SlideShare a Scribd company logo
ข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 1 (เคมี)
1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ผสมสารละลาย NaOH กับสารละลาย HCI
2. แกงเขียวหวานตั้งทิ้งไว้2 วัน แล้วบูด
3. ผลึกไอโอดีนสีม่วงในขวดปิด กลายเป็น ไอสีม่วงแดงแล้วต่อมาเห็นเป็นผลึกเล็กๆเกาะที่ผิว
ด้านในขวด
4. การทําอิเล็กโตรลิซิสของสารละลายเกลือ NaCI
2. พลังงานงานที่น้อยที่สุดที่อะตอมของปรอท 1 โมล รับเข้าไปเพื่อจะเปล่งแสงที่มีความยาวคลื่น
4.358 x 10-7
m จะเท่ากับ (h = 6.625 x 10-34
Js, c = 3.0 x 108
ms-1
)
1. 4.56 x 10-22
kJ 2. 4.56 x 10-10
kJ 3. 550 kJ 4. 274.5 kJ
3.ถ้าพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ X มีค่าดังนี้
IE1 = 1.0 MJ/mol IE2 = 1.5 MJ/mol
IE3 = 6.0 MJ/mol IE4 = 7.5 MJ/mol
3.สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ X ควรเป็นข้อใด
1. 12
6 X 2. 23
11X 3. 27
13 X 4. 40
20 X
4.ไอโซโทปของธาตุชนิดหนึ่งมีจํานวนนิวตรอนในนิวเคลียสเท่ากับ 8 และมีประจุในนิวเคลียสเป็น 6
เท่า ของประจุในนิวเคลียสขิงไฮโดรเจน สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของไอโซโทป ดังกล่าวคือข้อใด
1.
12
6 c 2.
14
C 3.
14
8 O 4.
14
O
5.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1.
233
92 U 229
90 Th + α 2.
213
83 Bi 213
84Po + β
3.
227
89 Ac 223
87 Fr + β 4.
219
86 Rn 215
84Po + α
6. ปฏิกิริยาระหว่างผงเหล็กกับออกวิเจนในอากาศเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน การเปลี่ยนแปลงในข้อใด
ต่อไปนี้ควรทําให้ปฏิกิริยาดังกล่าว เกิดเร็วขึ้น
1. ลดสัดส่วนของแก๊สไนโตรเจนต่อแก๊สออกซิเจนในอากาศ
2. เพิ่มขนาดอนุภาคของผงเหล็ก
3. ลดอุณหภูมิของผงเหล็ก
4. ผสมผงสังกะสีลงในผงเหล็ก
7. เมื่อศึกษาปฏิกิริยา 2A(g)+ B(g)--> C(g) + 2D(g) ที่ 25o
C ได้ผลการทดลองดังแสดงในตาราง
ต่อไปนี้
ความเข้มข้นของ A ความเข้มข้นของ B ความเข้มข้นของ C
(mol/dm
3
) (mol/dm
3
) (mol/dm
3
.s)
0.01 0.01 1.20 x 10-3
0.02 0.01 2.40 x 10-3
0.03 0.01 3.60 x 10-3
0.04 0.02 1.44 x 10-3
จงคํานวณหาอัตราการเกิดของ D เมื่อ [A] = 0.040 mol/dm
3
และ [B] = 0.025 mol/dm
3
1. 0.06 mol/dm
3
.s 2. 0.08 mol/dm
3
.s 3. 0.10 mol/dm
3
.s 4.0.12 mol/dm
3
.s
8.การสลายตัวของสาร R ไปเป็นสาร P เกิดโดยมีขั้นตอนเดียว คือ R --- > P และความเข้มข้นของ R ขณะทํา
ปฏิกิริยาดําเนินไปดังนี้
เวลา,วินาที [R], mol/dm3
0.0 0.400
1.0 0.360
2.0 0.320
3.0 0.280
จงหาความเข้มข้นของ P ในหน่วย mol/dm3
เมื่อเวลาผ่านไป 20 วินาที
1. 0.000 2. 0.200 3. 0.400 4. 0.800
9.ในการสลายตัวของ NOCI ที่ 50o
C มีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารดังนี้
เวลา ความเข้มข้นของ NOCI
(นาที) (mol/dm3
)
0 5
5 3.5
10 2.5
15 1.8
20 1.2
25 0.9
30 0.6
จากกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลา กับความสัมพันธ์ของ NOCI จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของ
NOCI ที่เวลา 10 นาที ในหน่วย mol/dm3.
.Min
1. 0.16 2. 0.25 3. 4.0 4. 6.25
12.สารประกอบที่มีสูตรโมเลกุลที่กําหนดในข้อใด มีจํานวนไฮโซเมอร์สูงสุด
1. สารอะโรมาติกที่มีสูตร C6 H4CI2 2. เอสเทอร์ที่มีสูตร C4H8O2
3. แอลกอฮอล์ที่มีสูตร C3 H6O 4. สารที่มีหมู่คาร์บอนิค ที่มีสูตร C2H4O2
13.CH3 – C C– CH3 มีชื่อว่าอะไร
1. เพนทีน 2.โพรไพน์ 3. บิวทีน 4. บิวไทน์
14. จุดเดือดของกรดเพนทาโนอิกสูงกว่าเพนทานอลเนื่องจาก
1.ไม่มีพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของเพนทานอล
2. มีพันธะโคเวเลนต์ระหว่างโมเลกุลของกรดเพนทาโนอิก
3. มีพันธะไอออนิกระหว่างโมเลกุลของกรดเพนทาโนอิก
4.พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของกรดเพนทาโนอิกแข็งแรงกว่าของเพนทานอล
15. สารข้อใดเป็น แอลดีไฮด์และแอลกอฮอล์ ตามลําดับ
1. HCOOH และ CH3COCH3 2. CH3CHO และ CH3CHOHCH3
3. CH3 CH2 CH2OH และ CH3 CHO 4. HCHO และ CH3 COCH2 CH3
16. สาร A และ B ต่างเป็นสารอินทรีย์ที่ละลายได้ดีในนํ้า และทําปฏิกิริยากับโลหะโซเดียม ได้ก๊าซ
ไฮโดรเจน เมื่อนําสาร A มาทําปฏิกิริยากับสาร B ได้ผลิตภัณฑ์คือสาร C ซึ่งมีสูตรโมเลกุล C4 H8 O2 และ
ไม่ละลายนํ้า แต่ละลายได้ดีในสาร NaOH หากสาร A ทําปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตแล้วเกิด
ฟองก๊าซ D ขึ้น ข้อใดถูกต้อง
1. ก๊าซ D ที่เกิดขึ้นคือก๊าซออกซิเจน
2. สาร A และ B อย่างละ 1 โมเลกุลมีออกซิเจนต่างกัน 1 ตัว
3. สาร A เกิดปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน เมื่อเติมลงในสารละลาย NaOH
4. พันธะระหว่างคาร์บอนกับออกซิเจนที่มีทั้งหมดใน A เป็นพันธะคู่
18.ปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี้
2K2Cr2 O7 + 24H2SO4 + 3H2S K2SO4 + Cr2 (SO4)3 + 7H2O + 3S
ตัวรีดิวซ์มีเลขออกซิเดชันเปลี่ยนแปลงอย่างไร
1. -2 เป็น +3 2. -2 เป็น 0 3. +6 เป็น +3 4.+6 เป็น 0
19.ปฏิกิริยาที่แคโทดของเซลล์เงินเกิดจากการทําปฏิกิริยาของสารในข้อใด
1. Ag2O (s) + H2O (1) + 2e 2. Ag2O (s) + 20H(aq)
3. ZnO (s) + 2Ag(s) 4. ZnO (s) + H2O (1) + 2e
20. ในการแยกสารละลาย CuSO2 มีข้อมูลดังนี้
E
º
(โวลท์)
Cu2+
(aq) + 2e-
Cu(s) + 0.34
½ S2 O8
2-
(aq) + e SO4
2-
(aq) + 2.01
2H2O(1) + 2e-
H2(g) + 2OH-
(aq) - 0.83
½ O2(g) + 2H+
(aq) + 2e-
H2O(1) +1.23
ข้อใดสรุปไม่ถูกต้อง
1. ก๊าซไฮโดรเจนเป็นตัวรีดิวส์ที่ดีกว่า SO4
2-
2. Cu2+
รับอิเล็กตรอนง่ายกว่านํ้า
3. ที่ขั้วลบจะเกิดปฏิกิริยารีดักชันของทองแดง
4. ที่ขั้วบวกจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของ SO4
2-

More Related Content

What's hot

กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
9GATPAT1
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563
9GATPAT1
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53Ja 'Natruja
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
Wichai Likitponrak
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
Tutor Ferry
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
อิ๋ว ติวเตอร์
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2konosor
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
อาทิตยา วิชาชัย
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
Preeyapat Lengrabam
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
อิ๋ว ติวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11kruaoipcccr
 

What's hot (17)

กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
เคมี ปี 55
เคมี ปี 55เคมี ปี 55
เคมี ปี 55
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 

Similar to 201307301728471

Chem
ChemChem
Chemaom08
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550
Review Wlp
 
2543october
2543october2543october
2543october
awirut
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีWattana123456
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
9GATPAT1
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
atichat44164
 

Similar to 201307301728471 (10)

Chem
ChemChem
Chem
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

More from Thanamon Bannarat

ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2Thanamon Bannarat
 
Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53Thanamon Bannarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanamon Bannarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanamon Bannarat
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanamon Bannarat
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Thanamon Bannarat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thanamon Bannarat
 

More from Thanamon Bannarat (20)

ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
 
Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
1
11
1
 
1
11
1
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ส งคม (1)
ส งคม (1)ส งคม (1)
ส งคม (1)
 
อ งกฤษ
อ งกฤษอ งกฤษ
อ งกฤษ
 
201308031822511
201308031822511201308031822511
201308031822511
 
อ งกฤษ
อ งกฤษอ งกฤษ
อ งกฤษ
 
201307161449131
201307161449131201307161449131
201307161449131
 
ส งคม (1)
ส งคม (1)ส งคม (1)
ส งคม (1)
 
201308041430491
201308041430491201308041430491
201308041430491
 
ฟ ส กส_
ฟ ส กส_ฟ ส กส_
ฟ ส กส_
 

201307301728471

  • 1. ข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 1 (เคมี) 1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่เป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. ผสมสารละลาย NaOH กับสารละลาย HCI 2. แกงเขียวหวานตั้งทิ้งไว้2 วัน แล้วบูด 3. ผลึกไอโอดีนสีม่วงในขวดปิด กลายเป็น ไอสีม่วงแดงแล้วต่อมาเห็นเป็นผลึกเล็กๆเกาะที่ผิว ด้านในขวด 4. การทําอิเล็กโตรลิซิสของสารละลายเกลือ NaCI 2. พลังงานงานที่น้อยที่สุดที่อะตอมของปรอท 1 โมล รับเข้าไปเพื่อจะเปล่งแสงที่มีความยาวคลื่น 4.358 x 10-7 m จะเท่ากับ (h = 6.625 x 10-34 Js, c = 3.0 x 108 ms-1 ) 1. 4.56 x 10-22 kJ 2. 4.56 x 10-10 kJ 3. 550 kJ 4. 274.5 kJ 3.ถ้าพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ X มีค่าดังนี้ IE1 = 1.0 MJ/mol IE2 = 1.5 MJ/mol IE3 = 6.0 MJ/mol IE4 = 7.5 MJ/mol 3.สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ X ควรเป็นข้อใด 1. 12 6 X 2. 23 11X 3. 27 13 X 4. 40 20 X 4.ไอโซโทปของธาตุชนิดหนึ่งมีจํานวนนิวตรอนในนิวเคลียสเท่ากับ 8 และมีประจุในนิวเคลียสเป็น 6 เท่า ของประจุในนิวเคลียสขิงไฮโดรเจน สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของไอโซโทป ดังกล่าวคือข้อใด 1. 12 6 c 2. 14 C 3. 14 8 O 4. 14 O
  • 2. 5.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 1. 233 92 U 229 90 Th + α 2. 213 83 Bi 213 84Po + β 3. 227 89 Ac 223 87 Fr + β 4. 219 86 Rn 215 84Po + α 6. ปฏิกิริยาระหว่างผงเหล็กกับออกวิเจนในอากาศเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน การเปลี่ยนแปลงในข้อใด ต่อไปนี้ควรทําให้ปฏิกิริยาดังกล่าว เกิดเร็วขึ้น 1. ลดสัดส่วนของแก๊สไนโตรเจนต่อแก๊สออกซิเจนในอากาศ 2. เพิ่มขนาดอนุภาคของผงเหล็ก 3. ลดอุณหภูมิของผงเหล็ก 4. ผสมผงสังกะสีลงในผงเหล็ก 7. เมื่อศึกษาปฏิกิริยา 2A(g)+ B(g)--> C(g) + 2D(g) ที่ 25o C ได้ผลการทดลองดังแสดงในตาราง ต่อไปนี้ ความเข้มข้นของ A ความเข้มข้นของ B ความเข้มข้นของ C (mol/dm 3 ) (mol/dm 3 ) (mol/dm 3 .s) 0.01 0.01 1.20 x 10-3 0.02 0.01 2.40 x 10-3 0.03 0.01 3.60 x 10-3 0.04 0.02 1.44 x 10-3 จงคํานวณหาอัตราการเกิดของ D เมื่อ [A] = 0.040 mol/dm 3 และ [B] = 0.025 mol/dm 3 1. 0.06 mol/dm 3 .s 2. 0.08 mol/dm 3 .s 3. 0.10 mol/dm 3 .s 4.0.12 mol/dm 3 .s
  • 3. 8.การสลายตัวของสาร R ไปเป็นสาร P เกิดโดยมีขั้นตอนเดียว คือ R --- > P และความเข้มข้นของ R ขณะทํา ปฏิกิริยาดําเนินไปดังนี้ เวลา,วินาที [R], mol/dm3 0.0 0.400 1.0 0.360 2.0 0.320 3.0 0.280 จงหาความเข้มข้นของ P ในหน่วย mol/dm3 เมื่อเวลาผ่านไป 20 วินาที 1. 0.000 2. 0.200 3. 0.400 4. 0.800 9.ในการสลายตัวของ NOCI ที่ 50o C มีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารดังนี้ เวลา ความเข้มข้นของ NOCI (นาที) (mol/dm3 ) 0 5 5 3.5 10 2.5 15 1.8 20 1.2 25 0.9 30 0.6 จากกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลา กับความสัมพันธ์ของ NOCI จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของ NOCI ที่เวลา 10 นาที ในหน่วย mol/dm3. .Min 1. 0.16 2. 0.25 3. 4.0 4. 6.25
  • 4. 12.สารประกอบที่มีสูตรโมเลกุลที่กําหนดในข้อใด มีจํานวนไฮโซเมอร์สูงสุด 1. สารอะโรมาติกที่มีสูตร C6 H4CI2 2. เอสเทอร์ที่มีสูตร C4H8O2 3. แอลกอฮอล์ที่มีสูตร C3 H6O 4. สารที่มีหมู่คาร์บอนิค ที่มีสูตร C2H4O2 13.CH3 – C C– CH3 มีชื่อว่าอะไร 1. เพนทีน 2.โพรไพน์ 3. บิวทีน 4. บิวไทน์ 14. จุดเดือดของกรดเพนทาโนอิกสูงกว่าเพนทานอลเนื่องจาก 1.ไม่มีพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของเพนทานอล 2. มีพันธะโคเวเลนต์ระหว่างโมเลกุลของกรดเพนทาโนอิก 3. มีพันธะไอออนิกระหว่างโมเลกุลของกรดเพนทาโนอิก 4.พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของกรดเพนทาโนอิกแข็งแรงกว่าของเพนทานอล
  • 5. 15. สารข้อใดเป็น แอลดีไฮด์และแอลกอฮอล์ ตามลําดับ 1. HCOOH และ CH3COCH3 2. CH3CHO และ CH3CHOHCH3 3. CH3 CH2 CH2OH และ CH3 CHO 4. HCHO และ CH3 COCH2 CH3 16. สาร A และ B ต่างเป็นสารอินทรีย์ที่ละลายได้ดีในนํ้า และทําปฏิกิริยากับโลหะโซเดียม ได้ก๊าซ ไฮโดรเจน เมื่อนําสาร A มาทําปฏิกิริยากับสาร B ได้ผลิตภัณฑ์คือสาร C ซึ่งมีสูตรโมเลกุล C4 H8 O2 และ ไม่ละลายนํ้า แต่ละลายได้ดีในสาร NaOH หากสาร A ทําปฏิกิริยากับโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตแล้วเกิด ฟองก๊าซ D ขึ้น ข้อใดถูกต้อง 1. ก๊าซ D ที่เกิดขึ้นคือก๊าซออกซิเจน 2. สาร A และ B อย่างละ 1 โมเลกุลมีออกซิเจนต่างกัน 1 ตัว 3. สาร A เกิดปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน เมื่อเติมลงในสารละลาย NaOH 4. พันธะระหว่างคาร์บอนกับออกซิเจนที่มีทั้งหมดใน A เป็นพันธะคู่ 18.ปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี้ 2K2Cr2 O7 + 24H2SO4 + 3H2S K2SO4 + Cr2 (SO4)3 + 7H2O + 3S ตัวรีดิวซ์มีเลขออกซิเดชันเปลี่ยนแปลงอย่างไร 1. -2 เป็น +3 2. -2 เป็น 0 3. +6 เป็น +3 4.+6 เป็น 0
  • 6. 19.ปฏิกิริยาที่แคโทดของเซลล์เงินเกิดจากการทําปฏิกิริยาของสารในข้อใด 1. Ag2O (s) + H2O (1) + 2e 2. Ag2O (s) + 20H(aq) 3. ZnO (s) + 2Ag(s) 4. ZnO (s) + H2O (1) + 2e 20. ในการแยกสารละลาย CuSO2 มีข้อมูลดังนี้ E º (โวลท์) Cu2+ (aq) + 2e- Cu(s) + 0.34 ½ S2 O8 2- (aq) + e SO4 2- (aq) + 2.01 2H2O(1) + 2e- H2(g) + 2OH- (aq) - 0.83 ½ O2(g) + 2H+ (aq) + 2e- H2O(1) +1.23 ข้อใดสรุปไม่ถูกต้อง 1. ก๊าซไฮโดรเจนเป็นตัวรีดิวส์ที่ดีกว่า SO4 2- 2. Cu2+ รับอิเล็กตรอนง่ายกว่านํ้า 3. ที่ขั้วลบจะเกิดปฏิกิริยารีดักชันของทองแดง 4. ที่ขั้วบวกจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของ SO4 2-