SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
2 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ต่อมใต้สมองส่วนใดที่สร้างฮอร์โมนควบคุมอวัยวะอื่นๆ มากที่สุด 
ก. ส่วนหน้า 
ข. ส่วนกลาง 
ค. ส่วนหลัง 
ง. ข้อ ก และ ข 
2. ฮอร์โมนในข้อใดควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายมากที่สุด 
ก. เอนดอร์ฟิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. โกนาโดโทรฟิน 
ง. โกรทฮอร์โมน 
3. ฮอร์โมนที่สร้างขึ้นมามากในขณะที่หญิงให้นมบุตร คือข้อใด 
ก. ออกซิโทซิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. ลูติไนซิงฮอร์โมน 
ง. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน 
4. โกรทฮอร์โมนที่สร้างมากเกินไปในผู้ใหญ่ทาให้เกิดอาการใด 
ก. กระดูกเสื่อม 
ข. ร่างกายเตี้ย แคระ 
ค. ร่างกายใหญ่โตผิดปกติ 
ง. มือ เท้า ขากรรไกรใหญ่โตอย่างไม่ได้สัดส่วน 
5. ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมฮอร์โมนโพรแลกตินทาหน้าที่ใด 
ก. กระตุ้นการสร้างโพรเจสเทอโรน 
ข. สร้างเมือกในทางเดินอาหาร 
ค. สร้างเอนไซด์ในลาไส้เล็ก 
ง. กระตุ้นการสร้างน้านม
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
3 
6. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เมลานิน 
ก. มีมากจะทาให้สีผิวซีด 
ข. มีน้อยสีผิวจะเข้ม หมองคล้า 
ค. มีมากสีผิวจะเข้ม หมองคล้า 
ง. เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง 
7. ฮอร์โมนในข้อใด เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน 
ก. เอนดอร์ฟิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. โกนาโดโทรฟิน 
ง. โกรทฮอร์โมน 
8. ออกซิโทซินและแอนติไดยูเรติกฮอร์โมนถูกส่งไปยังอวัยวะเป้าหมายทางใด 
ก. แอกซอน 
ข. เส้นเลือด 
ค. ท่อน้าเหลือง 
ง. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
9. ขณะที่ผู้หญิงปวดท้องคลอด จะหลั่งฮอร์โมนชนิดใดออกมามากที่สุด 
ก. โพรแลกติน 
ข. ออกซิโทซิน 
ค. วาโซเพรสซิน 
ง. เมลาโทนิน 
10. เบาจืด คือ อาการใด 
ก. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตได้น้อย 
ข. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายได้น้อย 
ค. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตมากเกินไป 
ง. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายมากเกินไป
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
4 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
ข้อที่ คาตอบ 
1 ก 
2 ง 
3 ข 
4 ง 
5 ง 
6 ค 
7 ก 
8 ข 
9 ข 
10 ก 
ถูกกี่ข้อครับ ถ้าได้น้อยไม่เป็นไร 
เข้าไปศึกษาเนื้อหากันก่อนนะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
5 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
เพื่อให้นักเรียนสามารถ 
1.อธิบายลักษณะของต่อมใต้สมองได้ 
2.บอกชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมน 
จากต่อมใต้สมองได้ 
3.บอกผลของการขาดฮอร์โมน 
จากต่อมใต้สมองได้
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
6 
บัตรคาสั่งที่ 2.1 
ลักษณะของต่อมใต้สมอง 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2.1 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 2.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 2.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
7 
บัตรเนื้อหาที่ 2.1 
ลักษณะของต่อมใต้สมอง 
ต่อมใต้สมอง 
ที่มา:http://www. endocrinesystem409.blogspot.com 
883 × 351 (15 มีนาคม 2555) 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าต่อมใต้สมองมีลักษณะ อย่างไร และต่อมใต้สมองมีกี่ส่วน อะไรบ้าง 
ถ้าอยากรู้ตามมาทางนี้ซิ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
8 
บัตรเนื้อหาที่ 2.1 
ลักษณะของต่อมใต้สมอง 
ต่อมใต้สมอง ( pituitary gland ) มีขนาดประมาณ 1 - 1.5 เซนติเมตร เป็นต่อมที่อยู่ติดกับส่วนล่างของสมองส่วนไฮโพทาลามัส แบ่งได้ 3 ส่วนคือ 
1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary) 
2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (interior pituitary) 
3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary) 
ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง มีต้นกาเนิดมาจากเนื้อเยื่อชนิดเดียวกัน ที่เรียกว่า Adenohypophysis ซึ่งสามารถสร้างฮอร์โมนได้เอง 
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเป็นหน่วยเดียวกันซึ่งถือได้ว่าเป็นต่อมไร้ท่อแท้จริง 
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเยื่อประสาท ที่เรียกว่า Neurohypophysis 
ภาพแสดงลักษณะของต่อมใต้สมอง ที่มา : http://watchawan.blogspot.com/534 × 401 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
9 
การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า : เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้างฮอร์โมนได้ ต้องถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนประสาทหรือ รีลีสซิ่งฮอร์โมน ( releasing hormone ) ที่สร้างจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ ( neurosecretory cell ) ที่มีตัวเซลล์อยู่ที่สมอง ส่วนไฮโพทาลามัสเสียก่อน ภาพแสดงการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ที่มา : http://www.pibul.ac.th 225 × 204 (15 มีนาคม 2555) ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : ไม่ได้สร้างฮอร์โมนได้เอง แต่มีปลายแอกซอน ของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ จากสมองส่วนไฮโพทาลามัสมาสิ้นสุด และหลั่งฮอร์โมน ประสาทออกมาสู่กระแสเลือดเข้าสู่เส้นเลือดที่มาเลี้ยงต่อมใต้สมองส่วนหลัง ดังนั้นฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหลังก็คือ ฮอร์โมนประสาทนั่นเอง 
ภาพแสดงการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง 
ที่มา : http://www.pibul.ac.th 482 × 400 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
10 
บัตรคาถามที่ 2.1 
ลักษณะของต่อมใต้สมอง 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกอักษร ด้านล่างใส่ลงในช่อง ที่มีข้อความสัมพันธ์ 
กับข้อความทางด้านบน เพียงคาตอบเดียว 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. รีลีสซิ่งฮอร์โมน 
2. ต่อมที่ไม่ได้สร้างฮอร์โมนเอง 
3. ต้นกาเนิดของต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง 
4. ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง 
5. จะสร้างฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนประสาท 
ก. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
ข. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง 
ค. ฮอร์โมนประสาท 
ง. สร้างจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ 
จ. Adenohypophysis
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
11 
บัตรเฉลยคาถามที่ 2.1 
ลักษณะของต่อมใต้สมอง 
9vตอ 
1. ง 
2. ข 
3. จ 
4. ค 
5. ก 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหมครับ 
เก่งที่สุดเลย
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
12 
บัตรคาสั่งที่ 2.2 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2.2 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 2.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 2.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
13 
บัตรเนื้อหาที่ 2.2 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้างฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้น 
จากฮอร์โมนประสาทหรือ รีลีสซิ่งฮอร์โมน ( releasing hormone ) ที่สร้างจาก 
นิวโรซีครีทอรีเซลล์ ( neurosecretory cell) ที่มีตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัส 
ต่อมใต้สมองส่วนหน้าสร้างและหลั่งฮอร์โมน 7 ชนิด คือ 
1. ACTH (Adenocorticotropic hormone or Corticotropin) 
กระตุ้นการเจริญเติบโตสังเคราะห์ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต คือ ฮอร์โมนคอร์ติซอล 
กระตุ้นการกระจายตัวของเมลานินใต้ผิวหนัง กระตุ้นการสลายตัวของ ไขมัน กระตุ้น 
การส่งผ่านกรดอะมิโนและกลูโคสที่กล้ามเนื้อ 
2. ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน ( thyroid stimulating hormone 
: TSH ) ทาหน้าที่ กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างและหลั่งฮอร์โมนตามปกติ 
3. โกรทฮอร์โมน (Growth hormone : GH) หรือ โซมาโตรโทรฟิน 
(Somatotrophin/ somatotrophic hormone : STH) มีหน้าที่ควบคุม 
การเจริญเติบโตของร่างกายให้เป็นปกติ (การแบ่งเซลล์ การสังเคราะห์โปรตีน 
และสร้างกระดูก กระตุ้นการทางานของเซลล์สร้างกระดูก (Osteoblast)) 
มีผลต่อเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน กระตุ้นการสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคส 
เด็กที่กาลังเจริญเติบโตมีฮอร์โมนนี้สูงกว่าในผู้ใหญ่ 
อวัยวะเป้าหมาย : อวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ได้แก่ กระดูก 
กล้ามเนื้อที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายทั้งหมดโดยฮอร์โมนจะมีผลทาให้เซลล์ 
เพิ่มการนากรดอะมิโนเข้าสู่เซลล์และเพิ่มการสังเคราะห์โปรตีนของเซลล์ 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ ต่อมใต้สมองสร้างฮอร์โมน ชนิดใดบ้าง และฮอร์โมนแต่ละชนิดทา หน้าที่อะไร อยากรู้ตามผมมาทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
14 
4. โกนาโดโทรฟิน (Gonadotropin / Gonadotrophic hormone) 
ประกอบด้วยฮอร์โมน 2 ชนิด คือ ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอร์โมน (follicle stimulating 
hormone; FSH) และลูทิไนซิงฮอร์โมน (Lutinizing hormone; LH) 
เพศหญิง 
FSH จะกระตุ้นการเจริญเติบโตของฟอลลิเคิล (Ovarian follicle) 
ออกฤทธิ์ร่วมกับ LH ให้สร้างและหลั่งฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen) 
LH กระตุ้นให้ไข่สุกและการตกไข่ หลังการตกไข่จะช่วยกระตุ้น 
ให้เซลล์ในฟอลลิเคิลให้กลายเป็นคอร์ปัสลูเทียม (corpus luteum) เพื่อสร้างฮอร์โมน 
โพรเจสเทอโรน (progesterone) ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก 
เพื่อรองรับการฝังตัวของเอ็มบริโอ 
เพศชาย 
FSH กระตุ้นการเจริญเติบโตของหลอดสร้างอสุจิ (seminiferous 
tubule) ในอัณฑะและกระตุ้นการสร้างอสุจิ (Spermatogenesis) 
LH กระตุ้นกลุ่มอินเตอร์สติเชียลเซลล์ของอัณฑะให้สร้างและหลั่ง 
ฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน (Testosterone) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ฮอร์โมนกระตุ้นอินเตอร์ 
สติเชียล (interstitial cell stimulating hormone หรือ ICSH) 
แผนภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมน LH และ FSH ในเพศหญิงและชาย 
ที่มา : http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
15 
5. โพรแลกทิน (prolactin inhibiting hormone : PRL) 
เป็นโปรตีนสายเดียวที่โครงสร้างคล้ายกับโกรทฮอร์โมน ประกอบด้วยกรดอะมิโน 
ประมาณ199 หน่วย หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
หน้าที่ของโพรแลกทิน 
1. กระตุ้นให้มีการสร้างน้านมในหญิงที่มีลูกอ่อน 
2. กระตุ้นการสังเคราะห์น้านม (lactogenesis) ซึ่งเป็นแหล่งอาหาร 
ที่สาคัญของทารก 
3. กระตุ้นให้ต่อมน้านมหลั่งน้านมออกมา ซึ่งจะหลั่งออกมา 
วันที่ 3-4 หลังคลอดมีความสาคัญในระบบสืบพันธุ์ ได้แก่ เป็นฮอร์โมนที่สาคัญ 
ในช่วงการตั้งครรภ์ของสัตว์บางชนิดเช่น สุนัข โรเด็นท์ (rodent) และเป็นฮอร์โมน 
ที่สาคัญในสัญชาติญาณของการเป็นมารดาในสัตว์บางชนิด(maternal behavior) 
เช่น การทารัง เป็นต้น 
นอกจากนี้โพรแลกทินมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางานของระบบภูมิคุ้มกัน 
(immune function) โดยจากการศึกษาพบว่าหนูที่ทดลองเอายีนโพรแลกทินออก 
จะมีความผิดปกติของภูมิ คุ้มกัน ทั้งนี้เนื่องจากพบตัวรับสัญญาณโพรแลกทินในเซลล์ 
ของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น ลิมโฟไซด์(lymphocytes) บางชนิด 
ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนโพรแลกทิน 
ที่มา : http://www. thaigoodview.com 586 × 346 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
16 
6. เอนดอร์ฟิน ( Endorphin ) เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน 
พบว่ามีแหล่งสร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า และอาจสร้างจากเนื้อเยื่อส่วนอื่นๆ อีกด้วย 
เป็นสารที่ทาหน้าที่ระงับความเจ็บปวดและเชื่อกันว่าเอนดอร์ฟีนยังเป็นสารที่ทาให้เรา 
มีความคิดในทางสร้างสรรค์ ช่วยเพิ่มความตื่นตัวมีชีวิตชีวาและความสุข 
สารนี้จะหลั่งเมื่อเราออกกาลังกายหรือเมื่อเรามีอารมณ์แจ่มใส จึงเรียกสารที่หลั่งมานี้ว่า 
สารแห่งความสุข 
แผนภาพสรุปหน้าที่ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
ที่มา : http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
17 
บัตรคาถามที่ 2.2 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ฮอร์โมนในข้อใดควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายมากที่สุด 
ก. เอนดอร์ฟิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. โกนาโดโทรฟิน 
ง. โกรทฮอร์โมน 
2. ฮอร์โมนที่สร้างขึ้นมามากในขณะที่หญิงให้นมบุตร คือข้อใด 
ก. ออกซิโทซิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. ลูติไนซิงฮอร์โมน 
ง. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน 
3. โกรทฮอร์โมนที่สร้างมากเกินไปในผู้ใหญ่ทาให้เกิดอาการใด 
ก. กระดูกเสื่อม 
ข. ร่างกายเตี้ย แคระ 
ค. ร่างกายใหญ่โตผิดปกติ 
ง. มือ เท้า ขากรรไกรใหญ่โตอย่างไม่ได้สัดส่วน 
4. ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมฮอร์โมนโพรแลกตินทาหน้าที่ใด 
ก. กระตุ้นการสร้างโพรเจสเทอโรน 
ข. สร้างเมือกในทางเดินอาหาร 
ค. สร้างเอนไซด์ในลาไส้เล็ก 
ง. กระตุ้นการสร้างน้านม 
5. ฮอร์โมนในข้อใด เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน 
ก. เอนดอร์ฟิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. โกนาโดโทรฟิน 
ง. โกรทฮอร์โมน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
18 
บัตรเฉลยคาถามที่ 2.2 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
1.ง 
2.ข 
3.ง 
4.ง 
5.ก 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
19 
บัตรคาสั่งที่ 2.3 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางและส่วนหลัง 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2.3 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 2.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 2.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
20 
บัตรเนื้อหาที่ 2.3 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางและส่วนหลัง 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง 
ต่อมใต้สมองส่วนกลางมีความสาคัญและหน้าที่เด่นชัดเฉพาะในสัตว์ ที่มีกระดูกสันหลังบางชนิดเท่านั้น โดยทาหน้าที่ผลิตและหลั่งเมลาโนไซต์สติมิวเลติงฮอร์โมน 
(melanocyte stimulating hormone : MSH ) จะทาหน้าที่กระตุ้นเซลล์เมลาโนไซต์ 
(melanocyte) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ระหว่างหนังกาพร้า (epidermis) และหนังแท้ 
(dermis) ให้สังเคราะห์รงควัตถุสีน้าตาล-ดา ที่เรียกว่า เมลานิน (melanin) 
นอกจากนั้น MSH ยังทาหน้าที่กระตุ้นให้เมลานินภายในเมลาโนไซต์กระจายตัว 
ออกไปทั่วเซลล์ เป็นให้สีผิวเข้มขึ้น 
ในสัตว์จาพวกปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าและสัตว์เลื้อยคลานบางชนิดสามารถ 
เปลี่ยนสีผิวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อการพรางตัวได้อย่างรวดเร็วการเปลี่ยนสีผิวดังกล่าว 
เกิดจากการกระจายตัวของเมลานินภายในเมลาโนไซต์ซึ่งได้รับการกระตุ้นจาก MSH นั่นเอง 
ในคนต่อมใต้สมองส่วนกลางจะมีขนาดเล็กมาก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของ 
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทาหน้าที่ผลิตและหลั่ง MSH ซึ่งมีสูตรโครงสร้างคล้ายกับACTH มาก 
แต่ไม่มีบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าต่อมใต้สมองส่วนกลาง และ ต่อมใต้สมองส่วนหลัง สร้างฮอร์โมนได้อย่างไร 
อยากรู้เชิญทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
21 
ภาพแสดงการกระจายตัวของผิวที่มีเมลานินน้อย 
ที่มา : http://www. sites.google.com 700 × 293 (15 มีนาคม 2555) 
ภาพแสดงการกระจายตัวของผิวที่มีเมลานินมาก 
ที่มา : http://www. sites.google.com 700 × 293 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
22 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง 
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : เจริญมาจากเนื้อเยื่อประสาท ต่อมใต้สมองส่วนหลังเป็นที่เก็บฮอร์โมนสองชนิดที่หลั่งจากของใยประสาท แอกซอน (axon) ของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ที่ตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัส ฮอร์โมนจะเคลื่อนที่ตามเส้นประสาทแอกซอนและมาเก็บไว้ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เมื่อเซลล์ประสาทได้รับการกระตุ้น ฮอร์โมนที่เก็บไว้จะถูกหลั่งเข้าสู่กระแสเลือด ไปยังอวัยวะเป้าหมายเป็นพวกโปรตีนฮอร์โมน ต่อมใต้สมองส่วนหลัง สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ 1. วาโซเพรสซินหรือแอนตี้ไดยูเรติกฮอร์โมน (vasopressin) หรือ แอนตี้ไดยูเรติก ฮอร์โมน (antidiuretic hormone : ADH) ทาหน้าที่ : กระตุ้นการดูดน้ากลับเข้าสู่ท่อหน่วยไตเมื่อปริมาณน้าในเลือดลดลง จึงควบคุมการเกิดน้าปัสสาวะ อวัยวะเป้าหมาย : ท่อหน่วยไตและหลอดเลือดแดง 2. ออกซิโทซิน (oxytocin) ทาหน้าที่ : กระตุ้นกล้ามเนื้อมดลูกให้บีบหรือหดตัวเป็นระยะๆเพื่อให้ทารกคลอด กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้านมทาให้มีการหลั่งน้านมเพื่อเลี้ยงทารก การดูดนมของทารกช่วยกระตุ้นให้มีการหลั่งออกซิโทซินมากขึ้น ทาให้กล้ามเนื้อรอบๆ ต่อมน้านมมีการบีบตัวขับน้านมออกมามากขึ้น อวัยวะเป้าหมาย : กล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้านม ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ที่มา : http://www. endocrine .com 455 × 438 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
23 
บัตรคาถามที่ 2.3 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางและส่วนหลัง 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ต่อมใต้สมองส่วนใดที่สร้างฮอร์โมนควบคุมอวัยวะอื่นๆ มากที่สุด 
ก. ส่วนหน้า 
ข. ส่วนกลาง 
ค. ส่วนหลัง 
ง. ข้อ ก และ ข 
2. ออกซิโทซินและแอนติไดยูเรติกฮอร์โมนถูกส่งไปยังอวัยวะเป้าหมายทางใด 
ก. แอกซอน 
ข. เส้นเลือด 
ค. ท่อน้าเหลือง 
ง. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
3. ขณะที่ผู้หญิงปวดท้องคลอด จะหลั่งฮอรโมนชนิดใดออกมามากที่สุด 
ก. โพรแลกติน 
ข. ออกซิโทซิน 
ค. วาโซเพรสซิน 
ง. เมลาโทนิน 
4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เมลานิน 
ก. มีมากจะทาให้สีผิวซีด 
ข. มีน้อยสีผิวจะเข้ม หมองคล้า 
ค. มีมากสีผิวจะเข้ม หมองคล้า 
ง. เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง 
5. เบาจืด คือ อาการใด 
ก. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตได้น้อย 
ข. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายได้น้อย 
ค. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตมากเกินไป 
ง. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายมากเกินไป
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
24 
บัตรเฉลยคาถามที่ 2.3 
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางและส่วนหลัง 
1.ก 
2.ข 
3.ข 
4.ค 
5.ก 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
25 
บัตรคาสั่งที่ 2.4 
ผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2.4 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 2.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 2.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
26 
บัตรเนื้อหาที่ 2.4 
ผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน 
ฮอร์โมน (hormone) คือ สารเคมีจากที่สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) ทั้งมนุษย์ สัตว์และพืชสร้างขึ้นมาจากต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) และเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย แล้วไหลเข้าสู่กระแสเลือด 
ไปยังอวัยวะเป้าหมาย มีหน้าที่ดังนี้ กระตุ้นหรือยับยั้งการเจริญเติบโต กระตุ้นหรือยับยั้ง 
โปรแกรมการสลายตัวของเซลล์ กระตุ้นหรือยับยั้งระบบภูมิคุ้มกัน ควบคุม กระบวนการ 
สร้างและสลาย (metabolism) และเตรียมพร้อมสาหรับบทบาทใหม่ๆ เช่น การต่อสู้ หนี 
ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนหรือมีฮอร์โมนในร่างกายมากเกินไปอาจทาให้เกิดความผิดปกติ 
ภายในร่างกาย ดังต่อไปนี้ 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าถ้าร่างกายขาดฮอร์โมน 
จากต่อมใต้สมอง จะเกิดอะไรขึ้นบ้าง 
อยากรู้ตามมาทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
27 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 
1. ฮอร์โมนโกรท (GH) 
มีฮอร์โมนมากเกินไปในเด็ก จะทาให้การเจริญเติบโตของร่างกาย 
สูงผิดปกติเรียกว่า ไจแอนทิซึม(gigantism) 
ภาพแสดงลักษณะของอาการ gigantism ที่มา : http://www. thaigoodview.com 200 × 319 (10 มีนาคม 2555) 
มีฮอร์โมนโกรทมากในผู้ใหญ่ ร่างกายจะไม่สูงใหญ่กว่าปกติมากนักแต่ส่วนที่เป็น 
กระดูกตาม แขน ขา คาง กระดูกขากรรไกร และกระดูกแก้มยังตอบสนองต่อฮอร์โมนนี้อยู่ 
ทาให้เกิดความผิดปกติของกระดูกตามบริเวณใบหน้า นิ้วมือ นิ้วเท้า เรียกอาการดังกล่าว 
ว่า อะโครเมกาลี (acromegaly) 
ภาพแสดงลักษณะของอาการอะโครเมกาลี ที่มา : http://www. pibul.ac.th 592 × 545 (10 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
28 
มีฮอร์โมนโกรทน้อยเกินไปในเด็ก ทาให้การเจริญเติบโตของร่างกายน้อยผิดปกติ 
เกิดลักษณะเตี้ยแคระเรียกว่า Dwarfism 
มีฮอร์โมนน้อยเกินไปในผู้ใหญ่ จะไม่มีอาการปรากฏเด่นชัดแต่พบว่าระดับน้าตาล กลูโคสในเลือดจะต่ากว่าคนปกติทาให้ร่างกายไม่สามารถทนต่อความเครียดต่างๆ ทางอารมณ์ และสมองอาจได้รับอันตรายจากการขาดน้าตาลกลูโคสไปเลี้ยงหากเป็นมากอาจถึงแก่ชีวิตได้ 
ภาพแสดงลักษณะของอาการ Dwarfism ที่มา : http://www. suriyothai.ac.th 400 × 320 (10 มีนาคม 2555) 
2. วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ADH 
ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะเกิดอาการเบาจืดทาให้ปัสสาวะบ่อย เนื่องจากท่อหน่วยไตดูดน้ากลับ 
เข้าสู่ท่อได้น้อย 
กลไกควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ADH 
ที่มา : http://www. vcharkarn.com 500 × 271 (10 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
29 
3. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (FSH) ถ้าขาดจะทาให้การเจริญของอัณฑะ 
และการสร้างอสุจิของเพศชายลดน้อยลงอาจเป็นหมันได้ ในเพศหญิงจะทาให้ฟอลลิเคิล 
เจริญและสร้างฮอร์โมนอีสโทรเจนได้น้อยลงทาให้เพศหญิงมีรูปร่างและผิวพรรณไม่เต่งตึง 
เหี่ยวย่น 
กลไกควบคุมการหลั่งฮอร์โมนเพศ 
ที่มา : http://www. vcharkarn.com 400 × 353 (10 มีนาคม 2555) 
4. ลูทิไนซ์ซิ่งฮอร์โมน (LH) ทาให้เพศหญิงเกิดการตกไข่ เกิดคอร์ปัสลูเทียม 
และสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน (progesterone) ได้น้อยกว่าปกติ 
ในเพศชายการกระตุ้นกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียลให้หลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน 
(testosterone) ลดลง 
ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน 
ที่มา : http://www. skinrelax.com 806 × 532 (10 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
30 
5. ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (adrenocorticotrophin hormone) 
หรือ ACTH ทาให้การกระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไตให้สร้างฮอร์โมน 
ผิดปกติจากภาวะสมดุล 
ภาพแสดงการหลั่งACTH จากต่อมหมวกไต 
ที่มา : http://www. myfirstbrain.com 380 × 250 (10 มีนาคม 2555) 
6. ฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์ (thyroid stimulating hormone) หรือ TSH 
ทาให้การกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนผิดปกติ อาจทาให้ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมน 
มากขึ้นหรือทางานหนักซึ่งส่งผลให้ต่อมไทรอยด์โตผิดปกติ 
ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมน TSH 
ที่มา : http://www. www3.ipst.ac.th 400 × 523 (10 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
31 
7. ออกซิโทซิน ( oxytocin ) ถ้าขาดการหลั่งออกซิโทซิน ทาให้กล้ามเนื้อ 
รอบๆต่อมน้านมมีการบีบตัวน้อยขับน้านมออกมาได้น้อยไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงทารก 
ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซิน 
ที่มา : http://www. thaigoodview.com 487 × 382 (10 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
32 
บัตรคาถามที่ 2.4 
ผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย ใน หน้าข้อความที่ถูกต้อง 
และทาเครื่องหมาย  ใน หน้าข้อความที่ผิด 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. คอร์ปัสลูเทียมสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน 
2. ลูทิไนซ์ซิ่งฮอร์โมนกระตุ้นกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียลในเพศหญิง 
ให้หลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน 
3. ACTH ทาให้การกระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต 
ให้สร้างฮอร์โมน 
4. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (FSH) ถ้ามีมากจะทาให้การเจริญ 
ของอัณฑะและการสร้างอสุจิของเพศชายลดน้อยลงอาจเป็นหมันได้ 
5. ถ้าขาดการหลั่งออกซิโทซิน ทาให้กล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้านม 
มีการบีบตัวน้อยขับน้านมออกมาได้น้อย 
ทาด้วยความตั้งใจ และ ซื่อสัตย์นะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
33 
บัตรเฉลยคาถามที่ 2.4 
ผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 
1. 
2. 
3. 
4. 
5. 
เก่งมาก ๆ 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
34 
แบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เมลานิน 
ก. มีมากจะทาให้สีผิวซีด 
ข. มีน้อยสีผิวจะเข้ม หมองคล้า 
ค. มีมากสีผิวจะเข้ม หมองคล้า 
ง. เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง 
2. ต่อมใต้สมองส่วนใดที่สร้างฮอร์โมนควบคุมอวัยวะอื่นๆ มากที่สุด 
ก. ส่วนหน้า 
ข. ส่วนกลาง 
ค. ส่วนหลัง 
ง. ข้อ ก และ ข 
3. ฮอร์โมนในข้อใดควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายมากที่สุด 
ก. เอนดอร์ฟิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. โกนาโดโทรฟิน 
ง. โกรทฮอร์โมน 
4. ฮอร์โมนที่สร้างขึ้นมามากในขณะที่หญิงให้นมบุตร คือข้อใด 
ก. ออกซิโทซิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. ลูติไนซิงฮอร์โมน 
ง. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน 
5. โกรทฮอร์โมนที่สร้างมากเกินไปในผู้ใหญ่ทาให้เกิดอาการใด 
ก. กระดูกเสื่อม 
ข. ร่างกายเตี้ย แคระ 
ค. ร่างกายใหญ่โตผิดปกติ 
ง. มือ เท้า ขากรรไกรใหญ่โตอย่างไม่ได้สัดส่วน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
35 
6. ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมฮอร์โมนโพรแลกตินทาหน้าที่ใด 
ก. กระตุ้นการสร้างโพรเจสเทอโรน 
ข. สร้างเมือกในทางเดินอาหาร 
ค. สร้างเอนไซด์ในลาไส้เล็ก 
ง. กระตุ้นการสร้างน้านม 
7. ออกซิโทซินและแอนติไดยูเรติกฮอร์โมนถูกส่งไปยังอวัยวะเป้าหมายทางใด 
ก. แอกซอน 
ข. เส้นเลือด 
ค. ท่อน้าเหลือง 
ง. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 
8. ขณะที่ผู้หญิงปวดท้องคลอด จะหลั่งฮอร์โมนชนิดใดออกมามากที่สุด 
ก. โพรแลกติน 
ข. ออกซิโทซิน 
ค. วาโซเพรสซิน 
ง. เมลาโทนิน 
9. เบาจืด คือ อาการใด 
ก. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตได้น้อย 
ข. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายได้น้อย 
ค. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตมากเกินไป 
ง. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายมากเกินไป 
10. ฮอร์โมนในข้อใด เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน 
ก. เอนดอร์ฟิน 
ข. โพรแลกติน 
ค. โกนาโดโทรฟิน 
ง. โกรทฮอร์โมน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
36 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่องต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
ข้อที่ 
คาตอบ 
1 
ค 
2 
ก 
3 
ก 
4 
ข 
5 
ง 
6 
ง 
7 
ข 
8 
ข 
9 
ก 
10 
ก 
ถูกทุกข้อใช่ไหมครับ เก่งมาก ๆ 
ศึกษาชุดต่อไปเลยครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
37 
บรรณานุกรม 
เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. 
____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : 
ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. 
ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : สานักพิมพ์ 
ประสานมิตร, 2533. 
นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : 
โปรดัคทีฟ บุ๊ค จากัด, 2541. 
ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : 
ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. สานักพิมพ์แม็ค, 2552. 
ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: 
เจริญดีการพิมพ์, 2536. 
สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต 
อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. 
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. 
กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. 
สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . 
หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . 
คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,สถาบัน.กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนวิชา 
ชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . 
กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. 
http://www. endocrinesystem409.blogspot.com 883 × 351 
(15 มีนาคม 2555) 
http://www.pibul.ac.th/vichakan/Biology 534 × 401 (15 มีนาคม 2555) 
http://www.pibul.ac.th 225 × 204 (15 มีนาคม 2555) 
http://www.pibul.ac.th 482 × 400 (15 มีนาคม 2555) 
http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 
38 
http://www. thaigoodview.com 586 × 346 (15 มีนาคม 2555) 
http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555) 
http://www. sites.google.com 700 × 293 (15 มีนาคม 2555) 
http://www. endocrine .com 455 × 438 (15 มีนาคม 2555) 
http://www. pibul.ac.th 592 × 545 (10 มีนาคม 2555) 
http://www. suriyothai.ac.th 400 × 320 (10 มีนาคม 2555) 
http://www. vcharkarn.com 500 × 271 (10 มีนาคม 2555) 
http://www. vcharkarn.com 400 × 353 (10 มีนาคม 2555) 
http://www. skinrelax.com 806 × 532 (10 มีนาคม 2555) 
http://www. myfirstbrain.com 380 × 250 (10 มีนาคม 2555) 
http://www. www3.ipst.ac.th 400 × 523 (10 มีนาคม 2555) 
http://www. thaigoodview.com 487 × 382 (10 มีนาคม 2555)

More Related Content

What's hot

10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
teerachon
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 

What's hot (20)

ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 

Viewers also liked

เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
Wan Ngamwongwan
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
supreechafkk
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3
Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
Aomiko Wipaporn
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
konfunglum
 

Viewers also liked (20)

ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไตชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โทแบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
แบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูกแบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูก
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียน
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่าย
 
แบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจแบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจ
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมน
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 

Similar to ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok

ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Suwicha Tapiaseub
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
nampeungnsc
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
wayosaru01
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
chugafull
 
....
........
....
MM AK
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
yyyim
 
สุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละสุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละ
Teraphat Aroonpairoj
 
5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน
Wichai Likitponrak
 

Similar to ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
Energy box
Energy boxEnergy box
Energy box
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
สุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละสุขศึกษาและพละ
สุขศึกษาและพละ
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 2
 
5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน5.ฮอร์โมน
5.ฮอร์โมน
 

ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok

  • 1. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ต่อมใต้สมองส่วนใดที่สร้างฮอร์โมนควบคุมอวัยวะอื่นๆ มากที่สุด ก. ส่วนหน้า ข. ส่วนกลาง ค. ส่วนหลัง ง. ข้อ ก และ ข 2. ฮอร์โมนในข้อใดควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายมากที่สุด ก. เอนดอร์ฟิน ข. โพรแลกติน ค. โกนาโดโทรฟิน ง. โกรทฮอร์โมน 3. ฮอร์โมนที่สร้างขึ้นมามากในขณะที่หญิงให้นมบุตร คือข้อใด ก. ออกซิโทซิน ข. โพรแลกติน ค. ลูติไนซิงฮอร์โมน ง. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน 4. โกรทฮอร์โมนที่สร้างมากเกินไปในผู้ใหญ่ทาให้เกิดอาการใด ก. กระดูกเสื่อม ข. ร่างกายเตี้ย แคระ ค. ร่างกายใหญ่โตผิดปกติ ง. มือ เท้า ขากรรไกรใหญ่โตอย่างไม่ได้สัดส่วน 5. ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมฮอร์โมนโพรแลกตินทาหน้าที่ใด ก. กระตุ้นการสร้างโพรเจสเทอโรน ข. สร้างเมือกในทางเดินอาหาร ค. สร้างเอนไซด์ในลาไส้เล็ก ง. กระตุ้นการสร้างน้านม
  • 2. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 3 6. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เมลานิน ก. มีมากจะทาให้สีผิวซีด ข. มีน้อยสีผิวจะเข้ม หมองคล้า ค. มีมากสีผิวจะเข้ม หมองคล้า ง. เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง 7. ฮอร์โมนในข้อใด เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ก. เอนดอร์ฟิน ข. โพรแลกติน ค. โกนาโดโทรฟิน ง. โกรทฮอร์โมน 8. ออกซิโทซินและแอนติไดยูเรติกฮอร์โมนถูกส่งไปยังอวัยวะเป้าหมายทางใด ก. แอกซอน ข. เส้นเลือด ค. ท่อน้าเหลือง ง. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 9. ขณะที่ผู้หญิงปวดท้องคลอด จะหลั่งฮอร์โมนชนิดใดออกมามากที่สุด ก. โพรแลกติน ข. ออกซิโทซิน ค. วาโซเพรสซิน ง. เมลาโทนิน 10. เบาจืด คือ อาการใด ก. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตได้น้อย ข. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายได้น้อย ค. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตมากเกินไป ง. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายมากเกินไป
  • 3. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 4 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน ข้อที่ คาตอบ 1 ก 2 ง 3 ข 4 ง 5 ง 6 ค 7 ก 8 ข 9 ข 10 ก ถูกกี่ข้อครับ ถ้าได้น้อยไม่เป็นไร เข้าไปศึกษาเนื้อหากันก่อนนะครับ
  • 4. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1.อธิบายลักษณะของต่อมใต้สมองได้ 2.บอกชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมน จากต่อมใต้สมองได้ 3.บอกผลของการขาดฮอร์โมน จากต่อมใต้สมองได้
  • 5. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 6 บัตรคาสั่งที่ 2.1 ลักษณะของต่อมใต้สมอง โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2.1 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 2.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 2.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 6. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 7 บัตรเนื้อหาที่ 2.1 ลักษณะของต่อมใต้สมอง ต่อมใต้สมอง ที่มา:http://www. endocrinesystem409.blogspot.com 883 × 351 (15 มีนาคม 2555) พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าต่อมใต้สมองมีลักษณะ อย่างไร และต่อมใต้สมองมีกี่ส่วน อะไรบ้าง ถ้าอยากรู้ตามมาทางนี้ซิ
  • 7. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 8 บัตรเนื้อหาที่ 2.1 ลักษณะของต่อมใต้สมอง ต่อมใต้สมอง ( pituitary gland ) มีขนาดประมาณ 1 - 1.5 เซนติเมตร เป็นต่อมที่อยู่ติดกับส่วนล่างของสมองส่วนไฮโพทาลามัส แบ่งได้ 3 ส่วนคือ 1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary) 2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (interior pituitary) 3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary) ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง มีต้นกาเนิดมาจากเนื้อเยื่อชนิดเดียวกัน ที่เรียกว่า Adenohypophysis ซึ่งสามารถสร้างฮอร์โมนได้เอง ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเป็นหน่วยเดียวกันซึ่งถือได้ว่าเป็นต่อมไร้ท่อแท้จริง ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเยื่อประสาท ที่เรียกว่า Neurohypophysis ภาพแสดงลักษณะของต่อมใต้สมอง ที่มา : http://watchawan.blogspot.com/534 × 401 (15 มีนาคม 2555)
  • 8. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 9 การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ต่อมใต้สมองส่วนหน้า : เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้างฮอร์โมนได้ ต้องถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนประสาทหรือ รีลีสซิ่งฮอร์โมน ( releasing hormone ) ที่สร้างจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ ( neurosecretory cell ) ที่มีตัวเซลล์อยู่ที่สมอง ส่วนไฮโพทาลามัสเสียก่อน ภาพแสดงการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ที่มา : http://www.pibul.ac.th 225 × 204 (15 มีนาคม 2555) ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : ไม่ได้สร้างฮอร์โมนได้เอง แต่มีปลายแอกซอน ของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ จากสมองส่วนไฮโพทาลามัสมาสิ้นสุด และหลั่งฮอร์โมน ประสาทออกมาสู่กระแสเลือดเข้าสู่เส้นเลือดที่มาเลี้ยงต่อมใต้สมองส่วนหลัง ดังนั้นฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหลังก็คือ ฮอร์โมนประสาทนั่นเอง ภาพแสดงการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ที่มา : http://www.pibul.ac.th 482 × 400 (15 มีนาคม 2555)
  • 9. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 10 บัตรคาถามที่ 2.1 ลักษณะของต่อมใต้สมอง คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกอักษร ด้านล่างใส่ลงในช่อง ที่มีข้อความสัมพันธ์ กับข้อความทางด้านบน เพียงคาตอบเดียว (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. รีลีสซิ่งฮอร์โมน 2. ต่อมที่ไม่ได้สร้างฮอร์โมนเอง 3. ต้นกาเนิดของต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง 4. ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง 5. จะสร้างฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนประสาท ก. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ข. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ค. ฮอร์โมนประสาท ง. สร้างจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ จ. Adenohypophysis
  • 10. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 11 บัตรเฉลยคาถามที่ 2.1 ลักษณะของต่อมใต้สมอง 9vตอ 1. ง 2. ข 3. จ 4. ค 5. ก ตอบถูกหมดเลยใช่ไหมครับ เก่งที่สุดเลย
  • 11. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 12 บัตรคาสั่งที่ 2.2 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2.2 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 2.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 2.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 12. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 13 บัตรเนื้อหาที่ 2.2 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้างฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้น จากฮอร์โมนประสาทหรือ รีลีสซิ่งฮอร์โมน ( releasing hormone ) ที่สร้างจาก นิวโรซีครีทอรีเซลล์ ( neurosecretory cell) ที่มีตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัส ต่อมใต้สมองส่วนหน้าสร้างและหลั่งฮอร์โมน 7 ชนิด คือ 1. ACTH (Adenocorticotropic hormone or Corticotropin) กระตุ้นการเจริญเติบโตสังเคราะห์ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต คือ ฮอร์โมนคอร์ติซอล กระตุ้นการกระจายตัวของเมลานินใต้ผิวหนัง กระตุ้นการสลายตัวของ ไขมัน กระตุ้น การส่งผ่านกรดอะมิโนและกลูโคสที่กล้ามเนื้อ 2. ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน ( thyroid stimulating hormone : TSH ) ทาหน้าที่ กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างและหลั่งฮอร์โมนตามปกติ 3. โกรทฮอร์โมน (Growth hormone : GH) หรือ โซมาโตรโทรฟิน (Somatotrophin/ somatotrophic hormone : STH) มีหน้าที่ควบคุม การเจริญเติบโตของร่างกายให้เป็นปกติ (การแบ่งเซลล์ การสังเคราะห์โปรตีน และสร้างกระดูก กระตุ้นการทางานของเซลล์สร้างกระดูก (Osteoblast)) มีผลต่อเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน กระตุ้นการสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคส เด็กที่กาลังเจริญเติบโตมีฮอร์โมนนี้สูงกว่าในผู้ใหญ่ อวัยวะเป้าหมาย : อวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ได้แก่ กระดูก กล้ามเนื้อที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายทั้งหมดโดยฮอร์โมนจะมีผลทาให้เซลล์ เพิ่มการนากรดอะมิโนเข้าสู่เซลล์และเพิ่มการสังเคราะห์โปรตีนของเซลล์ พี่ ๆ รู้หรือไม่ ต่อมใต้สมองสร้างฮอร์โมน ชนิดใดบ้าง และฮอร์โมนแต่ละชนิดทา หน้าที่อะไร อยากรู้ตามผมมาทางนี้ครับ
  • 13. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 14 4. โกนาโดโทรฟิน (Gonadotropin / Gonadotrophic hormone) ประกอบด้วยฮอร์โมน 2 ชนิด คือ ฟอลลิเคิล สติมิวเลติงฮอร์โมน (follicle stimulating hormone; FSH) และลูทิไนซิงฮอร์โมน (Lutinizing hormone; LH) เพศหญิง FSH จะกระตุ้นการเจริญเติบโตของฟอลลิเคิล (Ovarian follicle) ออกฤทธิ์ร่วมกับ LH ให้สร้างและหลั่งฮอร์โมนอีสโทรเจน (estrogen) LH กระตุ้นให้ไข่สุกและการตกไข่ หลังการตกไข่จะช่วยกระตุ้น ให้เซลล์ในฟอลลิเคิลให้กลายเป็นคอร์ปัสลูเทียม (corpus luteum) เพื่อสร้างฮอร์โมน โพรเจสเทอโรน (progesterone) ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก เพื่อรองรับการฝังตัวของเอ็มบริโอ เพศชาย FSH กระตุ้นการเจริญเติบโตของหลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule) ในอัณฑะและกระตุ้นการสร้างอสุจิ (Spermatogenesis) LH กระตุ้นกลุ่มอินเตอร์สติเชียลเซลล์ของอัณฑะให้สร้างและหลั่ง ฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน (Testosterone) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ฮอร์โมนกระตุ้นอินเตอร์ สติเชียล (interstitial cell stimulating hormone หรือ ICSH) แผนภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมน LH และ FSH ในเพศหญิงและชาย ที่มา : http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555)
  • 14. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 15 5. โพรแลกทิน (prolactin inhibiting hormone : PRL) เป็นโปรตีนสายเดียวที่โครงสร้างคล้ายกับโกรทฮอร์โมน ประกอบด้วยกรดอะมิโน ประมาณ199 หน่วย หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า หน้าที่ของโพรแลกทิน 1. กระตุ้นให้มีการสร้างน้านมในหญิงที่มีลูกอ่อน 2. กระตุ้นการสังเคราะห์น้านม (lactogenesis) ซึ่งเป็นแหล่งอาหาร ที่สาคัญของทารก 3. กระตุ้นให้ต่อมน้านมหลั่งน้านมออกมา ซึ่งจะหลั่งออกมา วันที่ 3-4 หลังคลอดมีความสาคัญในระบบสืบพันธุ์ ได้แก่ เป็นฮอร์โมนที่สาคัญ ในช่วงการตั้งครรภ์ของสัตว์บางชนิดเช่น สุนัข โรเด็นท์ (rodent) และเป็นฮอร์โมน ที่สาคัญในสัญชาติญาณของการเป็นมารดาในสัตว์บางชนิด(maternal behavior) เช่น การทารัง เป็นต้น นอกจากนี้โพรแลกทินมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางานของระบบภูมิคุ้มกัน (immune function) โดยจากการศึกษาพบว่าหนูที่ทดลองเอายีนโพรแลกทินออก จะมีความผิดปกติของภูมิ คุ้มกัน ทั้งนี้เนื่องจากพบตัวรับสัญญาณโพรแลกทินในเซลล์ ของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น ลิมโฟไซด์(lymphocytes) บางชนิด ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนโพรแลกทิน ที่มา : http://www. thaigoodview.com 586 × 346 (15 มีนาคม 2555)
  • 15. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 16 6. เอนดอร์ฟิน ( Endorphin ) เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน พบว่ามีแหล่งสร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า และอาจสร้างจากเนื้อเยื่อส่วนอื่นๆ อีกด้วย เป็นสารที่ทาหน้าที่ระงับความเจ็บปวดและเชื่อกันว่าเอนดอร์ฟีนยังเป็นสารที่ทาให้เรา มีความคิดในทางสร้างสรรค์ ช่วยเพิ่มความตื่นตัวมีชีวิตชีวาและความสุข สารนี้จะหลั่งเมื่อเราออกกาลังกายหรือเมื่อเรามีอารมณ์แจ่มใส จึงเรียกสารที่หลั่งมานี้ว่า สารแห่งความสุข แผนภาพสรุปหน้าที่ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ที่มา : http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555)
  • 16. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 17 บัตรคาถามที่ 2.2 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ฮอร์โมนในข้อใดควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายมากที่สุด ก. เอนดอร์ฟิน ข. โพรแลกติน ค. โกนาโดโทรฟิน ง. โกรทฮอร์โมน 2. ฮอร์โมนที่สร้างขึ้นมามากในขณะที่หญิงให้นมบุตร คือข้อใด ก. ออกซิโทซิน ข. โพรแลกติน ค. ลูติไนซิงฮอร์โมน ง. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน 3. โกรทฮอร์โมนที่สร้างมากเกินไปในผู้ใหญ่ทาให้เกิดอาการใด ก. กระดูกเสื่อม ข. ร่างกายเตี้ย แคระ ค. ร่างกายใหญ่โตผิดปกติ ง. มือ เท้า ขากรรไกรใหญ่โตอย่างไม่ได้สัดส่วน 4. ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมฮอร์โมนโพรแลกตินทาหน้าที่ใด ก. กระตุ้นการสร้างโพรเจสเทอโรน ข. สร้างเมือกในทางเดินอาหาร ค. สร้างเอนไซด์ในลาไส้เล็ก ง. กระตุ้นการสร้างน้านม 5. ฮอร์โมนในข้อใด เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ก. เอนดอร์ฟิน ข. โพรแลกติน ค. โกนาโดโทรฟิน ง. โกรทฮอร์โมน
  • 17. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 18 บัตรเฉลยคาถามที่ 2.2 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า 1.ง 2.ข 3.ง 4.ง 5.ก ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  • 18. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 19 บัตรคาสั่งที่ 2.3 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางและส่วนหลัง โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2.3 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 2.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 2.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 19. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 20 บัตรเนื้อหาที่ 2.3 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางและส่วนหลัง ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง ต่อมใต้สมองส่วนกลางมีความสาคัญและหน้าที่เด่นชัดเฉพาะในสัตว์ ที่มีกระดูกสันหลังบางชนิดเท่านั้น โดยทาหน้าที่ผลิตและหลั่งเมลาโนไซต์สติมิวเลติงฮอร์โมน (melanocyte stimulating hormone : MSH ) จะทาหน้าที่กระตุ้นเซลล์เมลาโนไซต์ (melanocyte) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ระหว่างหนังกาพร้า (epidermis) และหนังแท้ (dermis) ให้สังเคราะห์รงควัตถุสีน้าตาล-ดา ที่เรียกว่า เมลานิน (melanin) นอกจากนั้น MSH ยังทาหน้าที่กระตุ้นให้เมลานินภายในเมลาโนไซต์กระจายตัว ออกไปทั่วเซลล์ เป็นให้สีผิวเข้มขึ้น ในสัตว์จาพวกปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าและสัตว์เลื้อยคลานบางชนิดสามารถ เปลี่ยนสีผิวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อการพรางตัวได้อย่างรวดเร็วการเปลี่ยนสีผิวดังกล่าว เกิดจากการกระจายตัวของเมลานินภายในเมลาโนไซต์ซึ่งได้รับการกระตุ้นจาก MSH นั่นเอง ในคนต่อมใต้สมองส่วนกลางจะมีขนาดเล็กมาก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทาหน้าที่ผลิตและหลั่ง MSH ซึ่งมีสูตรโครงสร้างคล้ายกับACTH มาก แต่ไม่มีบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าต่อมใต้สมองส่วนกลาง และ ต่อมใต้สมองส่วนหลัง สร้างฮอร์โมนได้อย่างไร อยากรู้เชิญทางนี้ครับ
  • 20. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 21 ภาพแสดงการกระจายตัวของผิวที่มีเมลานินน้อย ที่มา : http://www. sites.google.com 700 × 293 (15 มีนาคม 2555) ภาพแสดงการกระจายตัวของผิวที่มีเมลานินมาก ที่มา : http://www. sites.google.com 700 × 293 (15 มีนาคม 2555)
  • 21. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 22 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : เจริญมาจากเนื้อเยื่อประสาท ต่อมใต้สมองส่วนหลังเป็นที่เก็บฮอร์โมนสองชนิดที่หลั่งจากของใยประสาท แอกซอน (axon) ของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ที่ตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัส ฮอร์โมนจะเคลื่อนที่ตามเส้นประสาทแอกซอนและมาเก็บไว้ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เมื่อเซลล์ประสาทได้รับการกระตุ้น ฮอร์โมนที่เก็บไว้จะถูกหลั่งเข้าสู่กระแสเลือด ไปยังอวัยวะเป้าหมายเป็นพวกโปรตีนฮอร์โมน ต่อมใต้สมองส่วนหลัง สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ 1. วาโซเพรสซินหรือแอนตี้ไดยูเรติกฮอร์โมน (vasopressin) หรือ แอนตี้ไดยูเรติก ฮอร์โมน (antidiuretic hormone : ADH) ทาหน้าที่ : กระตุ้นการดูดน้ากลับเข้าสู่ท่อหน่วยไตเมื่อปริมาณน้าในเลือดลดลง จึงควบคุมการเกิดน้าปัสสาวะ อวัยวะเป้าหมาย : ท่อหน่วยไตและหลอดเลือดแดง 2. ออกซิโทซิน (oxytocin) ทาหน้าที่ : กระตุ้นกล้ามเนื้อมดลูกให้บีบหรือหดตัวเป็นระยะๆเพื่อให้ทารกคลอด กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้านมทาให้มีการหลั่งน้านมเพื่อเลี้ยงทารก การดูดนมของทารกช่วยกระตุ้นให้มีการหลั่งออกซิโทซินมากขึ้น ทาให้กล้ามเนื้อรอบๆ ต่อมน้านมมีการบีบตัวขับน้านมออกมามากขึ้น อวัยวะเป้าหมาย : กล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้านม ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ที่มา : http://www. endocrine .com 455 × 438 (15 มีนาคม 2555)
  • 22. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 23 บัตรคาถามที่ 2.3 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางและส่วนหลัง คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ต่อมใต้สมองส่วนใดที่สร้างฮอร์โมนควบคุมอวัยวะอื่นๆ มากที่สุด ก. ส่วนหน้า ข. ส่วนกลาง ค. ส่วนหลัง ง. ข้อ ก และ ข 2. ออกซิโทซินและแอนติไดยูเรติกฮอร์โมนถูกส่งไปยังอวัยวะเป้าหมายทางใด ก. แอกซอน ข. เส้นเลือด ค. ท่อน้าเหลือง ง. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 3. ขณะที่ผู้หญิงปวดท้องคลอด จะหลั่งฮอรโมนชนิดใดออกมามากที่สุด ก. โพรแลกติน ข. ออกซิโทซิน ค. วาโซเพรสซิน ง. เมลาโทนิน 4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เมลานิน ก. มีมากจะทาให้สีผิวซีด ข. มีน้อยสีผิวจะเข้ม หมองคล้า ค. มีมากสีผิวจะเข้ม หมองคล้า ง. เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง 5. เบาจืด คือ อาการใด ก. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตได้น้อย ข. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายได้น้อย ค. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตมากเกินไป ง. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายมากเกินไป
  • 23. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 24 บัตรเฉลยคาถามที่ 2.3 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลางและส่วนหลัง 1.ก 2.ข 3.ข 4.ค 5.ก ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  • 24. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 25 บัตรคาสั่งที่ 2.4 ผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2.4 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 2.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 2.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 25. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 26 บัตรเนื้อหาที่ 2.4 ผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน ฮอร์โมน (hormone) คือ สารเคมีจากที่สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) ทั้งมนุษย์ สัตว์และพืชสร้างขึ้นมาจากต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) และเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย แล้วไหลเข้าสู่กระแสเลือด ไปยังอวัยวะเป้าหมาย มีหน้าที่ดังนี้ กระตุ้นหรือยับยั้งการเจริญเติบโต กระตุ้นหรือยับยั้ง โปรแกรมการสลายตัวของเซลล์ กระตุ้นหรือยับยั้งระบบภูมิคุ้มกัน ควบคุม กระบวนการ สร้างและสลาย (metabolism) และเตรียมพร้อมสาหรับบทบาทใหม่ๆ เช่น การต่อสู้ หนี ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนหรือมีฮอร์โมนในร่างกายมากเกินไปอาจทาให้เกิดความผิดปกติ ภายในร่างกาย ดังต่อไปนี้ พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าถ้าร่างกายขาดฮอร์โมน จากต่อมใต้สมอง จะเกิดอะไรขึ้นบ้าง อยากรู้ตามมาทางนี้ครับ
  • 26. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 27 ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 1. ฮอร์โมนโกรท (GH) มีฮอร์โมนมากเกินไปในเด็ก จะทาให้การเจริญเติบโตของร่างกาย สูงผิดปกติเรียกว่า ไจแอนทิซึม(gigantism) ภาพแสดงลักษณะของอาการ gigantism ที่มา : http://www. thaigoodview.com 200 × 319 (10 มีนาคม 2555) มีฮอร์โมนโกรทมากในผู้ใหญ่ ร่างกายจะไม่สูงใหญ่กว่าปกติมากนักแต่ส่วนที่เป็น กระดูกตาม แขน ขา คาง กระดูกขากรรไกร และกระดูกแก้มยังตอบสนองต่อฮอร์โมนนี้อยู่ ทาให้เกิดความผิดปกติของกระดูกตามบริเวณใบหน้า นิ้วมือ นิ้วเท้า เรียกอาการดังกล่าว ว่า อะโครเมกาลี (acromegaly) ภาพแสดงลักษณะของอาการอะโครเมกาลี ที่มา : http://www. pibul.ac.th 592 × 545 (10 มีนาคม 2555)
  • 27. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 28 มีฮอร์โมนโกรทน้อยเกินไปในเด็ก ทาให้การเจริญเติบโตของร่างกายน้อยผิดปกติ เกิดลักษณะเตี้ยแคระเรียกว่า Dwarfism มีฮอร์โมนน้อยเกินไปในผู้ใหญ่ จะไม่มีอาการปรากฏเด่นชัดแต่พบว่าระดับน้าตาล กลูโคสในเลือดจะต่ากว่าคนปกติทาให้ร่างกายไม่สามารถทนต่อความเครียดต่างๆ ทางอารมณ์ และสมองอาจได้รับอันตรายจากการขาดน้าตาลกลูโคสไปเลี้ยงหากเป็นมากอาจถึงแก่ชีวิตได้ ภาพแสดงลักษณะของอาการ Dwarfism ที่มา : http://www. suriyothai.ac.th 400 × 320 (10 มีนาคม 2555) 2. วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ADH ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะเกิดอาการเบาจืดทาให้ปัสสาวะบ่อย เนื่องจากท่อหน่วยไตดูดน้ากลับ เข้าสู่ท่อได้น้อย กลไกควบคุมการหลั่งฮอร์โมน ADH ที่มา : http://www. vcharkarn.com 500 × 271 (10 มีนาคม 2555)
  • 28. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 29 3. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (FSH) ถ้าขาดจะทาให้การเจริญของอัณฑะ และการสร้างอสุจิของเพศชายลดน้อยลงอาจเป็นหมันได้ ในเพศหญิงจะทาให้ฟอลลิเคิล เจริญและสร้างฮอร์โมนอีสโทรเจนได้น้อยลงทาให้เพศหญิงมีรูปร่างและผิวพรรณไม่เต่งตึง เหี่ยวย่น กลไกควบคุมการหลั่งฮอร์โมนเพศ ที่มา : http://www. vcharkarn.com 400 × 353 (10 มีนาคม 2555) 4. ลูทิไนซ์ซิ่งฮอร์โมน (LH) ทาให้เพศหญิงเกิดการตกไข่ เกิดคอร์ปัสลูเทียม และสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน (progesterone) ได้น้อยกว่าปกติ ในเพศชายการกระตุ้นกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียลให้หลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (testosterone) ลดลง ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน ที่มา : http://www. skinrelax.com 806 × 532 (10 มีนาคม 2555)
  • 29. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 30 5. ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (adrenocorticotrophin hormone) หรือ ACTH ทาให้การกระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไตให้สร้างฮอร์โมน ผิดปกติจากภาวะสมดุล ภาพแสดงการหลั่งACTH จากต่อมหมวกไต ที่มา : http://www. myfirstbrain.com 380 × 250 (10 มีนาคม 2555) 6. ฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์ (thyroid stimulating hormone) หรือ TSH ทาให้การกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนผิดปกติ อาจทาให้ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมน มากขึ้นหรือทางานหนักซึ่งส่งผลให้ต่อมไทรอยด์โตผิดปกติ ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมน TSH ที่มา : http://www. www3.ipst.ac.th 400 × 523 (10 มีนาคม 2555)
  • 30. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 31 7. ออกซิโทซิน ( oxytocin ) ถ้าขาดการหลั่งออกซิโทซิน ทาให้กล้ามเนื้อ รอบๆต่อมน้านมมีการบีบตัวน้อยขับน้านมออกมาได้น้อยไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงทารก ภาพแสดงการหลั่งฮอร์โมนออกซิโทซิน ที่มา : http://www. thaigoodview.com 487 × 382 (10 มีนาคม 2555)
  • 31. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 32 บัตรคาถามที่ 2.4 ผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย ใน หน้าข้อความที่ถูกต้อง และทาเครื่องหมาย  ใน หน้าข้อความที่ผิด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. คอร์ปัสลูเทียมสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน 2. ลูทิไนซ์ซิ่งฮอร์โมนกระตุ้นกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียลในเพศหญิง ให้หลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน 3. ACTH ทาให้การกระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ให้สร้างฮอร์โมน 4. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (FSH) ถ้ามีมากจะทาให้การเจริญ ของอัณฑะและการสร้างอสุจิของเพศชายลดน้อยลงอาจเป็นหมันได้ 5. ถ้าขาดการหลั่งออกซิโทซิน ทาให้กล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้านม มีการบีบตัวน้อยขับน้านมออกมาได้น้อย ทาด้วยความตั้งใจ และ ซื่อสัตย์นะครับ
  • 32. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 33 บัตรเฉลยคาถามที่ 2.4 ผลที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 1. 2. 3. 4. 5. เก่งมาก ๆ ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม
  • 33. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 34 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เมลานิน ก. มีมากจะทาให้สีผิวซีด ข. มีน้อยสีผิวจะเข้ม หมองคล้า ค. มีมากสีผิวจะเข้ม หมองคล้า ง. เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง 2. ต่อมใต้สมองส่วนใดที่สร้างฮอร์โมนควบคุมอวัยวะอื่นๆ มากที่สุด ก. ส่วนหน้า ข. ส่วนกลาง ค. ส่วนหลัง ง. ข้อ ก และ ข 3. ฮอร์โมนในข้อใดควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายมากที่สุด ก. เอนดอร์ฟิน ข. โพรแลกติน ค. โกนาโดโทรฟิน ง. โกรทฮอร์โมน 4. ฮอร์โมนที่สร้างขึ้นมามากในขณะที่หญิงให้นมบุตร คือข้อใด ก. ออกซิโทซิน ข. โพรแลกติน ค. ลูติไนซิงฮอร์โมน ง. ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน 5. โกรทฮอร์โมนที่สร้างมากเกินไปในผู้ใหญ่ทาให้เกิดอาการใด ก. กระดูกเสื่อม ข. ร่างกายเตี้ย แคระ ค. ร่างกายใหญ่โตผิดปกติ ง. มือ เท้า ขากรรไกรใหญ่โตอย่างไม่ได้สัดส่วน
  • 34. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 35 6. ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมฮอร์โมนโพรแลกตินทาหน้าที่ใด ก. กระตุ้นการสร้างโพรเจสเทอโรน ข. สร้างเมือกในทางเดินอาหาร ค. สร้างเอนไซด์ในลาไส้เล็ก ง. กระตุ้นการสร้างน้านม 7. ออกซิโทซินและแอนติไดยูเรติกฮอร์โมนถูกส่งไปยังอวัยวะเป้าหมายทางใด ก. แอกซอน ข. เส้นเลือด ค. ท่อน้าเหลือง ง. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 8. ขณะที่ผู้หญิงปวดท้องคลอด จะหลั่งฮอร์โมนชนิดใดออกมามากที่สุด ก. โพรแลกติน ข. ออกซิโทซิน ค. วาโซเพรสซิน ง. เมลาโทนิน 9. เบาจืด คือ อาการใด ก. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตได้น้อย ข. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายได้น้อย ค. ร่างกายดูดน้ากลับคืนท่อหน่วยไตมากเกินไป ง. ร่างกายดูดน้าตาลกลับคืนร่างกายมากเกินไป 10. ฮอร์โมนในข้อใด เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ก. เอนดอร์ฟิน ข. โพรแลกติน ค. โกนาโดโทรฟิน ง. โกรทฮอร์โมน
  • 35. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 36 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่องต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน ข้อที่ คาตอบ 1 ค 2 ก 3 ก 4 ข 5 ง 6 ง 7 ข 8 ข 9 ก 10 ก ถูกทุกข้อใช่ไหมครับ เก่งมาก ๆ ศึกษาชุดต่อไปเลยครับ
  • 36. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 37 บรรณานุกรม เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. ____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : สานักพิมพ์ ประสานมิตร, 2533. นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : โปรดัคทีฟ บุ๊ค จากัด, 2541. ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. สานักพิมพ์แม็ค, 2552. ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ์, 2536. สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,สถาบัน.กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนวิชา ชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. http://www. endocrinesystem409.blogspot.com 883 × 351 (15 มีนาคม 2555) http://www.pibul.ac.th/vichakan/Biology 534 × 401 (15 มีนาคม 2555) http://www.pibul.ac.th 225 × 204 (15 มีนาคม 2555) http://www.pibul.ac.th 482 × 400 (15 มีนาคม 2555) http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555)
  • 37. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง ต่อมใต้สมองกับฮอร์โมน 38 http://www. thaigoodview.com 586 × 346 (15 มีนาคม 2555) http://www.scimath.org 300 × 449 (15 มีนาคม 2555) http://www. sites.google.com 700 × 293 (15 มีนาคม 2555) http://www. endocrine .com 455 × 438 (15 มีนาคม 2555) http://www. pibul.ac.th 592 × 545 (10 มีนาคม 2555) http://www. suriyothai.ac.th 400 × 320 (10 มีนาคม 2555) http://www. vcharkarn.com 500 × 271 (10 มีนาคม 2555) http://www. vcharkarn.com 400 × 353 (10 มีนาคม 2555) http://www. skinrelax.com 806 × 532 (10 มีนาคม 2555) http://www. myfirstbrain.com 380 × 250 (10 มีนาคม 2555) http://www. www3.ipst.ac.th 400 × 523 (10 มีนาคม 2555) http://www. thaigoodview.com 487 × 382 (10 มีนาคม 2555)