบุคคลในการ บริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนรวม เพราะสถานศึกษาแต่ละโรงเรียนนั้นเป็น สถาบันแห่งคุณธรรม ผู้แทนแต่ละคนจึงอุดมด้วย : คุณงามความดี : มีความรู้
  • 15. -15- :ประสบการณ์ที่หลากหลาย :เข้าใจการศึกษา :มีความมุ่งมั่น :มีเวลา :เต็มใจและพร้อมที่จะอุทศ แรงกาย แรงใจพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ิ ได้มาตรฐานตามที่ ชุมชน สังคมต้องการ และ : ส่งผลให้เยาวชนเป็นคนดี มีคณธรรม มีความรู้ และความปรีชาสามารถ ุ ตลอดจนทาให้ : ชุมชนและสังคมเข้มแข็งและประเทศชาติก้าวหน้า. สิ่งเหล่านี้จึงเป็นปัจจัยที่บ่งบอกถึงความสาคัญของคณะกรรมการ สถานศึกษาฯ และเพื่อตอบปัญหาว่า ทาไม – เพราะเหตุใด จึงต้องมีคณะกรรมการสถานศึกษาขันพื้นฐาน ้
  • 16. -16- 4.อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ มี 3 ลักษณะ ดังนี้ 4.1.กากับการดาเนินงาน ด้านวิชาการ งบประมาณ บริหารบุคคลและ บริหารงานทั่วไปของโรงเรียนให้สอดคล้องกับกฎหมาย กฎระเบียบ คาสั่ง และ นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หากพบว่าโรงเรียนดาเนินการไม่สอดคล้อง ไม่ดาเนินการให้ถูกต้องคณะกรรมการฯ ต้องเสนอความเห็นต่อสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา สั่งการตามลาดับขั้นต่อไป ไม่มีอานาจสั่งการไปยังโรงเรียนแต่ประการ ใด . 4.2.ส่งเสริมกิจการของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีระบบ มีประสิทธิภาพ ให้บริการการศึกษาอย่างกว้างขวาง ทั่วถึงมีคุณภาพตลอดจนเป็นที่ยอมรับ ศรัทธา เชื่อถือของชุมชน
  • 17. -17- 4.3. อานาจหน้าที่การบริหารงานบุคคล 2 ประเภท ประเภท : ข้าราชการครู ต้องขึ้นกับกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู ประเภท : บุคลากรทางการศึกษาเป็นอานาจของ กรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4.4. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนดไว้ 5.ภาระกิจการงานที่ต้องทาร่วมกับโรงเรียน ได้แก่ 5.1.งานวิชาการ : ให้ความเห็นการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางและ ความต้องการของท้องถิน ่ : เสนอแนะ ส่งเสริม สนับสนุนสภาพสิ่งแวดล้อม แหล่งการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพ : รับทราบและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดระบบ – การประกันคุณภาพ 5.2.ด้านงบประมาณ : ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ การจัดตั้ง การใช้จ่ายงบประมาณให้เหมาะสม : เสนอแนะความคิดเห็นเกี่ยวกับการนากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับฯ มาใช้ ให้เกิดประโยชน์. 5.3.ด้านบริหารบุคคล : ให้ปฏิบัติตามระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาฯ
  • 18. -18- 5.4.ด้านการบริหารทั่วไป : ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ให้คาปรึกษา จัดทานโยบาย และพัฒนา : รับทราบ ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพและ กิจการของโรงเรียน : ให้ความเห็น เสนอแนะ ประสาน ส่งเสริมสนับสนุน เพื่อระดมทุนทาง สังคม – วัฒนธรรม ตลอดจน ขอความช่วยเหลือจากทุกฝายในท้องถิ่น : ร่วมมือสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชนด้วยกระบวนการสร้าง ความสัมพันธ์แบบวัฒนธรรมไทย – การเอาแรง ลงแขก อนาคตของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ขึ้นอยู่กับ เยาวชนคนไทยที่ผ่านกระบวนการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพื่อสร้างคนดี มีคุณธรรม มีความรู้ ปรีชาสามารถ พระบรมราโชวาท เพราะการศึกษาทาให้ คนหายโง่ หายจน หายเจ็บ ได้พร้อมๆ กัน ม.ร.ว. ศึกฤทธิ ปราโมท.
  • 19. -19- บันทึก ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................
  • 20. -20- คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านกาเนะ ที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง หมายเหตุ 1. นายสุชาติ หลงโซ๊ะ ประธานกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ 2. นายรอหีม กาสา กรรมการ ผูแทนศิษย์เก่า ้ 3. นายกูมาแอ สตอหลง กรรมการ ผู้แทนผู้ปกครอง 4. นายอับดุลมานับ หลงหัน กรรมการ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ 5. นายดอล๊ะ กาสา กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ 6. นายเส็น หลังยาหน่าย กรรมการ ผู้แทนศาสนา 7. นางสาวมานิจ บัวดวง กรรมการ ผู้แทนองค์กรชุมชน 8. นางบุญตา ยากะจิ กรรมการ ผู้แทนครู 9. นายมนตรี จรียานุวัฒน์ กรรมการและเลขานุการ ผู้บริหารโรงเรียน