SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009
แบบบันทึกข้อมูลการให้บริการข้อมูลยา
เกี่ยวกับผู้ถาม
โรงพยาบาล มหาสารคาม รหัส ร.พ. วันที่เก็บเข้าฐานข้อมูล 10/11/55
ผู้ถาม อาจารย์.ดร.พีรยา สมสะอาด
ที่อยู่ -
โทรศัพท์ - Fax:: - e-mail: -
ประเภท 01 แพทย์ทั่วไป 02 แพทย์เฉพาะทาง 03 ทันตแพทย์ 04 เภสัชกร 05 พยาบาล
06 นักวิทย์ 07 นักสาธารณสุข 08 นักศึกษา 09 ประชาชน 10 อื่นๆ
วิธีถาม 01 วาจา 02 แบบขอรับบริการ 03 โทรศัพท์/โทรสาร 04 e-mail 05 ไปรษณีย์
06 อื่นๆ
จุดประสงค์ของการถาม 01 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วย 02 เพื่อประโยชน์ในการ
ปฏิบัติงาน
03 เพื่อเพิ่มเติมความรู้
04 เพื่อการศึกษา/วิจัย 05 อื่นๆ
วันที่/เวลาที่ถาม ความรีบด่วน 01 ทันที 02 ภายใน 1 วัน 03 อื่นๆ
เกี่ยวกับคาถาม
คาถาม
(ที่ปรับแล้ว):
ในการเกิดอาการไม่พึงประสงค์(Drug Induced hepatitis และภาวะผื่นแพ้ยา)จากการใช้ยาต้านวันโรคมีวิธีการจัดการกับ
อาการไม่พึงประสงค์อย่างไร และมีวิธีการ Challenge ยา อย่างไร
ชื่อสามัญทางยา pyridoxine กลุ่มยา Vitamin ชื่อการค้า Vitamin B6
®
หัวข้อสืบค้น (keywords):
ประเภท
คาถาม
01 Identification 02 Availability 03 Pharmacokinetics 04 Pregnancy/nursing
05 Interactions 06 Formulation 07 ADR/side effect 08 Toxicity/poisoning
09 Dosage/
Administration
10 Therapeutic
use/efficacy
11 Compatibility/stability 12 Herbal/conventional
medicine
ข้อมูลผู้ป่วย เพศชาย อายุ 53 ปี นาหนัก 57 กก. LBW 65.94 กก. สูง 170 ซม.
ข้อมูลอื่นๆ
ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009
การสืบค้น
วิธีสืบค้น 01 เอกสาร 02 คอมพิวเตอร์ 03 แหล่งอื่น 04 อื่นๆ
รูปแบบของแหล่งข้อมูล 01 เอกสาร 1º 02 เอกสาร 2 º 03 เอกสาร 3 º 04 DIS database
01 CD-ROM 02 Online 03 Drug file 04 อื่นๆ
คาตอบ: ในการรักษาโรควัณโรคมีความจาเป็นต้องให้ยาหลายชนิดในการรักษาเป็นระยะเวลานานซึ่งยาในสูตรการรักษาโรควัณโรคนันยาบาง
ชนิดอาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่างๆซึ่งทาให้ยากต่อการวินิจฉัยหรือตัดสินใจได้อย่างชัดเจนว่ายาตัวใดเป็นสาเหตุจึงจาเป็นต้องมีวิธีการ
การจัดการอาการไม่พึงประสงค์ของยาต้านวัณโรค ซึ่งอาการไม่พึงประสงค์ที่มักพบและมีภาวะรุนแรงจากการใช้ยาคือ ภาวะผื่นแพ้ยาและDrug
Induced hepattis
1) การจัดการอาการผื่นแพ้ยาและการ Challenge จากยาต้านวัณโรค
1.1. ) การจัดการอาการผื่นแพ้ยาจากยาต้านวัณโรค
ยาทุกชนิดเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาทางผิวหนังได้ แบ่งความรุนแรงของอาการออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่
อาการคันที่ไม่มีผื่น ผื่นผิวหนังที่อาจมีอาการตามระบบเช่น ไข้ ร่วมด้วย และ ผื่นผิวหนังรุนแรงมากที่มีรอยโรคในเยื่อบุ
ต่างๆ ร่วมด้วยซึ่งถ้าหากพบว่าผู้ป่วยมีอาการคันแต่ไม่พบผื่นแนะนาให้ลองรักษาตามอาการร่วมกับให้ยา antihistamines และ
skin moisturizing และรักษาด้วยยาต้านวัณโรคต่อไปและติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดถ้าพบว่าเกิดผื่นให้ผู้ป่วยหยุดยาต้านวัณโรค
ทังหมดทันทีและอาจพิจารณาให้ Steroid ชนิดทาร่วมด้วยเมื่อทาการรักษาจนผื่นหายแล้วอาจพิจาณราใช้ Prenisolone 2-3
สัปดาห์1,2
1.2. ) การ Challenge จากยาต้านวัณโรค
จากการศึกษาข้อมูลจากแนวทางของ Treatment of tuberculosis: guidelines 2010 แนะนาในการเกิดปฏิกิริยาควร
ตัดสินใจให้ยาต้านวัณโรค และเริ่มให้ทียาทีละตัวโดยเริ่มจากยาที่จะมีการตอบสนองต่ออาการเกิดการแพ้น้อยที่สุดก่อน
(rifampicin or isoniazid) โดยให้ในขนาดน้อย เช่น 50 mg ของ isoniazid แล้วจึงค่อยๆเพิ่มขาดทีละน้อยภายใน 3 วัน แล้วจึง
ต่อยๆให้ยาตัวอื่นๆถัดไป1,3
ตารางที่ 1:แสดงขนาดยาและการ Challenge ยาต้านวัณโรคแต่ละตัวของ TB/HIV a clinical manual. 2th ed , WHO
ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009
และการศึกษาในประเทศไทยพบว่าแนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2551 ได้แนะนา Challenge ยาต้านวัณ
โรคโดยพิจารณาเริ่มให้ Ethambutol ตามด้วย Rifampicin,Isoniazid และ Pyrazinamide ตามลาดับโดยมีขนาดการให้ดังนี2
ตารางที่ 2 : แสดงขนาดยาและการ Challenge ยาต้านวัณโรคแต่ละตัวของแนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2551
อาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึน วิธีแก้ไข
2) การจัดการอาการ Drug Induced hepatitis และการ Challenge จากยาต้านวัณโรค
2.1) การจัดการ Drug Induced hepatitis จากยาต้านวัณโรค
ยาในกลุ่ม first-line anti-TB drugs ได้แก่ isoniazid, pyrazinamide and rifampicin ยาทุกชนิดที่กล่าวมาข้างต้นนันเป็น
สาเหตุของการเกิดการทาลาย (drug-induced hepatitis) โดย rifampicin นันสามารถเกิดดีซ่านแบบไร้อาการโดยไม่มีหลักฐาน
แสดงอาการของตับอักเสบ ซึ่งสิ่งนีเป็นสิ่งสาคัญในการวินิฉัยสาเหตุอื่นๆที่มีความเป็นไปได้ออกจากการเกิดคับอักเสบจากการใช้
ยาต้านวัณโรค โดยในการจัดการกับภาวะการเกิดตับอักเสบจากยาต้านวัณโรคนันขึนกับปัจจัยดังนี
- ระยะเวลาช่วงการรักษาวัณโรค (ช่วงระยะเข้มข้น หรือ ระยะต่อเนื่อง)
- ความรุนแรงของโรคตับ
- ความรุนแรงของโรควัณโรค
- ความจุของหน่วยบริการสาธารณสุขในการจัดการอาการไม่พึงประสงค์จากการรักษาวัณโรค
ซึ่งหากคิดว่าการเกิดโรคตับเกี่ยวข้องกับการใช้ยาต้านวัณโรค ควรหยุดยาต้านวัณโรคทังหมด และหากผู้ป่วยมีอาการไข้จาก
วัณโรคที่รุนแรงควรพิจารณาถึงความไม่ปลอดภัยในการหยุดการรักษาวัณโรค โดยมีสูตรยาที่แนะนาในการไม่ทาให้เกิดพิษต่อตับ
โดยประกอบด้วยยา streptomycin, ethambutol และ fluoroquinolone โดยควรเริ่มให้ในผู้ป่วยที่มีภาวะไข้จากวัณโรคที่
รุนแรง
ถ้าหากการรักษาวัณโรคถูกหยุดลงเนื่องจากอาการตับอักเสบจากยาต้านวัณโรค การรอผลทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับค่าการ
ทางานของตับนันมีความจาเป็นในการดูการฟื้นตัวของตับให้กลับสู่ภาวะปกติร่วมกับการสังเกตอาการทางคลินิค (อาการคลื่นไส้
,ปวดท้อง) ซึ่งถ้าผลทางห้องปฏิบัติการยังไม่ดีขึนแนะนาให้รอต่ออีก 2 สัปดาห์ หลังจากอาการดีซ่านและการกดบริเวณท้อง
ส่วนบนเจ็บนันหายไปแล้ว จากนันจึงค่อยเริ่มการรักษาวัณโรคอีกครัง แต่หากยังมีอาการแสดงไม่มีดีขึนและอาการโรคตับยัง
รุนแรงอยู่ควรเริ่มให้การรักษาวัณโรคโดยใช้สูตรที่ไม่เกิดพิษต่อตับซึ่งประกอบด้วยยา streptomycin, ethambutol and
fluoroquinolone และให้ต่อเนื่องไปเป็นระยะเวลารวม 18-24 เดือน
ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009
2.1) การ Challenge จากยาต้านวัณโรค
แนะนาให้ใช้ยาที่คาดว่าเป็นสาเหตุในการเหนี่ยวนาให้เกิดตับอักเสบโดยให้ยาทีละชนิด ถ้าหากพบอาการแสดงหรือค่าทาง
ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการทางานของตับผิดปกติในยาที่เพิ่มเป้นตัวสุดท้านแสดงว่าควรหยุดยาตัวนัน ซึ่งในบางคาแนะนาให้เริ่ม
ยา rifampicin เป็นตัวแรกเนื่องจากมีผลข้างเคียงที่เป็นสาเหตุของการเกิดตับอักเสบน้อยกว่า isoniazid หรือ pyrazinamide
อีกทัง rifampicin ถือว่ามีประสิทธิภาพสูงที่สุด หลังจาก 3-7 วัน จึงค่อยให้ isoniazid อีกครัง และจึงให้ pyrazinamide เป็น
ตัวสุดท้าย โดยอาจแสดงเป็นตารางการ Challenge ดังนี1,3
ตารางที่ 3 :แสดงขนาดยาและการ Challenge ยาต้านวัณโรคแต่ละตัวตามแนวทางของ WHO 1,3
Rifampicin(mg) Isoniazid (mg) Pyrazinamide(mg)
Day 1 150
Day 2 300
Day 3 450
Day 4 600
ประเมินอาการและการตรวจ Liver function test ถ้าไม่เพิ่มหรือเพิ่มเล็กน้อย เริ่ม Challenge
Isoniazid แต่ถ้าหาก Liver function test เพิ่มขึ้นสูง off Rifampicin
Day 5 600 50
Day 6 600 100
Day 7 600 200
Day 8 600 300
ประเมินอาการและการตรวจ Liver function test ถ้าไม่เพิ่มหรือเพิ่มเล็กน้อย เริ่ม Challenge
Pyrazinamide แต่ถ้าหาก Liver function test เพิ่มขึ้นสูง off Isoniazid
Day 9 600 300 250
Day 10 600 300 500
Day 11 600 300 1000
Day 12 600 300 1500
Liver function test ปกติ เริ่มการรักษาใหม่ เมื่อที Ethambutol ครบ หรือพิจารณาสตรที่เหมาะสม
ตามที่ Challenge ได้
ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009
และในประเทศไทยพบว่ามีวิธีการและขนาดการเริ่ม Challenge ยาต้านวัณโรคตามแนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรค
แห่งชาติ 2551 ได้แนะนาให้เริ่ม Challenge ยา Isoniazid ก่อนและตามด้วย Ripampicin และ Pyrazinamide ตามลาดับไว้
ดังนี2
ตารางที่ 2 : แสดงขนาดยาและการ Challenge ยาต้านวัณโรคแต่ละตัวของแนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2551
อาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึน วิธีแก้ไข
ข้อบ่งชีที่แสดงว่าเกิด Drug induced hepatitis ได้แก่
1. AST > 3 เท่า ของค่าปกติพิกัดบน (3 times of
the upper limit of normal) และมีอาการทาง
คลินิค เช่น คลื่นไส้,อาเจียน,ตัวเหลือง ตาเหลือง
2. AST > 5 เท่าของค่าปกติพิกัดบน(5 times of
the upper limit of normal)โดยไม่ต้องมี
อาการทางคลินิคร่วมด้วย
Isoniazid (mg) Rifampicin(mg) Pyrazinamide(mg)
Day 1 50
Day 2 100
Day 3 150
Day 4 200
Day 5 300
ประเมินอาการและการตรวจ AST ถ้าไม่เพิ่มหรือเพิ่มเล็กน้อย Challenge ต่อไป
Day 6 300 150
Day 7 300 300
Day 8 300 300
Day 9 300 450
Day 10 300 450
โดยในการประเมินการทางานของตับหากอาการแสดงและการตรวจ AST ไม่เพิ่มหรือเพิ่มขึนเล็กน้อย ไม่ต้อง Challenge ยา
Pyrazinamide แสดงว่ายาที่ก่อปัญหาน่าจะเป็นน่าจะเป็น Pyrazinamide ดังนันจึงไม่ควรใช้ยาสูตรที่มี Pyrazinamine ต่อไป
ในกรณีที่ระหว่าง Challenge ยาตัวใดตัวหนึ่งแล้วเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก ตรวจ AST ถ้าเพิ่มขึนชัดเจน ควรหยุด
Challenge ทันที รออาการดีขึน(ประมาณ 7-10 วัน) จึงเริ่ม Challenge ยาตัวถัดไป (ไม่ควร Challenge ยาที่ทาให้ผู้ป่วยมี
อาการตับอักเสบและมีค่า AST เพิ่มขึน) และเมื่อทราบว่ายาตัวใดเป็นสาเหตุของตับอักเสบ อาจเลือกสูตรยาที่เหมาะสม2
เอกสารอ้างอิง
1. World Health Organization. Treatment of tuberculosis guidelines. 4th ed., 2010.
2.สานักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.แนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2551.ครังที่ 2.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย;2551
3. World Health Organization. TB/HIV a clinical manual. 2th ed., 2004
วิธีส่งคาตอบ 01 วาจา 02 ลายลักษณ์อักษร 03 โทรศัพท์/โทรสาร 04 e-mail
05 ไปรษณีย์ 06 อื่นๆ
วันที่/เวลาตอบกลับ ระยะเวลาที่สืบค้น
ผู้สืบค้น นายเตชิน ผาอินทร์ 52010720009 วันที่ หัวหน้างานวิชาการ

More Related Content

What's hot

การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...Chutchavarn Wongsaree
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, Utai Sukviwatsirikul
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการBest'Peerapat Promtang
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 

What's hot (20)

Cpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infectionCpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infection
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
 
A003
A003A003
A003
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 

Similar to แบบตอบคำถาม Dis 2

บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักZiwapohn Peecharoensap
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1THANAKORN
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to แบบตอบคำถาม Dis 2 (20)

บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
8
88
8
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Myofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgiaMyofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgia
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
hypertension guidebook
hypertension guidebookhypertension guidebook
hypertension guidebook
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 

แบบตอบคำถาม Dis 2

  • 1. ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009 แบบบันทึกข้อมูลการให้บริการข้อมูลยา เกี่ยวกับผู้ถาม โรงพยาบาล มหาสารคาม รหัส ร.พ. วันที่เก็บเข้าฐานข้อมูล 10/11/55 ผู้ถาม อาจารย์.ดร.พีรยา สมสะอาด ที่อยู่ - โทรศัพท์ - Fax:: - e-mail: - ประเภท 01 แพทย์ทั่วไป 02 แพทย์เฉพาะทาง 03 ทันตแพทย์ 04 เภสัชกร 05 พยาบาล 06 นักวิทย์ 07 นักสาธารณสุข 08 นักศึกษา 09 ประชาชน 10 อื่นๆ วิธีถาม 01 วาจา 02 แบบขอรับบริการ 03 โทรศัพท์/โทรสาร 04 e-mail 05 ไปรษณีย์ 06 อื่นๆ จุดประสงค์ของการถาม 01 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วย 02 เพื่อประโยชน์ในการ ปฏิบัติงาน 03 เพื่อเพิ่มเติมความรู้ 04 เพื่อการศึกษา/วิจัย 05 อื่นๆ วันที่/เวลาที่ถาม ความรีบด่วน 01 ทันที 02 ภายใน 1 วัน 03 อื่นๆ เกี่ยวกับคาถาม คาถาม (ที่ปรับแล้ว): ในการเกิดอาการไม่พึงประสงค์(Drug Induced hepatitis และภาวะผื่นแพ้ยา)จากการใช้ยาต้านวันโรคมีวิธีการจัดการกับ อาการไม่พึงประสงค์อย่างไร และมีวิธีการ Challenge ยา อย่างไร ชื่อสามัญทางยา pyridoxine กลุ่มยา Vitamin ชื่อการค้า Vitamin B6 ® หัวข้อสืบค้น (keywords): ประเภท คาถาม 01 Identification 02 Availability 03 Pharmacokinetics 04 Pregnancy/nursing 05 Interactions 06 Formulation 07 ADR/side effect 08 Toxicity/poisoning 09 Dosage/ Administration 10 Therapeutic use/efficacy 11 Compatibility/stability 12 Herbal/conventional medicine ข้อมูลผู้ป่วย เพศชาย อายุ 53 ปี นาหนัก 57 กก. LBW 65.94 กก. สูง 170 ซม. ข้อมูลอื่นๆ
  • 2. ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009 การสืบค้น วิธีสืบค้น 01 เอกสาร 02 คอมพิวเตอร์ 03 แหล่งอื่น 04 อื่นๆ รูปแบบของแหล่งข้อมูล 01 เอกสาร 1º 02 เอกสาร 2 º 03 เอกสาร 3 º 04 DIS database 01 CD-ROM 02 Online 03 Drug file 04 อื่นๆ คาตอบ: ในการรักษาโรควัณโรคมีความจาเป็นต้องให้ยาหลายชนิดในการรักษาเป็นระยะเวลานานซึ่งยาในสูตรการรักษาโรควัณโรคนันยาบาง ชนิดอาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่างๆซึ่งทาให้ยากต่อการวินิจฉัยหรือตัดสินใจได้อย่างชัดเจนว่ายาตัวใดเป็นสาเหตุจึงจาเป็นต้องมีวิธีการ การจัดการอาการไม่พึงประสงค์ของยาต้านวัณโรค ซึ่งอาการไม่พึงประสงค์ที่มักพบและมีภาวะรุนแรงจากการใช้ยาคือ ภาวะผื่นแพ้ยาและDrug Induced hepattis 1) การจัดการอาการผื่นแพ้ยาและการ Challenge จากยาต้านวัณโรค 1.1. ) การจัดการอาการผื่นแพ้ยาจากยาต้านวัณโรค ยาทุกชนิดเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาทางผิวหนังได้ แบ่งความรุนแรงของอาการออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ อาการคันที่ไม่มีผื่น ผื่นผิวหนังที่อาจมีอาการตามระบบเช่น ไข้ ร่วมด้วย และ ผื่นผิวหนังรุนแรงมากที่มีรอยโรคในเยื่อบุ ต่างๆ ร่วมด้วยซึ่งถ้าหากพบว่าผู้ป่วยมีอาการคันแต่ไม่พบผื่นแนะนาให้ลองรักษาตามอาการร่วมกับให้ยา antihistamines และ skin moisturizing และรักษาด้วยยาต้านวัณโรคต่อไปและติดตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดถ้าพบว่าเกิดผื่นให้ผู้ป่วยหยุดยาต้านวัณโรค ทังหมดทันทีและอาจพิจารณาให้ Steroid ชนิดทาร่วมด้วยเมื่อทาการรักษาจนผื่นหายแล้วอาจพิจาณราใช้ Prenisolone 2-3 สัปดาห์1,2 1.2. ) การ Challenge จากยาต้านวัณโรค จากการศึกษาข้อมูลจากแนวทางของ Treatment of tuberculosis: guidelines 2010 แนะนาในการเกิดปฏิกิริยาควร ตัดสินใจให้ยาต้านวัณโรค และเริ่มให้ทียาทีละตัวโดยเริ่มจากยาที่จะมีการตอบสนองต่ออาการเกิดการแพ้น้อยที่สุดก่อน (rifampicin or isoniazid) โดยให้ในขนาดน้อย เช่น 50 mg ของ isoniazid แล้วจึงค่อยๆเพิ่มขาดทีละน้อยภายใน 3 วัน แล้วจึง ต่อยๆให้ยาตัวอื่นๆถัดไป1,3 ตารางที่ 1:แสดงขนาดยาและการ Challenge ยาต้านวัณโรคแต่ละตัวของ TB/HIV a clinical manual. 2th ed , WHO
  • 3. ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009 และการศึกษาในประเทศไทยพบว่าแนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2551 ได้แนะนา Challenge ยาต้านวัณ โรคโดยพิจารณาเริ่มให้ Ethambutol ตามด้วย Rifampicin,Isoniazid และ Pyrazinamide ตามลาดับโดยมีขนาดการให้ดังนี2 ตารางที่ 2 : แสดงขนาดยาและการ Challenge ยาต้านวัณโรคแต่ละตัวของแนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2551 อาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึน วิธีแก้ไข 2) การจัดการอาการ Drug Induced hepatitis และการ Challenge จากยาต้านวัณโรค 2.1) การจัดการ Drug Induced hepatitis จากยาต้านวัณโรค ยาในกลุ่ม first-line anti-TB drugs ได้แก่ isoniazid, pyrazinamide and rifampicin ยาทุกชนิดที่กล่าวมาข้างต้นนันเป็น สาเหตุของการเกิดการทาลาย (drug-induced hepatitis) โดย rifampicin นันสามารถเกิดดีซ่านแบบไร้อาการโดยไม่มีหลักฐาน แสดงอาการของตับอักเสบ ซึ่งสิ่งนีเป็นสิ่งสาคัญในการวินิฉัยสาเหตุอื่นๆที่มีความเป็นไปได้ออกจากการเกิดคับอักเสบจากการใช้ ยาต้านวัณโรค โดยในการจัดการกับภาวะการเกิดตับอักเสบจากยาต้านวัณโรคนันขึนกับปัจจัยดังนี - ระยะเวลาช่วงการรักษาวัณโรค (ช่วงระยะเข้มข้น หรือ ระยะต่อเนื่อง) - ความรุนแรงของโรคตับ - ความรุนแรงของโรควัณโรค - ความจุของหน่วยบริการสาธารณสุขในการจัดการอาการไม่พึงประสงค์จากการรักษาวัณโรค ซึ่งหากคิดว่าการเกิดโรคตับเกี่ยวข้องกับการใช้ยาต้านวัณโรค ควรหยุดยาต้านวัณโรคทังหมด และหากผู้ป่วยมีอาการไข้จาก วัณโรคที่รุนแรงควรพิจารณาถึงความไม่ปลอดภัยในการหยุดการรักษาวัณโรค โดยมีสูตรยาที่แนะนาในการไม่ทาให้เกิดพิษต่อตับ โดยประกอบด้วยยา streptomycin, ethambutol และ fluoroquinolone โดยควรเริ่มให้ในผู้ป่วยที่มีภาวะไข้จากวัณโรคที่ รุนแรง ถ้าหากการรักษาวัณโรคถูกหยุดลงเนื่องจากอาการตับอักเสบจากยาต้านวัณโรค การรอผลทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับค่าการ ทางานของตับนันมีความจาเป็นในการดูการฟื้นตัวของตับให้กลับสู่ภาวะปกติร่วมกับการสังเกตอาการทางคลินิค (อาการคลื่นไส้ ,ปวดท้อง) ซึ่งถ้าผลทางห้องปฏิบัติการยังไม่ดีขึนแนะนาให้รอต่ออีก 2 สัปดาห์ หลังจากอาการดีซ่านและการกดบริเวณท้อง ส่วนบนเจ็บนันหายไปแล้ว จากนันจึงค่อยเริ่มการรักษาวัณโรคอีกครัง แต่หากยังมีอาการแสดงไม่มีดีขึนและอาการโรคตับยัง รุนแรงอยู่ควรเริ่มให้การรักษาวัณโรคโดยใช้สูตรที่ไม่เกิดพิษต่อตับซึ่งประกอบด้วยยา streptomycin, ethambutol and fluoroquinolone และให้ต่อเนื่องไปเป็นระยะเวลารวม 18-24 เดือน
  • 4. ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009 2.1) การ Challenge จากยาต้านวัณโรค แนะนาให้ใช้ยาที่คาดว่าเป็นสาเหตุในการเหนี่ยวนาให้เกิดตับอักเสบโดยให้ยาทีละชนิด ถ้าหากพบอาการแสดงหรือค่าทาง ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับการทางานของตับผิดปกติในยาที่เพิ่มเป้นตัวสุดท้านแสดงว่าควรหยุดยาตัวนัน ซึ่งในบางคาแนะนาให้เริ่ม ยา rifampicin เป็นตัวแรกเนื่องจากมีผลข้างเคียงที่เป็นสาเหตุของการเกิดตับอักเสบน้อยกว่า isoniazid หรือ pyrazinamide อีกทัง rifampicin ถือว่ามีประสิทธิภาพสูงที่สุด หลังจาก 3-7 วัน จึงค่อยให้ isoniazid อีกครัง และจึงให้ pyrazinamide เป็น ตัวสุดท้าย โดยอาจแสดงเป็นตารางการ Challenge ดังนี1,3 ตารางที่ 3 :แสดงขนาดยาและการ Challenge ยาต้านวัณโรคแต่ละตัวตามแนวทางของ WHO 1,3 Rifampicin(mg) Isoniazid (mg) Pyrazinamide(mg) Day 1 150 Day 2 300 Day 3 450 Day 4 600 ประเมินอาการและการตรวจ Liver function test ถ้าไม่เพิ่มหรือเพิ่มเล็กน้อย เริ่ม Challenge Isoniazid แต่ถ้าหาก Liver function test เพิ่มขึ้นสูง off Rifampicin Day 5 600 50 Day 6 600 100 Day 7 600 200 Day 8 600 300 ประเมินอาการและการตรวจ Liver function test ถ้าไม่เพิ่มหรือเพิ่มเล็กน้อย เริ่ม Challenge Pyrazinamide แต่ถ้าหาก Liver function test เพิ่มขึ้นสูง off Isoniazid Day 9 600 300 250 Day 10 600 300 500 Day 11 600 300 1000 Day 12 600 300 1500 Liver function test ปกติ เริ่มการรักษาใหม่ เมื่อที Ethambutol ครบ หรือพิจารณาสตรที่เหมาะสม ตามที่ Challenge ได้
  • 5. ชื่อนิสิต นายเตชิน ผาอินทร์ รหัสนิสิต 52010720009 และในประเทศไทยพบว่ามีวิธีการและขนาดการเริ่ม Challenge ยาต้านวัณโรคตามแนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรค แห่งชาติ 2551 ได้แนะนาให้เริ่ม Challenge ยา Isoniazid ก่อนและตามด้วย Ripampicin และ Pyrazinamide ตามลาดับไว้ ดังนี2 ตารางที่ 2 : แสดงขนาดยาและการ Challenge ยาต้านวัณโรคแต่ละตัวของแนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2551 อาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึน วิธีแก้ไข ข้อบ่งชีที่แสดงว่าเกิด Drug induced hepatitis ได้แก่ 1. AST > 3 เท่า ของค่าปกติพิกัดบน (3 times of the upper limit of normal) และมีอาการทาง คลินิค เช่น คลื่นไส้,อาเจียน,ตัวเหลือง ตาเหลือง 2. AST > 5 เท่าของค่าปกติพิกัดบน(5 times of the upper limit of normal)โดยไม่ต้องมี อาการทางคลินิคร่วมด้วย Isoniazid (mg) Rifampicin(mg) Pyrazinamide(mg) Day 1 50 Day 2 100 Day 3 150 Day 4 200 Day 5 300 ประเมินอาการและการตรวจ AST ถ้าไม่เพิ่มหรือเพิ่มเล็กน้อย Challenge ต่อไป Day 6 300 150 Day 7 300 300 Day 8 300 300 Day 9 300 450 Day 10 300 450 โดยในการประเมินการทางานของตับหากอาการแสดงและการตรวจ AST ไม่เพิ่มหรือเพิ่มขึนเล็กน้อย ไม่ต้อง Challenge ยา Pyrazinamide แสดงว่ายาที่ก่อปัญหาน่าจะเป็นน่าจะเป็น Pyrazinamide ดังนันจึงไม่ควรใช้ยาสูตรที่มี Pyrazinamine ต่อไป ในกรณีที่ระหว่าง Challenge ยาตัวใดตัวหนึ่งแล้วเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก ตรวจ AST ถ้าเพิ่มขึนชัดเจน ควรหยุด Challenge ทันที รออาการดีขึน(ประมาณ 7-10 วัน) จึงเริ่ม Challenge ยาตัวถัดไป (ไม่ควร Challenge ยาที่ทาให้ผู้ป่วยมี อาการตับอักเสบและมีค่า AST เพิ่มขึน) และเมื่อทราบว่ายาตัวใดเป็นสาเหตุของตับอักเสบ อาจเลือกสูตรยาที่เหมาะสม2 เอกสารอ้างอิง 1. World Health Organization. Treatment of tuberculosis guidelines. 4th ed., 2010. 2.สานักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.แนวทางการดาเนินงานวบคุมวัณโรคแห่งชาติ 2551.ครังที่ 2.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย;2551 3. World Health Organization. TB/HIV a clinical manual. 2th ed., 2004 วิธีส่งคาตอบ 01 วาจา 02 ลายลักษณ์อักษร 03 โทรศัพท์/โทรสาร 04 e-mail 05 ไปรษณีย์ 06 อื่นๆ วันที่/เวลาตอบกลับ ระยะเวลาที่สืบค้น ผู้สืบค้น นายเตชิน ผาอินทร์ 52010720009 วันที่ หัวหน้างานวิชาการ