SlideShare a Scribd company logo
การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้
                                รายวิชาศิลปะ
                          ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٢
                               สาระที่ 2 ดนตรี
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ ٧ ทักษะดนตรี
เป้าหมายการเรียนรู้
       สาระสำาคัญ
       คีตกวีเป็นผู้บันทึกงานประพันธ์ทางดนตรีอันเกิดจากจินตนาการ
ของตนเอง โดยการถ่ายทอดท่วงทำานองและเสียงประสานออกมาในรูป
ของโน้ตเพลงและเครื่องหมายชนิดต่างๆ เพื่อให้ นักดนตรีคนเดียว
หรือกลุ่มนักดนตรีบรรเลงได้ตรงกัน อาจแต่งคำาร้องประกอบทำานอง
เพลงเพื่อการขับร้องด้วยก็ได้ จากอดีตถึงปัจจุบันมีคีตกวีที่สร้างสรรค์
ผลงานจนเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและระดับสากลมากมายหลาย
ท่าน สามารถนำามาเป็นตัวอย่างในการศึกษา
ตัวชี้วัด
            ศ 2.1 ม.2/3 ระบุปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์
งานดนตรี
            ศ 2.1 ม.2/4 ร้องเพลง และเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง
            ศ 2.1 ม.2/5 บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อ
บทเพลงที่ฟัง

     คุณลักษณะ
        1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
        2. ซื่อสัตย์สุจริต
        3. มีวินย ั
        4. ใฝ่เรียนรู้
        5. อยู่อย่างพอเพียง
        6. มุ่งมั่นในการทำางาน
        7. รักความเป็นไทย
        8. มีจิตสาธารณะ
หลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้
                  เป้าหมาย                    หลักฐานที่เป็นผลการ
                                                    เรียนรู้
สาระสำาคัญ
      คีตกวีเป็นผู้บันทึกงานประพันธ์ทางดนตรี       1. ทดสอบประเมิน
อันเกิดจากจินตนาการของตนเอง โดยการ                    ผลก่อนเรียน
ถ่ายทอดท่วงทำานองและเสียงประสานออกมา               2. ทำาใบงาน
ในรูปของโน้ตเพลงและเครื่องหมายชนิดต่างๆ            3. การนำาเสนอผล
เพื่อให้ นักดนตรีคนเดียวหรือกลุ่มนักดนตรี             งาน
บรรเลงได้ตรงกัน อาจแต่งคำาร้องประกอบ               4. การแสดงความ
ทำานองเพลงเพื่อการขับร้องด้วยก็ได้ จากอดีต            คิดเห็น
ถึงปัจจุบันมีคีตกวีที่สร้างสรรค์ผลงานจนเป็นที่
ยอมรับในระดับประเทศและระดับสากล
มากมายหลายท่าน สามารถนำามาเป็น
ตัวอย่างในการศึกษา
ศ 2.1 ม.2/3 ระบุปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อ        1. ใบความรู้
การสร้างสรรค์งานดนตรี                              2. ใบงาน
 ศ 2.1 ม.2/4 ร้องเพลง และเล่นดนตรีเดี่ยว           3. ซักถามปัญหา
และรวมวง                                           4. สรุปความรู้
ศ 2.1 ม.2/5 บรรยายอารมณ์ของเพลงและ
ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง
      คุณลักษณะ
          1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์              1. รายงานการสังเกต
          2. ซื่อสัตย์สุจริต                     พฤติกรรม
          3. มีวินัย                             2. สังเกตพฤติกรรม
          4. ใฝ่เรียนรู้                         ด้านคุณธรรมพื้นฐาน
          5. อยู่อย่างพอเพียง
          6. มุงมั่นในการทำางาน
                 ่
          7. รักความเป็นไทย
          8. มีจิตสาธารณะ
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
    หน่วยการเรียนรู้ที่ ٧
      สาระที่ 2 ดนตรี
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
                         หน่วยการเรียนรู้ที่ ٧
                          เรื่อง ทักษะดนตรี
 หลักฐาน                  กิจกรรม              สือ/อุปกรณ์
                                                 ่                    ชั่วโ
                                                                      มง
1.ศึกษาจาก      ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้        - ใบความรู้      1
ใบความรู้       ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา          เรื่อง คีตกวี
เรื่อง คีตกวี   ประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรีสากล         ด้านดนตรี
ด้านดนตรี       ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง เรียบเรียบ   สากล
สากล            ทำานอง ให้เกิดขึ้นมา และ              - ใบงาน
                นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร           เรื่อง คีตกวี
                ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ            ด้านดนตรี
                ความรู้ เรื่อง คีตกวีด้านดนตรี        สากล
                สากล                                  - V.C.D
                ٤.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา          เพลงไทย
                ลักษณะของเพลงประเภทต่างๆ ที่          สากล
                เกิดขึ้นมา ย่อมมีผู้แต่ง และเรียบ     - ภาพคีตกวี
                เรียบทำานองขึ้นมาทำาให้เกิดความ       ด้านดนตรี
                ไพเราะน่าฟัง จากนั้นครูให้            สากล
                นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเท่าๆกัน
                แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไป
                ศึกษาคีตกวีด้านดนตรีสากล ว่ามี
                บุคลใดบ้าง
                ٥.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา
                รายงานคีตกวีด้านดนตรีสากล ว่า
                มีบุคลใดบ้าง โดยครูคอยให้คำา
                ปรึกษา จากนั้นครูและนักเรียน
                ร่วมกันสนทนาว่าเราจะรักษา
                บทเพลงอย่างไร ให้มันไม่
                สูญหายไปจากประเทศเราสืบต่อ
                ไป ครูอธิบายให้นักเรียนได้
                เข้าใจ
หลักฐาน               กิจกรรม                  สื่อ/อุปกรณ์      ชั่วโ
                                                                  มง
1.ศึกษาจาก   1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้   - ใบความรู้          1
ใบความรู้    ٢.นักเรียนและครูร่วมกัน          เรื่อง สร้างสรรค์
เรื่อง       สนทนาประวัติบุคลสำาคัญทาง        บทเพลง
สร้างสรรค์   ดนตรีสากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่ง   - V.C.D เพลง
บทเพลง       เพลง และลักษณะของการขับ          ไทยสากล
             ร้องเพลงประเภทต่างๆ ว่ามีรูป
             แบบการขับร้องอย่างไร ครูสุ่ม
             ถามนักเรียน
             ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ
             ความรู้ เรื่อง สร้างสรรค์
             บทเพลง
             ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6
             กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียน
             แต่ละกลุ่มไปศึกษาเทคนิคการ
             ขับร้อง ว่ามีเทคนิคและรูปแบบ
             การขับร้องอย่างไร พร้อมทั้ง
             จดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย
             โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
             ٥.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออก
             มารายงานคีตกวีด้านดนตรี
             สากล และลักษณะของการฝึก
             การขับร้องเพลงในแบบต่างๆ
             ว่ามีรูปแบบและเทคนิคที่แตก
             ต่างกัน นักเรียนจึงต้องมีการ
             ศึกษาอย่างเข้าใจ
หลักฐาน                    กิจกรรม                   สื่อ/อุปกรณ์    ชั่วโ
                                                                       มง
1.ศึกษาจาก       ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้       - ใบความรู้       1
ใบความรู้        ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา         เรื่อง ขับร้อง
เรื่อง ขับร้อง   ประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรี            สร้างสรรค์
สร้างสรรค์       สากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง        - V.C.D
                 และลักษณะของการขับร้องเพลง           เพลงไทย
                 ประเภทต่างๆ ว่ามีรูปแบบการขับ        สากล
                 ร้องอย่างไร ครูสุ่มถามนักเรียน       - V.C.D
                 ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ           เพลงไทยลูก
                 ความรู้ เรียบร้อยแล้ว จากนั้นครู     ทุ่ง
                 ให้นักเรียนศึกษาลักษณะของ
                 เพลงประเภทต่างๆ โดยครูคอยที่
                 ปรึกษา
                 ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
                 เท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ
                 กลุ่มจดบันทึกลักษณะของความ
                 แตกต่างของเพลง จากนั้นครูให้
                 แต่ละกลุ่มเลือกเพลงที่ครูได้จัด
                 เตรียมว้าให้ไปฝึกร้องเพลง
                 พร้อมทั้งให้แต่ละกลุ่มเปลี่ยนเนื้อ
                 เพลงให้ดูเหมาะสม โดยครูคอย
                 ให้คำาปรึกษา
5.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
              ว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร
              เมื่อนักเรียนได้ฝึกเรียบเรียงเนื้อ
              ร้องและทำานองเอง จากนั้นครูให้
              แต่ละกลุ่มออกมาร้องเพลงที่
              แต่ละกลุ่มแต่ง อย่างสนุกสนาน
              โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
              ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
              หลังจากที่นักเรียนได้ฝึกและ
              ปฏิบัติในการแต่งเพลงแม้แต่การ
              ฝึกแต่งเนื้อร้องเอง นักเรียนได้
              ฝึกแต่งได้ดีมาก จากนั้นครูสรุป
              หลักให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น




 หลักฐาน                  กิจกรรม                   สื่อ/อุปกรณ์    ชั่วโ
                                                                    มง
1.ศึกษาจาก    ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้       - ใบความรู้       1
ใบความรู้     ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา         เรื่อง หลักการ
เรื่อง หลัก   หลักของการผสมวงของวงดนตรี            ประสมวง
การประสม      แต่ละประเภท ว่าเป็นอย่างไร           - ภาพของวง
วง            ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ           ดนตรีสากล
              ความรู้ หลักการประสมวง
              ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
              เท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ
              กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของ
              หลักการผสมวงว่ามีรูปแบบ
              อย่างไร โดยให้นักเรียนจด
              บันทึกมาให้เรียบร้อย โดยครู
              คอยให้คำาปรึกษา
              ٥.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
ว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร
            เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับรูป
            แบบของการผสมวงของวงดนตรี
            สากล หลังจากนั้นครูให้นักเรียน
            แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมา
            รายงานหน้าชั้นเรียน โดยครู
            คอยให้คำาปรึกษา
            ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
            หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป
            แบบของวงดนตรีสากล และวง
            ดุริยางค์ลักษณะของรูปแบบใน
            การตั้งวง ว่ามีรูปแบบอย่างไร
            จากนั้นครูก็อธิบายเพิ่มเติมเพื่อ
            ให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับ
            วงดุริยางค์สากล




 หลักฐาน                กิจกรรม                   สือ/อุปกรณ์
                                                    ่            ชั่วโม
                                                                    ง
1.ศึกษา    ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้        - ใบความรู้        1
จากใบ      ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา          เรื่อง อารมณ์
ความรู้    เกี่ยวกับเพลง และเพลงสามารถ           การฟังเพลง
เรื่อง     ให้ความรู้สึกหลากหลาย ดังนั้น         - ภาพของวง
อารมณ์     เพลงจึงมีความสำาคัญต่อการใช้          ดนตรีสากล
การฟัง     ชีวิตประจำาวันอย่างขาดไม่ได้
เพลง       ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ
           ความรู้ อารมณ์การฟังเพลง
           ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
เท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของ
เพลงไทยและสากล ว่าแต่ละอย่าง
มีการการสื่ออารมณ์อย่างไร โดย
ให้นักเรียนจดบันทึกมาให้
เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา
ปรึกษา
٥.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
ว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร
เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับรูป
แบบของอารมณ์การฟังเพลง หลัง
จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
ส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้น
เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป
แบบของอารมณ์การฟังเพลง มี
ความสำาคัญมากซึ่งเพลงเป็น
อิทธิพลต่อการดำาเนินชีวิต
บทเพลงสามารถบอกนิสัยของ
บุคคลได้ จากนั้นครูก็อธิบายเพิ่ม
เติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น
เกี่ยวกับวงดุริยางค์สากล




           แผนการจัดการเรียนรู้
                  หน่วยที่ ٧
             เรื่อง ทักษะดนตรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา                                   ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ٢
วิชา ศิลปะ                                           เวลาเรียน ٥ ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ٧ ทักษะดนตรี                                ปีการ
ศึกษา ........

1. สาระที่ 2 ดนตรี
2. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1
          เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่าง
อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน

3. ตัวชี้วัด
               ศ 2.1 ม.2/3 ระบุปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์
งานดนตรี
          ศ 2.1 ม.2/4 ร้องเพลง และเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง
          ศ 2.1 ม.2/5 บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อ
บทเพลงที่ฟัง

4. สาระสำาคัญ
     คีตกวีเป็นผู้บันทึกงานประพันธ์ทางดนตรีอันเกิดจากจินตนาการ
ของตนเอง โดยการถ่ายทอดท่วงทำานองและเสียงประสานออกมาในรูป
ของโน้ตเพลงและเครื่องหมายชนิดต่างๆ เพื่อให้ นักดนตรีคนเดียว
หรือกลุ่มนักดนตรีบรรเลงได้ตรงกัน อาจแต่งคำาร้องประกอบทำานอง
เพลงเพื่อการขับร้องด้วยก็ได้ จากอดีตถึงปัจจุบันมีคีตกวีที่สร้างสรรค์
ผลงานจนเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและระดับสากลมากมายหลาย
ท่าน สามารถนำามาเป็นตัวอย่างในการศึกษา

  1.1ความรู้
  1. ปัจจัยในการสร้างสรรค์บทเพลง
  2. เทคนิคการร้องและบรรเลงดนตรี
  3. การบรรยายอารมณ์และความรู้สึกในบทเพลง
1.2ทักษะกระบวนการ
     1. กระบวนความรู้ และความเข้าใจ
     2. กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
     3. กระบวนการกลุ่ม
     4. กระบวนการแก้ปัญหา
  1.3คุณลักษณะ
     1. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
     2. รักความเป็นไทย
     3. มุ่งมั่นในการทำางาน
     4. มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ
     5. กระบวนการจัดการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 1 เรื่อง คีตกวีด้านดนตรีสากล (เวลาเรียน 1
                       ้
ชั่วโมง)
          1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
        2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรี
สากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง เรียบเรียบทำานอง ให้เกิดขึ้นมา และ
นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร
        3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง คีตกวีด้านดนตรี
สากล
        4.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงประเภทต่างๆ
ที่เกิดขึ้นมา ย่อมมีผู้แต่ง และเรียบเรียบทำานองขึ้นมาทำาให้เกิดความ
ไพเราะน่าฟัง จากนั้นครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาคีตกวีด้านดนตรีสากล ว่ามีบุคลใดบ้าง
        5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานคีตกวีด้านดนตรีสากล
ว่ามีบุคลใดบ้าง โดยครูคอยให้คำาปรึกษา จากนั้นครูและนักเรียนร่วม
กันสนทนาว่าเราจะรักษาบทเพลงอย่างไร ให้มันไม่สูญหายไปจาก
ประเทศเราสืบต่อไป ครูอธิบายให้นักเรียนได้เข้าใจ


กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 2 เรื่อง สร้างสรรค์บทเพลง (เวลาเรียน 1
                     ้
ชั่วโมง)
       1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรี
สากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง และลักษณะของการขับร้องเพลงประเภท
ต่างๆ ว่ามีรูปแบบการขับร้องอย่างไร ครูสุ่มถามนักเรียน
       3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง สร้างสรรค์บทเพลง
       4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มไปศึกษาเทคนิคการขับร้อง ว่ามีเทคนิคและรูปแบบการขับร้อง
อย่างไร พร้อมทั้งจดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา
ปรึกษา
       5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานคีตกวีด้านดนตรีสากล
และลักษณะของการฝึกการขับร้องเพลงในแบบต่างๆ ว่ามีรูปแบบและ
เทคนิคที่แตกต่างกัน นักเรียนจึงต้องมีการศึกษาอย่างเข้าใจ


กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 3 เรื่อง ขับร้องสร้างสรรค์ (เวลา 1 ชั่วโมง)
                       ้
         1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
         2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรี
สากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง และลักษณะของการขับร้องเพลงประเภท
ต่างๆ ว่ามีรูปแบบการขับร้องอย่างไร ครูสุ่มถามนักเรียน
        3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรียบร้อยแล้ว จากนั้นครู
ให้นักเรียนศึกษาลักษณะของเพลงประเภทต่างๆ โดยครูคอยที่ปรึกษา
        4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มจดบันทึกลักษณะของความแตกต่างของเพลง จากนั้นครูให้แต่ละ
กลุ่มเลือกเพลงที่ครูได้จัดเตรียมว้าให้ไปฝึกร้องเพลง พร้อมทั้งให้แต่ละ
กลุ่มเปลี่ยนเนื้อเพลงให้ดูเหมาะสม โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
        5. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร
เมื่อนักเรียนได้ฝึกเรียบเรียงเนื้อร้องและทำานองเอง จากนั้นครูให้แต่ละ
กลุ่มออกมาร้องเพลงที่แต่ละกลุ่มแต่ง อย่างสนุกสนาน โดยครูคอยให้
คำาปรึกษา
        ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้ฝึกและ
ปฏิบัติในการแต่งเพลงแม้แต่การฝึกแต่งเนื้อร้องเอง นักเรียนได้ฝึกแต่ง
ได้ดีมาก จากนั้นครูสรุปหลักให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 4 เรื่อง หลักการประสมวง (เวลา 1 ชั่วโมง)
                     ้
      1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาหลักของการผสมวงของวง
ดนตรีแต่ละประเภท ว่าเป็นอย่างไร
         3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ หลักการประสมวง
         4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของหลักการผสมวงว่ามีรูปแบบอย่างไร โดย
ให้นักเรียนจดบันทึกมาให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
         5. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร
เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของการผสมวงของวงดนตรีสากล
หลังจากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้น
เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
         ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป
แบบของวงดนตรีสากล และวงดุริยางค์ลักษณะของรูปแบบในการตั้งวง
ว่ามีรูปแบบอย่างไร จากนั้นครูก็อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่ง
ขึ้นเกี่ยวกับวงดุริยางค์สากล

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 5 เรื่อง อารมณ์การฟังเพลง (เวลา 1 ชั่วโมง)
                       ้
         1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
        2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเพลง และเพลงสามารถ
ให้ความรู้สึกหลากหลาย ดังนั้นเพลงจึงมีความสำาคัญต่อการใช้ชีวิต
ประจำาวันอย่างขาดไม่ได้
        3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ อารมณ์การฟังเพลง
        4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของเพลงไทยและสากล ว่าแต่ละอย่างมีการ
การสื่ออารมณ์อย่างไร โดยให้นักเรียนจดบันทึกมาให้เรียบร้อย โดย
ครูคอยให้คำาปรึกษา
        5. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร
เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของอารมณ์การฟังเพลง หลังจาก
นั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน โดย
ครูคอยให้คำาปรึกษา
        ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป
แบบของอารมณ์การฟังเพลง มีความสำาคัญมากซึ่งเพลงเป็นอิทธิพลต่อ
การดำาเนินชีวิต บทเพลงสามารถบอกนิสัยของบุคคลได้ จากนั้นครูก็
อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับวงดุริยางค์สากล

     6. สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้
1. ใบความรู้
          2. ใบงาน
          3. แผนภาพ
          4. คำาถาม
          5. สถานการณ์/ เหตุการณ์
          6. ของจริง/เครื่องดนตรี
          7. อุปกรณ์การเล่นดนตรี
          8. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด
          9. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์
          10. หนังสือเรียน เอกสารความรู้


7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
     7.1 วิธีการวัดและเครื่องมือวัด
เป้าหมายการเรียนรู้           วิธีการวัด         เครื่องมือวัด
สาระสำาคัญ
คีตกวีเป็นผู้บันทึกงานประพันธ์    1. ทดสอบ             1. แบบทดสอบ
ทางดนตรีอันเกิดจากจินตนาการ       ประเมินผลก่อน        ประเมินผลก่อน
ของตนเอง โดยการถ่ายทอด            เรียน                เรียน
ท่วงทำานองและเสียงประสานออก       2. ตรวจใบงาน         2. แบบประเมิน
มาในรูปของโน้ตเพลงและ             3. การนำาเสนอ        ใบงาน
เครื่องหมายชนิดต่างๆ เพื่อให้     ผลงาน                3. แบบประเมิน
นักดนตรีคนเดียวหรือกลุ่มนัก                            การนำาเสนอผล
ดนตรีบรรเลงได้ตรงกัน อาจแต่ง                           งาน
คำาร้องประกอบทำานองเพลงเพื่อ
การขับร้องด้วยก็ได้ จากอดีตถึง
ปัจจุบันมีคีตกวีที่สร้างสรรค์ผล
งานจนเป็นที่ยอมรับในระดับ
ประเทศและระดับสากลมากมาย
หลายท่าน สามารถนำามาเป็น
ตัวอย่างในการศึกษา
ศ 2.1 ม.2/3 ระบุปัจจัยสำาคัญที่มี 1.ใบความรู้ เรื่อง   – แบบประเมิน
อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งาน        คีตกวีด้านดนตรี      ใบงาน
ดนตรี                             สากล                 – แบบประเมิน
                                  2. ใบงาน เรื่อง      การปฏิบัติงาน
                                  คีตกวีด้านดนตรี      กลุ่ม
                                  สากล
                                  3.ใบความรู้ เรื่อง
                                  สร้างสรรค์
                                  บทเพลง
                                  4.ใบความรู้ เรื่อง
                                  ขับร้องสร้างสรรค์
                                  5.ใบความรู้ เรื่อง
                                  หลักการประสมวง
ศ 2.1 ม.2/4 ร้องเพลง และเล่น      1.ใบความรู้ เรื่อง   – แบบประเมิน
ดนตรีเดี่ยวและรวมวง               คีตกวีด้านดนตรี      ใบงาน
                                  สากล                 – แบบประเมิน
                                  2. ใบงาน เรื่อง      การปฏิบัติงาน
                                  คีตกวีด้านดนตรี      กลุ่ม
                                  สากล                 – แบบประเมิน
                                  3.ใบความรู้ เรื่อง   การนำาเสนอผล
                                  สร้างสรรค์           งาน
                                  บทเพลง               – แบบประเมิน
                                  4.ใบความรู้ เรื่อง   ผลงานงาน/ชิ้น
                                  ขับร้องสร้างสรรค์    งาน
                                  5.ใบความรู้ เรื่อง   – แบบทดสอบ
7.2 เกณฑ์การวัด
   7.2.1 ข้อสอบปรนัย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1 คะแนน
   7.2.2 แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม
     1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน
     2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
     3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
     4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน
   7.2.3 แบบประเมินก่อนนำาเสนอผลงาน
     1. เนื้อหา
     2. กลวิธีนำาเสนอ
     3. ขั้นตอนการนำาเสนอ
     4. การใช้ภาษา
     5. ตอบคำาถาม / เวลา
   7.2.4 แบบตรวจผลงานเขียนแผนผังความคิด
     1. ความคิดรวบยอด
     2. ความคิดรอง
     3. ความคิดย่อย
     4. การเชื่อมโยงความคิด
     5. ความสวยงาม
   7.2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
     1. ความตั้งใจ
     2. ความร่วมมือ
     3. ความมีวินัย
     4. คุณภาพของผลงาน
     5. การนำาเสนอผลงาน
   7.2.6 แบบประเมินใบงาน
     1. การสรุปเป็นองค์ความรู้
     2. เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน
     3. การบันทึกข้อมูล
     4. การอภิปราย
     5. การสนทนาซักถาม
   7.2.7 แบบประเมินผลงาน / ชิ้นงาน
     1. ความคิดสร้างสรรค์
     2. ความประณีตสวยงาม
3. ความสะอาด
 4. ความแข็งแรงคงทน
 5. ทำางานเสร็จทันเวลา


7.2.8 การสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห์แผนภาพ
  1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ 1 คะแนน
  2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน
7.2.9 แบบประเมินพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน
  1. ความกระตือรือร้น
  2. ความร่วมมือ
  3. ความรับผิดชอบ
  4. การเคารพกติกา
  5. ความกล้าแสดงออก
7.2.10 แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมพื้นฐาน
  1. ความขยัน
  2. ความมีวินัย
  3. ความสะอาด
  4. ความสามัคคี
  5. ความมีนำ้าใจ
8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
       8.1 ผลการจัดการเรียนรู้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน )
               นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อย
ละ...........
               นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิด
เป็นร้อยละ.................
               นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน
คิดเป็นร้อยละ.............
       8.2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................
            8.3 ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................
            8.4 การปรับปรุงและพัฒนา
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................


                                                 ลงชื่อ…………………………………………
(.................................................................)
                                                           ครู วิทยฐานะครูชำานาญ
การ




9. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................



                                            ลงชื่อ........................................
...ผูตรวจสอบ
     ้

           (......................................................)
                                            หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ




       10. ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียน
..................
………………………………………………………………………....................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.....................................................................................




           ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ
                                                                      ้

( ..............................................)
                                          ผู้อำานวยการ
โรงเรียน.................................

More Related Content

What's hot

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1umpan
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
Boonlert Aroonpiboon
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะnang_phy29
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
Kruthai Kidsdee
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 

What's hot (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
 
Elements
ElementsElements
Elements
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 

Similar to สาระที่ 2 หน่วยที่ 7

บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ Sasithon AnnAnn
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
wara
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
jutatip3059
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
krumildsarakam25
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วUbonpan Sornsakul
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วUbonpan Sornsakul
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
Teacher Sophonnawit
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
ppisoot07
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
Wanida Keawprompakdee
 

Similar to สาระที่ 2 หน่วยที่ 7 (20)

บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
ใบความรู้ร้องเพลง
ใบความรู้ร้องเพลงใบความรู้ร้องเพลง
ใบความรู้ร้องเพลง
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้ว
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้ว
 
ค่าย
ค่ายค่าย
ค่าย
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
 
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 102 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

สาระที่ 2 หน่วยที่ 7

  • 1. การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาศิลปะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٢ สาระที่ 2 ดนตรี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ ٧ ทักษะดนตรี เป้าหมายการเรียนรู้ สาระสำาคัญ คีตกวีเป็นผู้บันทึกงานประพันธ์ทางดนตรีอันเกิดจากจินตนาการ ของตนเอง โดยการถ่ายทอดท่วงทำานองและเสียงประสานออกมาในรูป ของโน้ตเพลงและเครื่องหมายชนิดต่างๆ เพื่อให้ นักดนตรีคนเดียว หรือกลุ่มนักดนตรีบรรเลงได้ตรงกัน อาจแต่งคำาร้องประกอบทำานอง เพลงเพื่อการขับร้องด้วยก็ได้ จากอดีตถึงปัจจุบันมีคีตกวีที่สร้างสรรค์ ผลงานจนเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและระดับสากลมากมายหลาย ท่าน สามารถนำามาเป็นตัวอย่างในการศึกษา ตัวชี้วัด ศ 2.1 ม.2/3 ระบุปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ งานดนตรี ศ 2.1 ม.2/4 ร้องเพลง และเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง ศ 2.1 ม.2/5 บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อ บทเพลงที่ฟัง คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินย ั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 2. หลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ เป้าหมาย หลักฐานที่เป็นผลการ เรียนรู้ สาระสำาคัญ คีตกวีเป็นผู้บันทึกงานประพันธ์ทางดนตรี 1. ทดสอบประเมิน อันเกิดจากจินตนาการของตนเอง โดยการ ผลก่อนเรียน ถ่ายทอดท่วงทำานองและเสียงประสานออกมา 2. ทำาใบงาน ในรูปของโน้ตเพลงและเครื่องหมายชนิดต่างๆ 3. การนำาเสนอผล เพื่อให้ นักดนตรีคนเดียวหรือกลุ่มนักดนตรี งาน บรรเลงได้ตรงกัน อาจแต่งคำาร้องประกอบ 4. การแสดงความ ทำานองเพลงเพื่อการขับร้องด้วยก็ได้ จากอดีต คิดเห็น ถึงปัจจุบันมีคีตกวีที่สร้างสรรค์ผลงานจนเป็นที่ ยอมรับในระดับประเทศและระดับสากล มากมายหลายท่าน สามารถนำามาเป็น ตัวอย่างในการศึกษา ศ 2.1 ม.2/3 ระบุปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อ 1. ใบความรู้ การสร้างสรรค์งานดนตรี 2. ใบงาน ศ 2.1 ม.2/4 ร้องเพลง และเล่นดนตรีเดี่ยว 3. ซักถามปัญหา และรวมวง 4. สรุปความรู้ ศ 2.1 ม.2/5 บรรยายอารมณ์ของเพลงและ ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1. รายงานการสังเกต 2. ซื่อสัตย์สุจริต พฤติกรรม 3. มีวินัย 2. สังเกตพฤติกรรม 4. ใฝ่เรียนรู้ ด้านคุณธรรมพื้นฐาน 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุงมั่นในการทำางาน ่ 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 3. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ٧ สาระที่ 2 ดนตรี
  • 4. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ٧ เรื่อง ทักษะดนตรี หลักฐาน กิจกรรม สือ/อุปกรณ์ ่ ชั่วโ มง 1.ศึกษาจาก ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 ใบความรู้ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เรื่อง คีตกวี เรื่อง คีตกวี ประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรีสากล ด้านดนตรี ด้านดนตรี ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง เรียบเรียบ สากล สากล ทำานอง ให้เกิดขึ้นมา และ - ใบงาน นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร เรื่อง คีตกวี ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ ด้านดนตรี ความรู้ เรื่อง คีตกวีด้านดนตรี สากล สากล - V.C.D ٤.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เพลงไทย ลักษณะของเพลงประเภทต่างๆ ที่ สากล เกิดขึ้นมา ย่อมมีผู้แต่ง และเรียบ - ภาพคีตกวี เรียบทำานองขึ้นมาทำาให้เกิดความ ด้านดนตรี ไพเราะน่าฟัง จากนั้นครูให้ สากล นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไป ศึกษาคีตกวีด้านดนตรีสากล ว่ามี บุคลใดบ้าง ٥.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา รายงานคีตกวีด้านดนตรีสากล ว่า มีบุคลใดบ้าง โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา จากนั้นครูและนักเรียน ร่วมกันสนทนาว่าเราจะรักษา บทเพลงอย่างไร ให้มันไม่ สูญหายไปจากประเทศเราสืบต่อ ไป ครูอธิบายให้นักเรียนได้ เข้าใจ
  • 5. หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง 1.ศึกษาจาก 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 ใบความรู้ ٢.นักเรียนและครูร่วมกัน เรื่อง สร้างสรรค์ เรื่อง สนทนาประวัติบุคลสำาคัญทาง บทเพลง สร้างสรรค์ ดนตรีสากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่ง - V.C.D เพลง บทเพลง เพลง และลักษณะของการขับ ไทยสากล ร้องเพลงประเภทต่างๆ ว่ามีรูป แบบการขับร้องอย่างไร ครูสุ่ม ถามนักเรียน ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ ความรู้ เรื่อง สร้างสรรค์ บทเพลง ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียน แต่ละกลุ่มไปศึกษาเทคนิคการ ขับร้อง ว่ามีเทคนิคและรูปแบบ การขับร้องอย่างไร พร้อมทั้ง จดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٥.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออก มารายงานคีตกวีด้านดนตรี สากล และลักษณะของการฝึก การขับร้องเพลงในแบบต่างๆ ว่ามีรูปแบบและเทคนิคที่แตก ต่างกัน นักเรียนจึงต้องมีการ ศึกษาอย่างเข้าใจ
  • 6. หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง 1.ศึกษาจาก ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 ใบความรู้ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เรื่อง ขับร้อง เรื่อง ขับร้อง ประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรี สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง - V.C.D และลักษณะของการขับร้องเพลง เพลงไทย ประเภทต่างๆ ว่ามีรูปแบบการขับ สากล ร้องอย่างไร ครูสุ่มถามนักเรียน - V.C.D ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ เพลงไทยลูก ความรู้ เรียบร้อยแล้ว จากนั้นครู ทุ่ง ให้นักเรียนศึกษาลักษณะของ เพลงประเภทต่างๆ โดยครูคอยที่ ปรึกษา ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม เท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มจดบันทึกลักษณะของความ แตกต่างของเพลง จากนั้นครูให้ แต่ละกลุ่มเลือกเพลงที่ครูได้จัด เตรียมว้าให้ไปฝึกร้องเพลง พร้อมทั้งให้แต่ละกลุ่มเปลี่ยนเนื้อ เพลงให้ดูเหมาะสม โดยครูคอย ให้คำาปรึกษา
  • 7. 5.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร เมื่อนักเรียนได้ฝึกเรียบเรียงเนื้อ ร้องและทำานองเอง จากนั้นครูให้ แต่ละกลุ่มออกมาร้องเพลงที่ แต่ละกลุ่มแต่ง อย่างสนุกสนาน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา หลังจากที่นักเรียนได้ฝึกและ ปฏิบัติในการแต่งเพลงแม้แต่การ ฝึกแต่งเนื้อร้องเอง นักเรียนได้ ฝึกแต่งได้ดีมาก จากนั้นครูสรุป หลักให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง 1.ศึกษาจาก ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 ใบความรู้ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เรื่อง หลักการ เรื่อง หลัก หลักของการผสมวงของวงดนตรี ประสมวง การประสม แต่ละประเภท ว่าเป็นอย่างไร - ภาพของวง วง ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ ดนตรีสากล ความรู้ หลักการประสมวง ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม เท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของ หลักการผสมวงว่ามีรูปแบบ อย่างไร โดยให้นักเรียนจด บันทึกมาให้เรียบร้อย โดยครู คอยให้คำาปรึกษา ٥.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
  • 8. ว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับรูป แบบของการผสมวงของวงดนตรี สากล หลังจากนั้นครูให้นักเรียน แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมา รายงานหน้าชั้นเรียน โดยครู คอยให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป แบบของวงดนตรีสากล และวง ดุริยางค์ลักษณะของรูปแบบใน การตั้งวง ว่ามีรูปแบบอย่างไร จากนั้นครูก็อธิบายเพิ่มเติมเพื่อ ให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับ วงดุริยางค์สากล หลักฐาน กิจกรรม สือ/อุปกรณ์ ่ ชั่วโม ง 1.ศึกษา ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - ใบความรู้ 1 จากใบ ٢.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เรื่อง อารมณ์ ความรู้ เกี่ยวกับเพลง และเพลงสามารถ การฟังเพลง เรื่อง ให้ความรู้สึกหลากหลาย ดังนั้น - ภาพของวง อารมณ์ เพลงจึงมีความสำาคัญต่อการใช้ ดนตรีสากล การฟัง ชีวิตประจำาวันอย่างขาดไม่ได้ เพลง ٣.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบ ความรู้ อารมณ์การฟังเพลง ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
  • 9. เท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของ เพลงไทยและสากล ว่าแต่ละอย่าง มีการการสื่ออารมณ์อย่างไร โดย ให้นักเรียนจดบันทึกมาให้ เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา ٥.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับรูป แบบของอารมณ์การฟังเพลง หลัง จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้น เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป แบบของอารมณ์การฟังเพลง มี ความสำาคัญมากซึ่งเพลงเป็น อิทธิพลต่อการดำาเนินชีวิต บทเพลงสามารถบอกนิสัยของ บุคคลได้ จากนั้นครูก็อธิบายเพิ่ม เติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น เกี่ยวกับวงดุริยางค์สากล แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ٧ เรื่อง ทักษะดนตรี
  • 10. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢ วิชา ศิลปะ เวลาเรียน ٥ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ٧ ทักษะดนตรี ปีการ ศึกษา ........ 1. สาระที่ 2 ดนตรี 2. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่าง อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 3. ตัวชี้วัด ศ 2.1 ม.2/3 ระบุปัจจัยสำาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ งานดนตรี ศ 2.1 ม.2/4 ร้องเพลง และเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง ศ 2.1 ม.2/5 บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อ บทเพลงที่ฟัง 4. สาระสำาคัญ คีตกวีเป็นผู้บันทึกงานประพันธ์ทางดนตรีอันเกิดจากจินตนาการ ของตนเอง โดยการถ่ายทอดท่วงทำานองและเสียงประสานออกมาในรูป ของโน้ตเพลงและเครื่องหมายชนิดต่างๆ เพื่อให้ นักดนตรีคนเดียว หรือกลุ่มนักดนตรีบรรเลงได้ตรงกัน อาจแต่งคำาร้องประกอบทำานอง เพลงเพื่อการขับร้องด้วยก็ได้ จากอดีตถึงปัจจุบันมีคีตกวีที่สร้างสรรค์ ผลงานจนเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและระดับสากลมากมายหลาย ท่าน สามารถนำามาเป็นตัวอย่างในการศึกษา 1.1ความรู้ 1. ปัจจัยในการสร้างสรรค์บทเพลง 2. เทคนิคการร้องและบรรเลงดนตรี 3. การบรรยายอารมณ์และความรู้สึกในบทเพลง
  • 11. 1.2ทักษะกระบวนการ 1. กระบวนความรู้ และความเข้าใจ 2. กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 3. กระบวนการกลุ่ม 4. กระบวนการแก้ปัญหา 1.3คุณลักษณะ 1. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 2. รักความเป็นไทย 3. มุ่งมั่นในการทำางาน 4. มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ 5. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 1 เรื่อง คีตกวีด้านดนตรีสากล (เวลาเรียน 1 ้ ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรี สากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง เรียบเรียบทำานอง ให้เกิดขึ้นมา และ นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง คีตกวีด้านดนตรี สากล 4.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาลักษณะของเพลงประเภทต่างๆ ที่เกิดขึ้นมา ย่อมมีผู้แต่ง และเรียบเรียบทำานองขึ้นมาทำาให้เกิดความ ไพเราะน่าฟัง จากนั้นครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาคีตกวีด้านดนตรีสากล ว่ามีบุคลใดบ้าง 5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานคีตกวีด้านดนตรีสากล ว่ามีบุคลใดบ้าง โดยครูคอยให้คำาปรึกษา จากนั้นครูและนักเรียนร่วม กันสนทนาว่าเราจะรักษาบทเพลงอย่างไร ให้มันไม่สูญหายไปจาก ประเทศเราสืบต่อไป ครูอธิบายให้นักเรียนได้เข้าใจ กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 2 เรื่อง สร้างสรรค์บทเพลง (เวลาเรียน 1 ้ ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
  • 12. 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรี สากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง และลักษณะของการขับร้องเพลงประเภท ต่างๆ ว่ามีรูปแบบการขับร้องอย่างไร ครูสุ่มถามนักเรียน 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง สร้างสรรค์บทเพลง 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มไปศึกษาเทคนิคการขับร้อง ว่ามีเทคนิคและรูปแบบการขับร้อง อย่างไร พร้อมทั้งจดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา 5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงานคีตกวีด้านดนตรีสากล และลักษณะของการฝึกการขับร้องเพลงในแบบต่างๆ ว่ามีรูปแบบและ เทคนิคที่แตกต่างกัน นักเรียนจึงต้องมีการศึกษาอย่างเข้าใจ กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 3 เรื่อง ขับร้องสร้างสรรค์ (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติบุคลสำาคัญทางดนตรี สากล ว่าเป็นผู้ที่คิดแต่งเพลง และลักษณะของการขับร้องเพลงประเภท ต่างๆ ว่ามีรูปแบบการขับร้องอย่างไร ครูสุ่มถามนักเรียน 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรียบร้อยแล้ว จากนั้นครู ให้นักเรียนศึกษาลักษณะของเพลงประเภทต่างๆ โดยครูคอยที่ปรึกษา 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มจดบันทึกลักษณะของความแตกต่างของเพลง จากนั้นครูให้แต่ละ กลุ่มเลือกเพลงที่ครูได้จัดเตรียมว้าให้ไปฝึกร้องเพลง พร้อมทั้งให้แต่ละ กลุ่มเปลี่ยนเนื้อเพลงให้ดูเหมาะสม โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 5. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร เมื่อนักเรียนได้ฝึกเรียบเรียงเนื้อร้องและทำานองเอง จากนั้นครูให้แต่ละ กลุ่มออกมาร้องเพลงที่แต่ละกลุ่มแต่ง อย่างสนุกสนาน โดยครูคอยให้ คำาปรึกษา ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้ฝึกและ ปฏิบัติในการแต่งเพลงแม้แต่การฝึกแต่งเนื้อร้องเอง นักเรียนได้ฝึกแต่ง ได้ดีมาก จากนั้นครูสรุปหลักให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 4 เรื่อง หลักการประสมวง (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
  • 13. 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาหลักของการผสมวงของวง ดนตรีแต่ละประเภท ว่าเป็นอย่างไร 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ หลักการประสมวง 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของหลักการผสมวงว่ามีรูปแบบอย่างไร โดย ให้นักเรียนจดบันทึกมาให้เรียบร้อย โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 5. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของการผสมวงของวงดนตรีสากล หลังจากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้น เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป แบบของวงดนตรีสากล และวงดุริยางค์ลักษณะของรูปแบบในการตั้งวง ว่ามีรูปแบบอย่างไร จากนั้นครูก็อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่ง ขึ้นเกี่ยวกับวงดุริยางค์สากล กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 5 เรื่อง อารมณ์การฟังเพลง (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเพลง และเพลงสามารถ ให้ความรู้สึกหลากหลาย ดังนั้นเพลงจึงมีความสำาคัญต่อการใช้ชีวิต ประจำาวันอย่างขาดไม่ได้ 3.ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ อารมณ์การฟังเพลง 4.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของเพลงไทยและสากล ว่าแต่ละอย่างมีการ การสื่ออารมณ์อย่างไร โดยให้นักเรียนจดบันทึกมาให้เรียบร้อย โดย ครูคอยให้คำาปรึกษา 5. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านักเรียนมีความรูสึกอย่างไร เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของอารมณ์การฟังเพลง หลังจาก นั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้นเรียน โดย ครูคอยให้คำาปรึกษา ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป แบบของอารมณ์การฟังเพลง มีความสำาคัญมากซึ่งเพลงเป็นอิทธิพลต่อ การดำาเนินชีวิต บทเพลงสามารถบอกนิสัยของบุคคลได้ จากนั้นครูก็ อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้นเกี่ยวกับวงดุริยางค์สากล 6. สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้
  • 14. 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. แผนภาพ 4. คำาถาม 5. สถานการณ์/ เหตุการณ์ 6. ของจริง/เครื่องดนตรี 7. อุปกรณ์การเล่นดนตรี 8. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด 9. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ 10. หนังสือเรียน เอกสารความรู้ 7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 7.1 วิธีการวัดและเครื่องมือวัด
  • 15. เป้าหมายการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด สาระสำาคัญ คีตกวีเป็นผู้บันทึกงานประพันธ์ 1. ทดสอบ 1. แบบทดสอบ ทางดนตรีอันเกิดจากจินตนาการ ประเมินผลก่อน ประเมินผลก่อน ของตนเอง โดยการถ่ายทอด เรียน เรียน ท่วงทำานองและเสียงประสานออก 2. ตรวจใบงาน 2. แบบประเมิน มาในรูปของโน้ตเพลงและ 3. การนำาเสนอ ใบงาน เครื่องหมายชนิดต่างๆ เพื่อให้ ผลงาน 3. แบบประเมิน นักดนตรีคนเดียวหรือกลุ่มนัก การนำาเสนอผล ดนตรีบรรเลงได้ตรงกัน อาจแต่ง งาน คำาร้องประกอบทำานองเพลงเพื่อ การขับร้องด้วยก็ได้ จากอดีตถึง ปัจจุบันมีคีตกวีที่สร้างสรรค์ผล งานจนเป็นที่ยอมรับในระดับ ประเทศและระดับสากลมากมาย หลายท่าน สามารถนำามาเป็น ตัวอย่างในการศึกษา ศ 2.1 ม.2/3 ระบุปัจจัยสำาคัญที่มี 1.ใบความรู้ เรื่อง – แบบประเมิน อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งาน คีตกวีด้านดนตรี ใบงาน ดนตรี สากล – แบบประเมิน 2. ใบงาน เรื่อง การปฏิบัติงาน คีตกวีด้านดนตรี กลุ่ม สากล 3.ใบความรู้ เรื่อง สร้างสรรค์ บทเพลง 4.ใบความรู้ เรื่อง ขับร้องสร้างสรรค์ 5.ใบความรู้ เรื่อง หลักการประสมวง ศ 2.1 ม.2/4 ร้องเพลง และเล่น 1.ใบความรู้ เรื่อง – แบบประเมิน ดนตรีเดี่ยวและรวมวง คีตกวีด้านดนตรี ใบงาน สากล – แบบประเมิน 2. ใบงาน เรื่อง การปฏิบัติงาน คีตกวีด้านดนตรี กลุ่ม สากล – แบบประเมิน 3.ใบความรู้ เรื่อง การนำาเสนอผล สร้างสรรค์ งาน บทเพลง – แบบประเมิน 4.ใบความรู้ เรื่อง ผลงานงาน/ชิ้น ขับร้องสร้างสรรค์ งาน 5.ใบความรู้ เรื่อง – แบบทดสอบ
  • 16. 7.2 เกณฑ์การวัด 7.2.1 ข้อสอบปรนัย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1 คะแนน 7.2.2 แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม 1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน 2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน 7.2.3 แบบประเมินก่อนนำาเสนอผลงาน 1. เนื้อหา 2. กลวิธีนำาเสนอ 3. ขั้นตอนการนำาเสนอ 4. การใช้ภาษา 5. ตอบคำาถาม / เวลา 7.2.4 แบบตรวจผลงานเขียนแผนผังความคิด 1. ความคิดรวบยอด 2. ความคิดรอง 3. ความคิดย่อย 4. การเชื่อมโยงความคิด 5. ความสวยงาม 7.2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 1. ความตั้งใจ 2. ความร่วมมือ 3. ความมีวินัย 4. คุณภาพของผลงาน 5. การนำาเสนอผลงาน 7.2.6 แบบประเมินใบงาน 1. การสรุปเป็นองค์ความรู้ 2. เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน 3. การบันทึกข้อมูล 4. การอภิปราย 5. การสนทนาซักถาม 7.2.7 แบบประเมินผลงาน / ชิ้นงาน 1. ความคิดสร้างสรรค์ 2. ความประณีตสวยงาม
  • 17. 3. ความสะอาด 4. ความแข็งแรงคงทน 5. ทำางานเสร็จทันเวลา 7.2.8 การสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห์แผนภาพ 1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ 1 คะแนน 2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน 7.2.9 แบบประเมินพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน 1. ความกระตือรือร้น 2. ความร่วมมือ 3. ความรับผิดชอบ 4. การเคารพกติกา 5. ความกล้าแสดงออก 7.2.10 แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมพื้นฐาน 1. ความขยัน 2. ความมีวินัย 3. ความสะอาด 4. ความสามัคคี 5. ความมีนำ้าใจ
  • 18. 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 8.1 ผลการจัดการเรียนรู้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน ) นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อย ละ........... นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิด เป็นร้อยละ................. นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน คิดเป็นร้อยละ............. 8.2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. 8.3 ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. 8.4 การปรับปรุงและพัฒนา ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. ลงชื่อ…………………………………………
  • 19. (.................................................................) ครู วิทยฐานะครูชำานาญ การ 9. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. ลงชื่อ........................................ ...ผูตรวจสอบ ้ (......................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 10. ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียน .................. ……………………………………………………………………….................... .............................................................................................
  • 20. ............................................................................................. ............................................................................................. ..................................................................................... ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ ้ ( ..............................................) ผู้อำานวยการ โรงเรียน.................................