SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
การแบ่งสายงานการบริหาร
ประกอบด้วย 4 ฝ่าย และ 2 งาน ดังนี้
ข้อมูลผู้บริหาร ประจําปีการศึกษา
1. ผู้อํานวยการโรงเรียน
วุฒิการศึกษาสูงสุด
โทรศัพท์
ดํารงตําแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่
เป็นเวลา
2. รองผู้อํานวยการโรงเรียน
2.1 นายณรงค์ ศรไชย
โทรศัพท์
รับผิดชอบ
2.2 นายณรงค์ชัย เอราวรรณ
โทรศัพท์
รับผิดชอบ
2.3 นายอาคม วงศ์บา
โทรศัพท์
รับผิดชอบ
2.4 นายศักดิ์ชัย คํายนต์
โทรศัพท์
รับผิดชอบ
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่
งาน ดังนี้
1) ฝ่ายบริหารงบประมาณ
2) ฝ่ายบริหารงานบุคคล
3) ฝ่ายบริหารงานวิชาการ
4) ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
5) งานชุมชนและภาคีเครือข่าย
6) งานนโยบายและแผนงาน
ข้อมูลผู้บริหาร ประจําปีการศึกษา 2556
ผู้อํานวยการโรงเรียน นายพงษ์อนันต์ ธรรมศิริ
วุฒิการศึกษาสูงสุด กศ.ม. สาขา บริหารการศึกษา
โทรศัพท์ 045-697088 e-mail prangku_pk@hotmail.com
ดํารงตําแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ 4 ตุลาคม 2555 จนถึงปัจจุบัน
เป็นเวลา - ปี 10 เดือน
รองผู้อํานวยการโรงเรียน 4 คน ประกอบด้วย
นายณรงค์ ศรไชย วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม บริหารการศึกษา
โทรศัพท์ 045-697088 e-mail Sonchai_pk@hotmail.com
รับผิดชอบฝ่ายบริหารงบประมาณ
นายณรงค์ชัย เอราวรรณ วุฒิการศึกษาสูงสุด กศม.บริหารการศึกษา
โทรศัพท์ 045-697088 e-mail prangku_pk@hotmail.com
รับผิดชอบฝ่ายบริหารงานวิชาการ
นายอาคม วงศ์บา วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม บริหารการศึกษา
โทรศัพท์ 045-697088 e-mail prangku_pk@hotmail.com
รับผิดชอบฝ่ายบริหารงานบุคคล
นายศักดิ์ชัย คํายนต์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม บริหารการศึกษา
โทรศัพท์ 045-697088 e-mail prangku_pk@hotmail.com
รับผิดชอบฝ่ายบริหารงานทั่วไป
prangku_pk@hotmail.com
จนถึงปัจจุบัน
บริหารการศึกษา
Sonchai_pk@hotmail.com
บริหารการศึกษา
prangku_pk@hotmail.com
บริหารการศึกษา
prangku_pk@hotmail.com
บริหารการศึกษา
prangku_pk@hotmail.com
แนวทางจัดการศึกษาของโรงเรียนปรางค์กู่
วิสัยทัศน์ของโรงเรียน (VISION)
โรงเรียนปรางค์กู่ มุ่งสู่มาตรฐานสากล ทุกคนมีส่วนร่วม ศูนย์รวมภาษา พัฒนาสู่อาเซียน
ผู้เรียนดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกิจ (MISSION)
1.ส่งเสริมการนําระบบการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2.ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้มุ่งสู่อาเซียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
3.ส่งเสริมการนําสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4.ส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา และอาชีพ
5.ส่งเสริมผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการอนุรักษ์ความเป็นไทย
6.ส่งเสริมการนําข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการบริหารสถานศึกษา
7.ส่งเสริมให้บุคลากร ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารการจัดการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
8.ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในทุกๆ ด้าน อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
9.พัฒนาสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียนรู้
10. ส่งเสริมการนําภาษาสากลมาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาสู่โรงเรียน
มาตรฐานสากล
11. บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
12. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และการพัฒนาสู่อาเซียน
13. ส่งเสริมบุคลากร นักเรียนและชุมชนดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าประสงค์ (GOALS)
1. โรงเรียนปรางค์กู่มีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ มีบรรยากาศและวัฒนธรรมในการ
ปฏิบัติงานแบบกัลยาณมิตร ร่วมสร้างสรรค์และรับผิดชอบ นําระบบการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมถึงการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2. นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อการเรียนรู้ มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ มีความรู้สู่อาเซียน
3. นักเรียนมีความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา อาชีพและนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนรู้
4. นักเรียนมีทักษะในการดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยม และมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
5. นักเรียนมีความสามารถทางภาษาสากลและนําภาษาสากลมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
สู่โรงเรียนมาตรฐานสากล
อัตลักษณ์
รอบรู้ภาษา ก้าวหน้าวิชาการ เบ่งบานคุณธรรม
เอกลักษณ์
รอบรู้ภาษา
ประเด็นกลยุทธ์/กลยุทธ์
กลยุทธ์ของโรงเรียน
1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ
ทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง และลดความเหลื่อมล้ํา ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนา
เต็มตามศักยภาพ
4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
5. พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมทุกภาค
ส่วน ในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา
จุดเน้นสพม. 28 : จุดเน้นโรงเรียน
1. มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากลโดยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-Net
ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สูงขั้นร้อยละ 5
2. ส่งเสริมให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อม ม.3 และ ม.6 ให้มีความพร้อมก่อนเข้าสอบ O-Net
ปีการศึกษา 2557
3. ส่งเสริมให้นักเรียนอ่านคล่องเขียนคล่อง
4. มุ่งเน้นลดอัตราการออกกลางคัน ลดอัตราการไม่จบพร้อมรุ่น ลด 0, ร, มส, มผ
5. พัฒนาศักยภาพผู้เรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาให้มีทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ
ภาษาประเทศอาเซียนและภาษาต่างประเทศอื่นๆ เพื่อเตรียมสถานศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนและสู่มาตรฐาน
สากล
6. ปลูกผังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
7. ส่งเสริมจิตสํานึกความเป็นไทยในสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ การปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
8. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย สังคมศึกษา ประชาธิปไตย
มีความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
9. ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา
10. ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
11. ส่งเสริมการดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
12. มุ่งเน้นขยายผลสถานศึกษาต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
13. เร่งรัดให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
14. เสริมสร้างระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
15. ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
16. ส่งเสริมการจัดการศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาสําหรับ
ผู้ด้อยโอกาส การจัดการศึกษาสําหรับผู้พิการ
17. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
18. พัฒนาส่งเสริมการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง
เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
19. พัฒนาระบบการนิเทศภายใน การกํากับติดตามความก้าวหน้าของสถานศึกษาและให้ความ
ช่วยเหลือเป็นรายโรงเรียน
20. มุ่งเน้นให้สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการวางแผนพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
ส่งเสริมการดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มุ่งเน้นขยายผลสถานศึกษาต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เร่งรัดให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เสริมสร้างระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ส่งเสริมการจัดการศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาสําหรับ
ผู้ด้อยโอกาส การจัดการศึกษาสําหรับผู้พิการ
พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาส่งเสริมการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง
เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
รนิเทศภายใน การกํากับติดตามความก้าวหน้าของสถานศึกษาและให้ความ
มุ่งเน้นให้สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการวางแผนพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
ส่งเสริมการจัดการศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาสําหรับ
พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาส่งเสริมการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง
รนิเทศภายใน การกํากับติดตามความก้าวหน้าของสถานศึกษาและให้ความ
มุ่งเน้นให้สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการวางแผนพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
สภาพปัจจุบันของโรงเรียน
จัดกลุ่มตามสภาพของโรงเรียนทางด้านต่าง ๆ ดังนี้
ด้านนักเรียน
๑. โรงเรียนให้ความเสมอภาคทางการศึกษาแก่นักเรียนทุกคน โดยเท่าเทียมกัน ทําให้นักเรียนมี
โอกาสเลือกเรียนตามความถนัดความสามารถ และความสนใจของตนเอง
๒. นักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนส่วนใหญ่ เป็นบุคคลที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
การศึกษา และสามารถศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนมีชื่อเสียง
๓. โรงเรียนจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนได้ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา ขนบธรรมเนียม
ประเพณีและวัฒนธรรม ส่งผลให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ รวมทั้งเป็นสมาชิก
ที่ดีของชุมชน
๔. โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนทางด้านดนตรี กีฬา และศิลปะ อย่างต่อเนื่องส่งผลให้
นักเรียนมีสุขภาพจิตและสุขภาพกายที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ บุคลิกภาพที่ดี แสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสม
รวมทั้งมีระเบียบวินัย
ด้านครูและบุคลากรในโรงเรียน
๑. บุคลากรของโรงเรียนมีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถ จบการศึกษาปริญญาตรีและปริญญา
โท มีวุฒิทางการสอน สอนตรงตามวุฒิ และมีประสบการณ์ในการทํางานมานานรวมทั้งเป็นผู้มีคุณธรรม
จริยธรรม ตามจรรยาบรรณของครู ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง และบรรลุตามมาตรฐาน
คุณภาพทางการศึกษา
๒. ผู้บริหารมีภาวะผู้นํา มีคุณธรรมจริยธรรม มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถในการบริหารจัดการ
ส่งผลให้คณะครูมีขวัญและกําลังใจในการทํางาน
๓. โรงเรียนส่งเสริมการพัฒนาและบุคลากรในโรงเรียนอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง ทําให้ครูและ
บุคลากรมีคุณภาพเป็นที่น่าเชื่อถือตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
ด้านโรงเรียน
๑.การจัดการโครงสร้างของโรงเรียน โดยมีการกระจายการบริหารเป็นฝ่าย งาน กลุ่มสาระ การเรียนรู้
และระดับชั้น ส่งผลให้การบริหารจัดการของโรงเรียนเป็นไปอย่างเหมาะสมคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ
๒.การบริหารที่บุคลากรมรส่วนร่วมในการกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ส่งผลให้การ
ดําเนินงานของโรงเรียนมีประสงค์ ส่งผลให้การดําเนินงานของโรงเรียนมีประสิทธิภาพและเป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน
๓.แหล่งบริการการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน มีความพร้อมหลากหลายและปลอดภัย
ทําให้โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครองและสังคม
๔.การจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสําคัญ และการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรอย่าง
หลากหลายส่งผลให้นักเรียนคิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาเป็นมีภาวะผู้นํา มีทักษะในการจัดการ และทํางาน
ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๕.การบริหารการเงินและงบประมาณตามแผนปฏิบัติการของโรงเรียนโปร่งใส่ตรวจสอบได้ ทําให้การ
บริหารจัดการของโรงเรียนมีประสิทธิภาพ
๖.โรงเรียนมีอาคารสถานที่เพียงพอ ส่งผลให้การบริการทางการศึกษาทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
เป็นไปด้วยดี
๗.โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ อินเตอร์เน็ต ศูนย์การเรียนรู้ในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ช่วยให้นักเรียนมีโอกาสในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและเสริมสร้างการ นิสัยใฝ่เรียน
ใฝ่รู้ ตลอดจนการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
๘.โรงเรียนมีนวัตกรรม สื่อการเรียนการสอน อย่างหลากหลาย ส่งผลให้จัดการเรียนการสอนบรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
๙.โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหารที่เหมาะสม ชัดเจน ทําให้การบริหารจัดการที่เป็นระบบ โปร่งใส
คล่องตัว สามารถตรวจสอบได้
๑๐.โรงเรียนจักระบบการแระกันคุณภาพการศึกษา และการประเมินภายในสถานศึกษาทําให้
โรงเรียนทราบจุดเด่นที่ควรปรับปรุง เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาโรงเรียนต่อไป
๑๑.โรงเรียนให้ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชน มีส่วนในการตรวจสอบการจัดการ
การศึกษาของโรงเรียน ทําให้โรงเรียนเป็นที่เชื่อถือศรัทธาของชุมชน
ด้านนโยบายและสภาพแวดล้อม
๑.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นที่ฐาน สมาคมผู้ปกครองและครู ศิษย์เก่า ตลอดจนชุมชนมีส่วน
ร่วมในการสนับสนุนด้านการเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนสามารถบริหารจัดการและพัฒนาการเรียนการ
สอนได้เหมาะสมกับความต้องการของชุมและบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน
๒.โรงเรียนได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากองค์กรต่าง ๆ ผู้ปกครองและชุมชน ทํา ให้สามารถ
ระดมทุนทรัพย์พัฒนาโรงเรียน ทําให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
สภาพปัญหาของโรงเรียน
จัดกลุ่มตามสภาพของโรงเรียนทางด้านต่าง ๆ ดังนี้
ด้านนักเรียน
๑. สภาพครอบครัวที่ขาดความอบอุ่น เน้นวัตถุนิยมและปกป้องลูกหลาน โดยขาดเหตุผล อีกทั้ง
สภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียน ซึ่งเป็นสถานบริการและแหล่งอบายมุขต่าง ๆ ส่งผลให้นักเรียนบางส่วนมี
พฤติกรรมไม่เหมาะสม
๒. นักเรียนบางส่วนขาดจิตสํานึกในการดูแล รักษา สาธารณสมบัติของโรงเรียน ทําให้นักเรียน
ทําลายโต๊ะ เก้าอี้ ที่นั่งพักผ่อน ประตูห้องน้ํา – ห้องส้วม ไม่รักษาความสะอาดสถานที่และบริเวณของโรงเรียน
ด้านครูและบุครากรในโรงเรียน
๑. ครูและบุครากรของโรงเรียนไม่เพียงพอในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนต้อง
จ้างครูและบุครากรช่วยงาน จํานวนมาก ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง
๒. เนื่องจากครูบางส่วน เป็นวัยสูงอายุ ส่งผลให้ครูปรับไม่ทันการเปลี่ยนแปลงทางด้านการปฏิรูป
การศึกษาและเทคโนโลยีต่าง ๆ
๓. ครูและบุครากร จํานวนน้อย ส่งผลให้คาบสอนของบุครากรแต่ละคนมีจํานวนมากและยังมีงาน
พิเศษอื่น ๆ อีก ส่งผลให้การเรียนการสอนไม่เต็มที่เท่าที่ควร
ด้านโรงเรียน
๑. การประสานงานแผนการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียนยังไม่สมบูรณ์ ส่งผล
ให้การดําเนินงานต่าง ๆ ไม่ราบลื่น
๒. โรงเรียนไม่มีการจัดทําหลักสูตรพิเศษ สําหรับนักเรียนกรณีพิเศษ หรือความสามารถพิเศษ ทําให้
นักเรียนดังกล่าวขาดโอกาสที่จะได้รับการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ
๓. การจัดระบบการบริหารด้านโภชนาการ อาหาร และน้ําดื่มของโรงเรียนยังไม่ได้มาตรฐานและไม่
เพียงพอ ส่งผลให้นักเรียนไม่สะดวกในการใช้บริการ ขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย
๔. การจัดกิจกรรมต่าง ๆ มาก จนเป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน ทําให้จัดการเรียนการ
สอนไม่เต็มที่เท่าที่ควร
๕. การนิเทศติดตามและประเมินผลการดําเนินงานทุกด้านของโรงเรียนยังไม่มีประสิทธิภาพ
เท่าที่ควร ส่งผลให้ไม่สามารถทราบผลการดําเนินงานว่าบรรลุเป้าหมายมากน้อยเพียงใด
ด้านนโยบายและสภาพแวดล้อม
๑. แหล่งบริการอินเตอร์เน็ตภายในโรงเรียนมีน้อย ไม่เพียงพอ และมีนักเรียนบางส่วนใช้บริการใน
ด้านความบันเทิงมากกว่าการสืบค้นหาความรู้ เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ไม่เกิดประโยชน์
๒. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา สินค้าอุปโภค บริโภคขึ้นราคา ส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายของนักเรียน
๓. นโยบายการลงโทษนักเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ มีผลกระทบต่อการปกครองดูแลนักเรียน
ทั้งในด้านความประพฤติและการเรียนการสอน
๔. นโยบายการรับนักเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่กําหนดเขตพื้นที่บริการ เป็นการจํากัดสิทธิขั้น
พื้นฐานของเด็กที่อยู่นอกเขตพื้นที่บริการ ส่งผลให้โรงเรียนไม่สามารถคัดเลือกนักเรียนที่มีคุณภาพเข้าศึกษาต่อ
ในโรงเรียนได้
ความต้องการของโรงเรียน
๑. สนับสนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความร่วมมือของผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา
๒. ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ตามหลักศาสนา
เห็นคุณค่าในตัวเอง มีจิตสํานึกที่ถูกต้องในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
๓. สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาความรู้ ความสามารถของครูและบุครากรทางการศึกษา ในการจัดการ
เรียนการสอน
๔. พัฒนาและปรับปรุง อาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ สาธารณูปโภค แหล่งเรียนรู้ วัสดุครุภัณฑ์ และ
เทคโนโลยีในด้านการเรียนการสอนและการบริการ
การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่

More Related Content

What's hot

พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1Esarnee
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาPinmanas Kotcha
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษาkruthai40
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทองเทวัญ ภูพานทอง
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนarunrat bamrungchit
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญkruprang
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1thanakit553
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...Sircom Smarnbua
 

What's hot (20)

พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1พัฒนาหลักสูตร1
พัฒนาหลักสูตร1
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิดก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ. 2 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
ก.ค.ศ.2
ก.ค.ศ.2ก.ค.ศ.2
ก.ค.ศ.2
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณา
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทองรายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ  ภูพานทอง
รายงานการปฏิบัติราชการ ปี 2555 ครูเทวัญ ภูพานทอง
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1
 
05 sar2556 251257
05 sar2556 25125705 sar2556 251257
05 sar2556 251257
 
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา ผลเกิด
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา  ผลเกิดก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา  ผลเกิด
ก.ค.ศ.1 นางรุ่งนภา ผลเกิด
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
Sar 59 wichai li
Sar 59 wichai liSar 59 wichai li
Sar 59 wichai li
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
 

Similar to การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่

จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรEsarnee
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่Watcharasak Chantong
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 Watcharasak Chantong
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559worapanthewaha
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นรินทร์ แสนแก้ว
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6kruchaily
 

Similar to การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่ (20)

นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
 
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ2559
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
 

การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่

  • 1. การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่ การแบ่งสายงานการบริหาร ประกอบด้วย 4 ฝ่าย และ 2 งาน ดังนี้ ข้อมูลผู้บริหาร ประจําปีการศึกษา 1. ผู้อํานวยการโรงเรียน วุฒิการศึกษาสูงสุด โทรศัพท์ ดํารงตําแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ เป็นเวลา 2. รองผู้อํานวยการโรงเรียน 2.1 นายณรงค์ ศรไชย โทรศัพท์ รับผิดชอบ 2.2 นายณรงค์ชัย เอราวรรณ โทรศัพท์ รับผิดชอบ 2.3 นายอาคม วงศ์บา โทรศัพท์ รับผิดชอบ 2.4 นายศักดิ์ชัย คํายนต์ โทรศัพท์ รับผิดชอบ การบริหารงานโรงเรียนปรางค์กู่ งาน ดังนี้ 1) ฝ่ายบริหารงบประมาณ 2) ฝ่ายบริหารงานบุคคล 3) ฝ่ายบริหารงานวิชาการ 4) ฝ่ายบริหารงานทั่วไป 5) งานชุมชนและภาคีเครือข่าย 6) งานนโยบายและแผนงาน ข้อมูลผู้บริหาร ประจําปีการศึกษา 2556 ผู้อํานวยการโรงเรียน นายพงษ์อนันต์ ธรรมศิริ วุฒิการศึกษาสูงสุด กศ.ม. สาขา บริหารการศึกษา โทรศัพท์ 045-697088 e-mail prangku_pk@hotmail.com ดํารงตําแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ 4 ตุลาคม 2555 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา - ปี 10 เดือน รองผู้อํานวยการโรงเรียน 4 คน ประกอบด้วย นายณรงค์ ศรไชย วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม บริหารการศึกษา โทรศัพท์ 045-697088 e-mail Sonchai_pk@hotmail.com รับผิดชอบฝ่ายบริหารงบประมาณ นายณรงค์ชัย เอราวรรณ วุฒิการศึกษาสูงสุด กศม.บริหารการศึกษา โทรศัพท์ 045-697088 e-mail prangku_pk@hotmail.com รับผิดชอบฝ่ายบริหารงานวิชาการ นายอาคม วงศ์บา วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม บริหารการศึกษา โทรศัพท์ 045-697088 e-mail prangku_pk@hotmail.com รับผิดชอบฝ่ายบริหารงานบุคคล นายศักดิ์ชัย คํายนต์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม บริหารการศึกษา โทรศัพท์ 045-697088 e-mail prangku_pk@hotmail.com รับผิดชอบฝ่ายบริหารงานทั่วไป prangku_pk@hotmail.com จนถึงปัจจุบัน บริหารการศึกษา Sonchai_pk@hotmail.com บริหารการศึกษา prangku_pk@hotmail.com บริหารการศึกษา prangku_pk@hotmail.com บริหารการศึกษา prangku_pk@hotmail.com
  • 2. แนวทางจัดการศึกษาของโรงเรียนปรางค์กู่ วิสัยทัศน์ของโรงเรียน (VISION) โรงเรียนปรางค์กู่ มุ่งสู่มาตรฐานสากล ทุกคนมีส่วนร่วม ศูนย์รวมภาษา พัฒนาสู่อาเซียน ผู้เรียนดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ (MISSION) 1.ส่งเสริมการนําระบบการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2.ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้มุ่งสู่อาเซียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 3.ส่งเสริมการนําสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 4.ส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา และอาชีพ 5.ส่งเสริมผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการอนุรักษ์ความเป็นไทย 6.ส่งเสริมการนําข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการบริหารสถานศึกษา 7.ส่งเสริมให้บุคลากร ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารการจัดการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 8.ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในทุกๆ ด้าน อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 9.พัฒนาสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 10. ส่งเสริมการนําภาษาสากลมาใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาสู่โรงเรียน มาตรฐานสากล 11. บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 12. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และการพัฒนาสู่อาเซียน 13. ส่งเสริมบุคลากร นักเรียนและชุมชนดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์ (GOALS) 1. โรงเรียนปรางค์กู่มีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ มีบรรยากาศและวัฒนธรรมในการ ปฏิบัติงานแบบกัลยาณมิตร ร่วมสร้างสรรค์และรับผิดชอบ นําระบบการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมถึงการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2. นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการเรียนรู้ มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์ มีความรู้สู่อาเซียน 3. นักเรียนมีความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา อาชีพและนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนรู้ 4. นักเรียนมีทักษะในการดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 5. นักเรียนมีความสามารถทางภาษาสากลและนําภาษาสากลมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา สู่โรงเรียนมาตรฐานสากล
  • 3. อัตลักษณ์ รอบรู้ภาษา ก้าวหน้าวิชาการ เบ่งบานคุณธรรม เอกลักษณ์ รอบรู้ภาษา ประเด็นกลยุทธ์/กลยุทธ์ กลยุทธ์ของโรงเรียน 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ ทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ 2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสํานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง และลดความเหลื่อมล้ํา ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนา เต็มตามศักยภาพ 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 5. พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมทุกภาค ส่วน ในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา จุดเน้นสพม. 28 : จุดเน้นโรงเรียน 1. มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากลโดยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-Net ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สูงขั้นร้อยละ 5 2. ส่งเสริมให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อม ม.3 และ ม.6 ให้มีความพร้อมก่อนเข้าสอบ O-Net ปีการศึกษา 2557 3. ส่งเสริมให้นักเรียนอ่านคล่องเขียนคล่อง 4. มุ่งเน้นลดอัตราการออกกลางคัน ลดอัตราการไม่จบพร้อมรุ่น ลด 0, ร, มส, มผ 5. พัฒนาศักยภาพผู้เรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาให้มีทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ ภาษาประเทศอาเซียนและภาษาต่างประเทศอื่นๆ เพื่อเตรียมสถานศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนและสู่มาตรฐาน สากล 6. ปลูกผังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 7. ส่งเสริมจิตสํานึกความเป็นไทยในสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ การปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 8. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย สังคมศึกษา ประชาธิปไตย มีความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 9. ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา 10. ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
  • 4. 11. ส่งเสริมการดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 12. มุ่งเน้นขยายผลสถานศึกษาต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง 13. เร่งรัดให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14. เสริมสร้างระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 15. ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 16. ส่งเสริมการจัดการศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาสําหรับ ผู้ด้อยโอกาส การจัดการศึกษาสําหรับผู้พิการ 17. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 18. พัฒนาส่งเสริมการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก 19. พัฒนาระบบการนิเทศภายใน การกํากับติดตามความก้าวหน้าของสถานศึกษาและให้ความ ช่วยเหลือเป็นรายโรงเรียน 20. มุ่งเน้นให้สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการวางแผนพัฒนางานอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการดํารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นขยายผลสถานศึกษาต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง เร่งรัดให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เสริมสร้างระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ส่งเสริมการจัดการศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาสําหรับ ผู้ด้อยโอกาส การจัดการศึกษาสําหรับผู้พิการ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาส่งเสริมการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก รนิเทศภายใน การกํากับติดตามความก้าวหน้าของสถานศึกษาและให้ความ มุ่งเน้นให้สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการวางแผนพัฒนางานอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการจัดการศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษานอกระบบ การจัดการศึกษาสําหรับ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาส่งเสริมการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็ง รนิเทศภายใน การกํากับติดตามความก้าวหน้าของสถานศึกษาและให้ความ มุ่งเน้นให้สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการวางแผนพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
  • 5. สภาพปัจจุบันของโรงเรียน จัดกลุ่มตามสภาพของโรงเรียนทางด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านนักเรียน ๑. โรงเรียนให้ความเสมอภาคทางการศึกษาแก่นักเรียนทุกคน โดยเท่าเทียมกัน ทําให้นักเรียนมี โอกาสเลือกเรียนตามความถนัดความสามารถ และความสนใจของตนเอง ๒. นักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียนส่วนใหญ่ เป็นบุคคลที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน การศึกษา และสามารถศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนมีชื่อเสียง ๓. โรงเรียนจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนได้ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ส่งผลให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ รวมทั้งเป็นสมาชิก ที่ดีของชุมชน ๔. โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนทางด้านดนตรี กีฬา และศิลปะ อย่างต่อเนื่องส่งผลให้ นักเรียนมีสุขภาพจิตและสุขภาพกายที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ บุคลิกภาพที่ดี แสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสม รวมทั้งมีระเบียบวินัย ด้านครูและบุคลากรในโรงเรียน ๑. บุคลากรของโรงเรียนมีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถ จบการศึกษาปริญญาตรีและปริญญา โท มีวุฒิทางการสอน สอนตรงตามวุฒิ และมีประสบการณ์ในการทํางานมานานรวมทั้งเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ตามจรรยาบรรณของครู ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง และบรรลุตามมาตรฐาน คุณภาพทางการศึกษา ๒. ผู้บริหารมีภาวะผู้นํา มีคุณธรรมจริยธรรม มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถในการบริหารจัดการ ส่งผลให้คณะครูมีขวัญและกําลังใจในการทํางาน ๓. โรงเรียนส่งเสริมการพัฒนาและบุคลากรในโรงเรียนอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง ทําให้ครูและ บุคลากรมีคุณภาพเป็นที่น่าเชื่อถือตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ด้านโรงเรียน ๑.การจัดการโครงสร้างของโรงเรียน โดยมีการกระจายการบริหารเป็นฝ่าย งาน กลุ่มสาระ การเรียนรู้ และระดับชั้น ส่งผลให้การบริหารจัดการของโรงเรียนเป็นไปอย่างเหมาะสมคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ ๒.การบริหารที่บุคลากรมรส่วนร่วมในการกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ส่งผลให้การ ดําเนินงานของโรงเรียนมีประสงค์ ส่งผลให้การดําเนินงานของโรงเรียนมีประสิทธิภาพและเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน ๓.แหล่งบริการการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน มีความพร้อมหลากหลายและปลอดภัย ทําให้โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครองและสังคม
  • 6. ๔.การจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสําคัญ และการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรอย่าง หลากหลายส่งผลให้นักเรียนคิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาเป็นมีภาวะผู้นํา มีทักษะในการจัดการ และทํางาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕.การบริหารการเงินและงบประมาณตามแผนปฏิบัติการของโรงเรียนโปร่งใส่ตรวจสอบได้ ทําให้การ บริหารจัดการของโรงเรียนมีประสิทธิภาพ ๖.โรงเรียนมีอาคารสถานที่เพียงพอ ส่งผลให้การบริการทางการศึกษาทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เป็นไปด้วยดี ๗.โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ อินเตอร์เน็ต ศูนย์การเรียนรู้ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ช่วยให้นักเรียนมีโอกาสในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและเสริมสร้างการ นิสัยใฝ่เรียน ใฝ่รู้ ตลอดจนการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๘.โรงเรียนมีนวัตกรรม สื่อการเรียนการสอน อย่างหลากหลาย ส่งผลให้จัดการเรียนการสอนบรรลุ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ๙.โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหารที่เหมาะสม ชัดเจน ทําให้การบริหารจัดการที่เป็นระบบ โปร่งใส คล่องตัว สามารถตรวจสอบได้ ๑๐.โรงเรียนจักระบบการแระกันคุณภาพการศึกษา และการประเมินภายในสถานศึกษาทําให้ โรงเรียนทราบจุดเด่นที่ควรปรับปรุง เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาโรงเรียนต่อไป ๑๑.โรงเรียนให้ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชน มีส่วนในการตรวจสอบการจัดการ การศึกษาของโรงเรียน ทําให้โรงเรียนเป็นที่เชื่อถือศรัทธาของชุมชน ด้านนโยบายและสภาพแวดล้อม ๑.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นที่ฐาน สมาคมผู้ปกครองและครู ศิษย์เก่า ตลอดจนชุมชนมีส่วน ร่วมในการสนับสนุนด้านการเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนสามารถบริหารจัดการและพัฒนาการเรียนการ สอนได้เหมาะสมกับความต้องการของชุมและบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ๒.โรงเรียนได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากองค์กรต่าง ๆ ผู้ปกครองและชุมชน ทํา ให้สามารถ ระดมทุนทรัพย์พัฒนาโรงเรียน ทําให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 7. สภาพปัญหาของโรงเรียน จัดกลุ่มตามสภาพของโรงเรียนทางด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านนักเรียน ๑. สภาพครอบครัวที่ขาดความอบอุ่น เน้นวัตถุนิยมและปกป้องลูกหลาน โดยขาดเหตุผล อีกทั้ง สภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียน ซึ่งเป็นสถานบริการและแหล่งอบายมุขต่าง ๆ ส่งผลให้นักเรียนบางส่วนมี พฤติกรรมไม่เหมาะสม ๒. นักเรียนบางส่วนขาดจิตสํานึกในการดูแล รักษา สาธารณสมบัติของโรงเรียน ทําให้นักเรียน ทําลายโต๊ะ เก้าอี้ ที่นั่งพักผ่อน ประตูห้องน้ํา – ห้องส้วม ไม่รักษาความสะอาดสถานที่และบริเวณของโรงเรียน ด้านครูและบุครากรในโรงเรียน ๑. ครูและบุครากรของโรงเรียนไม่เพียงพอในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนต้อง จ้างครูและบุครากรช่วยงาน จํานวนมาก ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง ๒. เนื่องจากครูบางส่วน เป็นวัยสูงอายุ ส่งผลให้ครูปรับไม่ทันการเปลี่ยนแปลงทางด้านการปฏิรูป การศึกษาและเทคโนโลยีต่าง ๆ ๓. ครูและบุครากร จํานวนน้อย ส่งผลให้คาบสอนของบุครากรแต่ละคนมีจํานวนมากและยังมีงาน พิเศษอื่น ๆ อีก ส่งผลให้การเรียนการสอนไม่เต็มที่เท่าที่ควร ด้านโรงเรียน ๑. การประสานงานแผนการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียนยังไม่สมบูรณ์ ส่งผล ให้การดําเนินงานต่าง ๆ ไม่ราบลื่น ๒. โรงเรียนไม่มีการจัดทําหลักสูตรพิเศษ สําหรับนักเรียนกรณีพิเศษ หรือความสามารถพิเศษ ทําให้ นักเรียนดังกล่าวขาดโอกาสที่จะได้รับการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ ๓. การจัดระบบการบริหารด้านโภชนาการ อาหาร และน้ําดื่มของโรงเรียนยังไม่ได้มาตรฐานและไม่ เพียงพอ ส่งผลให้นักเรียนไม่สะดวกในการใช้บริการ ขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ๔. การจัดกิจกรรมต่าง ๆ มาก จนเป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน ทําให้จัดการเรียนการ สอนไม่เต็มที่เท่าที่ควร
  • 8. ๕. การนิเทศติดตามและประเมินผลการดําเนินงานทุกด้านของโรงเรียนยังไม่มีประสิทธิภาพ เท่าที่ควร ส่งผลให้ไม่สามารถทราบผลการดําเนินงานว่าบรรลุเป้าหมายมากน้อยเพียงใด ด้านนโยบายและสภาพแวดล้อม ๑. แหล่งบริการอินเตอร์เน็ตภายในโรงเรียนมีน้อย ไม่เพียงพอ และมีนักเรียนบางส่วนใช้บริการใน ด้านความบันเทิงมากกว่าการสืบค้นหาความรู้ เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ไม่เกิดประโยชน์ ๒. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา สินค้าอุปโภค บริโภคขึ้นราคา ส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายของนักเรียน ๓. นโยบายการลงโทษนักเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ มีผลกระทบต่อการปกครองดูแลนักเรียน ทั้งในด้านความประพฤติและการเรียนการสอน ๔. นโยบายการรับนักเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่กําหนดเขตพื้นที่บริการ เป็นการจํากัดสิทธิขั้น พื้นฐานของเด็กที่อยู่นอกเขตพื้นที่บริการ ส่งผลให้โรงเรียนไม่สามารถคัดเลือกนักเรียนที่มีคุณภาพเข้าศึกษาต่อ ในโรงเรียนได้ ความต้องการของโรงเรียน ๑. สนับสนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความร่วมมือของผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ๒. ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ตามหลักศาสนา เห็นคุณค่าในตัวเอง มีจิตสํานึกที่ถูกต้องในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ๓. สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาความรู้ ความสามารถของครูและบุครากรทางการศึกษา ในการจัดการ เรียนการสอน ๔. พัฒนาและปรับปรุง อาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ สาธารณูปโภค แหล่งเรียนรู้ วัสดุครุภัณฑ์ และ เทคโนโลยีในด้านการเรียนการสอนและการบริการ