SlideShare a Scribd company logo
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
ประวัติความเป็นมาโหวด 8
ประเภทของแคน 17
ลักษณะของแคน 20
ส่วนประกอบของแคน 22
การเป่าแคน 24
การฝึกการปฏิบัติแคน 30
แบบทดสอบหลังเรียน 42
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 47
เอกสารอ้างอิง 48
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อ
เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบการสอนดนตรี
พื้นบ้าน การสอน เรื่อง แคน
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สาหรับ
นักเรียนและผู้ที่สนใจจะศึกษาดนตรีพื้นบ้าน
1
1. ด้านความรู ้ (K)
นักเรียนสามารถบอกประวัติความเป็นมาของแคน
อธิบายลักษณะและส่วนประกอบต่างๆ ของแคนได้
ถูกต้อง บอกระบบเสียง อธิบายวิธีการบรรเลงแคน และ
ประยุกต์ใช้ได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมตามเกณฑ์ได้ตาม
เกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
นักเรียนฝึกปฏิบัติเป่าแคนได้ตามเกณฑ์ร้อยละ 80
ขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(A)
นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ตามเกณฑ์คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ได้
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
1. แคนลักษณะนามของชาวลาว เรียกว่า
อะไร
ก. เต้า
ข. อัน
ค. ชิ้น
ง. ดวง
2. เชือกรัดแคน สมัยก่อนใช้อะไรในการผูก
แคน
ก. ปอฟาง
ข. ด้าย
ค. เครือย่านาง
ง. เถาวัลย์
3. การเป่าแคน มีวิธีเป่าอย่างไร
ก. เป่าเข้าอย่างเดียว
ข. เป่าออกอย่างเดีว
ค. เป่าเข้าและเป่าออก
ง. ถูกทั้งข้อ1และข้อ2
4. แคนเป็นเครื่องดนตรีของภาคอะไร
ก. ภาคกลาง
ข. ภาคเหนือ
ค. ภาคอีสาน
ง. ภาคใต้
2 3
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วิธีการเป่าแคน
ก. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับที่
เต้าแคน ให้แน่น ในอุ้งมือ
ข. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่
ต้องการ
ค. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า-ออก
ตามเสียงที่ต้องการ
ง. นอนราบกับพื้นเป่า
6. แคนใช้สิ่งใดทาให้เกิดเสียง
ก. กาพรวด ข. ปิ้ก
ค. คันชัก ง. ลิ้นแคน
7. สิ่งใดต่อไปนี้ไม่ใช่ส่วนประกอบของแคน
ก. ลูกแคน
ข. เต้าแคน
ค. ไม้ตี
ง. ขี้สูด
8. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาของแคน
ก. นกกาเหว่า
ข. เสียงของแคน
ค. นกการเวก
ง. หญิงหม้าย
4 5
9.บทเพลงชนิดใดเหมาะสาหรับการบรรเลงแคน
มากที่สุด
ก. บทเพลงสากล
ข. บทเพลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่
ค. บทเพลงลูกทุ่ง
ง. บทเพลงร็อค
10.การเก็บรักษาแคนข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. เป่าบ่อยๆ
ข. นาไปจุ่มน้าทาความสะอาด แล้วตากแดด
ค. เมื่อแคนชารุดเล็กน้อยควรซ่อมเอง
ง. แขวนไว้กับที่ปลอดภัยและแข็งแรง
6 7
แคน เป็นเครื่องเป่าหรือเครื่องดนตรีพื้นเมืองของภาค
อีสานในประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเครื่องดนตรีของชาวลาว
หรือ สปป.ลาว และถือเป็นสัญลักษณ์ประจาชาติของชนชาติ
ลาวอีกด้วย โดยเครื่องดนตรีชนิดนี้จะใช้ไม้ซางขนาดต่าง ๆ
ประกอบกันเข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียง
เกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลาไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่า
แคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายาก
พอสมควรและแคนมีหลายขนาด ถือเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง
ที่ให้เสียงไพเราะ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สร้างเสียงประสาน
ได้ในตัวเอง บ่งบอกถึงวิถีชีวิตของชาวลุ่มแม่น้าโขงได้เป็นอย่าง
ดี
ใครเป็นผู้คิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีที่เรียกว่า "แคน"
เป็น คนแรก และทาไมจึงเรียกว่า "แคน" นั้น ยังไม่มีหลักฐาน
ที่แน่นอนยืนยันได้
ที่มา http://youtube.com/watch?v=whP-
xUGbR80
8 9
แต่มีเพียงประวัติตานานที่เล่าขานกันสืบเรื่อยต่อมา
ดังนี้ครั้งก่อนนั้นมีพราหมณ์คนหนึ่งได้เข้าไปในป่า
เพื่อหาล่าสัตว์ตามวิถีชีวิตของชาวบ้าน และ
พราหมณ์นั้นได้เดินเข้าไปในป่าลึก ก็ได้ยินเสียงแววๆ
มา มีความไพเราะมาก มีทั้งเสียงสูง เสียงต่า บ้าง
สลับกันไป แล้ว
พราณห์ก็ได้เข้าไปดูว่าเสียงนั้นมาจากที่ใด ทันใด
นั้น ก็มองเห็นเป็นเสียงร้องของนกชนิดหนึ่ง เรียกว่า
“นกการเวก” จากนั้นก็ได้เดินทางกลับบ้าน แล้วนา
เรื่องที่ตนได้ยินมานั้นไปเล่าให้ชาวบ้านได้ฟัง และมี
หญิงหม้ายคนหนึ่งพอได้ฟังแล้วเกิดความสนใจอย่าง
มาก เลยขอติดตามนายพราณห์เข้าไปในป่าเพื่อไปดู
นกการเวก ว่ามีความไพเราะจริงหรือไม่
ครั้งหญิงหม้ายได้ฟังเสียงนกการเวกร้องก็เกิดความไพเราะ
เพลิดเพลินและติดอกติดใจ มีความคิดอย่างเดียวว่า จะทา
อย่างไรดีถ้าต้องการฟังอีก ครั้งจะติดตามนกการเวกนี้ไป
ฟังคงจะยากแน่นอน จึงคิดที่จะทาเครื่องแทนเสียงร้องนก
การเวก ให้มีเสียงเสนาะออนซอนจับใจ ดุจดังเสียงนก
การเวกนี้ให้จงได้ เมื่อหญิงหม้ายกลับถึงบ้าน ก็ได้คิดทา
เครื่องดนตรีต่างๆ เช่น ดีด สี ตี เป่า หลายๆ อย่าง ก็ยังไม่มี
เสียงดนตรีชนิดใดมีเสียงไพเราะเหมือนกับเสียงนกการเวก
ในที่สุดนางก็ได้ไปตัดไม้ชนิดหนึ่ง เอามาประดิษฐ์ดัดแปลง
เป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่ง รู้สึกว่าค่อนข้างไพเราะ จึงได้
พยายามดัดแปลงแก้ไขอีกหลายๆ ครั้ง จนกระทั่งเกิดเป็น
เสียงไพเราะ เหมือนเสียงร้องของนกการเวก
10 11
จึงคิดที่จะไปทูลเกล้าถวายพระเจ้าปเสนทิโกศล และนาง
ยังได้ฝึกหัดเป่าลายต่างๆ จนเกิดความชานาญเป็นอย่างดี
จึงนาเครื่องดนตรีไปเข้าเฝ้าฯ ถวาย แล้วนางก็ได้เป่าลาย
เพลงให้พระเจ้าปเสนทิโกศลฟัง เมื่อฟังเพลงจบแล้วพระ
เจ้าปเสนทิโกศลทรงมีความพึงพอใจอย่างมากที่มีเครื่อง
ดนตรีประเภทนี้เกิดขี้นและทรงตั้งชื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า
“แคน” ด้วยเหตุนี้เครื่องดนตรีที่หญิงหม้ายที่ได้ประดิษฐ์
ขึ้นโดยใช้ไม้ไผ้น้อยเรียงติดต่อกันใช้ปากเป่า จึงได้ชื่อว่า
“แคน” มาตราบเท่าทุกวันนี้และ แคน ยังมีหลายท่านที่ให้
ความหมายของคาว่าแคน
บ้างกล่าวว่าแคนเรียกตามเสียงของแคน โดยเวลาเป่าเสียง
แคนจะดังออกมาว่า แคนแล่นแคน แล่นแคน แล่นแคน แต่
บางท่านก็ให้ความหมายว่า แคน เรียกตามไม้ที่นามาทา
เต้าแคน คือ ไม้ที่ทาเต้าแคนนั้น นิยมใช้ไม้ตะเคียน หรือ
ภาษาอีสานเรียกว่าไม้แคนจากการสันนิษฐานจากนิยาย
เรื่อง หญิงหม้าย แล้วยังสันนิษฐานว่าแคนได้รับอิทธิพลมี
ที่มาอยู่ 2 ประการ คือ
12 13
ประการที่หนึ่ง ทางด้านโบราณคดี ในประเทศจีนซึ่งเป็น
ดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ ได้บ่งบอกว่า เคยเป็นที่อยู่
อาศัยของชาวไทย ได้มีการขุดพบหลุมฝังศพของหญิง
สาวราชินีกุลคนหนึ่ง แถวมณฑลฮูนาน ราว 2,000 ปี
ได้ค้นพบเครื่องดนตรีจานวนมากมาย เช่น ขลุ่ย และ
เครื่องดนตรีสาหรับเป่าที่มีรูปร่างคล้ายกับแคน แต่มีเต้า
ยาวมาก เหมือนแคนชาวเขา เผ่ามูเซอ แถบภาคเหนือ
ของไทย นั้นแสดงว่า เครื่องดนตรีประเภทนี้เคยมีอยู่แล้ว
ในประเทศจีน
ประการที่สอง ด้านวรรณคดี จากวรรณคดีพื้นบ้านอีสานได้
พบการใช้แคนอยู่หลายเรื่อง เช่น เรื่องท้าวฮุ่งท้าวเจือง และ
ท้าวก่ากาดา และเรื่องท้าวก่ากาดา มีตอนหนึ่งว่า กาดาใช้
แคนเป่าจีบสาว ดังว่า
ท้าวก็เป่าจ้อยๆ คือเสียงเสพเมืองสวรรค์
จนว่าฝูงคนเฒ่าเหงานอนหายส่วง
จนว่าสาวแม่ฮ้าง คะนงโอ้อ่าวผัว
ฝูงพ่อฮ้างคิดฮ่าคนึงเมีย
เหลือทนทุกข์ผู้เดียวนอนแล้ว
เป็นที่อัศจรรย์แท้เสียงแคนท้าวก่า
ไผ่ได้ฟังม่วนแม้งในสว่างว่างเว
ฝูงกินข้าวคาคอค้างอยู่
ฝูงอาบน้าป๋ าผ่า แล่นมา
14 15
ในปัจจุบันนี้แคน เป็นเครื่องดนตรีที่มีความเก่าแก่มาก
ที่สุด เป็นเครื่องดนตรีที่มีความนิยมเป่ากันมาก
โดยเฉพาะชาวจังหวัดขอนแก่น ถือเอาแคนเป็น
เอกลักษณ์ชาวขอนแก่น รวมทั้งเป็นเครื่องดนตรีประจา
ภาคอีสานตลอดไป และในปัจจุบันนี้ชาวบ้านได้มีการ
ประดิษฐ์ทาแคนเป็นอาชีพอย่างมากมาย เช่น อ.นา
หว้า จ.นครพนม จะทาแคนเป็นอาชีพทั้งหมู่บ้าน
รวมทั้ง จังหวัดอื่นๆ อีกมากมาย และแคนยังเป็นเครื่อง
ดนตรีที่นามาเป่าประกอบการแสดงต่างๆ เช่นแคนวง
วงโปงลาง วงดนตรีพื้นเมือง รวมทั้งมีการเป่าประกอบ
พิธีกรรมของชาวอีสาน เช่า ราผีฟ้า ราภูไท เป็นต้น
รวมทั้งเป่าประกอบหมอลากลอน ลาเพลิน ลาพื้น
รวมทั้งหมอลาซิ่ง ยังขาดแคนไม่ได้
แคนมีหลายประเภทตามจานวนลูกแคน คือ
แคนหก มีลูกแคน 3 คู่ (6 ลูก) เป็นแคนขนาดเล็กที่สุด
สาหรับเด็กหรือผู้เริ่มฝึกหัดใช้เป่าเพลงง่าย ๆ เพราะเสียง
ไม่ครบ บางทีก็จะทาเป็นของที่ระลึกสาหรับนักท่องเที่ยว
แคนเจ็ด มีลูกแคน 7 คู่ (14 ลูก) เป็นแคนขนาดกลาง มี
เสียงครบ 7 เสียง ตามระบบสากล และมีระดับเสียงสูง ต่า
ทั้ง 7 เสียง หรือที่เรียกว่า คู่แปด คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา
ที (คู่แปด คือทุกเสียงเช่นเสียงโด ก็จะมีทั้งเสียงโดสูง และ
โดต่า ทุกเสียงมีคู่เสียงทั้งหมด) แคน 7 ไม่มีเสียงเสพที่
เป็นเสียง ซอล สูง ด้านแพซ้าย และไม่มีเสียงเสพที่เป็น
เสียง ลาสูง ทางด้านแพขวา
16 17
แคนแปด ใหญ่กว่าแคนเจ็ด มีลูกแคน 8 คู่ (16
ลูก) คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด เพิ่มคู่เสียง
ระดับสูงขึ้นไปให้เป็นเสียงประสานในการเล่น
เพลงพื้นเมือง ได้แก่ เสียง ซอลสูง ด้านแพซ้าย
และเสียงเสพที่เป็นเสียง ลาสูง ทางด้านแพขวา
แคนเก้า มีลูกแคน 9 คู่ (18 ลูก) ใหญ่ที่สุด มี
เสียงต่าที่สุด เวลาเป่าต้องใช้ลมมาก มีจานวนคู่
เสียงครบเช่นเดียวกับแคนแปด แต่ที่เพิ่มขึ้นมา
อีกก็คือเพิ่มเสียงเสพประสานด้านแพซ้ายที่เป็น
เสียงซอลสูงอีกหนึ่งเสียง และเพิ่มเสียงเสพ
ประสานที่แพขวาซึ่งเป็นเสียงลาสูงอีกหนึ่งเสียง
สรุปแล้วจึงมีลูกแคนทั้งหมด 9 คู่ และที่สาคัญ
คือเป็นแคนเสียงต่าที่ใช้เป่าให้เป็นเสียงเบสใน
การเป่าแบบแคนวง แต่ในปัจจุบันวงดนตรี
พื้นเมืองนิยมใช้พิณเบสหรือเบสของดนตรี
สากล แคน 9 จึงไม่เป็นนิยมอีก จึงทาให้
เยาวชนรุ่นหลังไม่มีโอกาสได้เห็นได้ยินการ
บรรเลงของแคน 9 อีกเลย
แคนสิบ เป็นแคนที่ปรับปรุงมาจากแคนแปด
โดยผู้ประดิษฐ์และออกแบบ ชื่อ สาเร็จ คาโมง
แต่ในระยะหลังไม่เป็นที่นิยมมากนักจึงไม่มีผู้
สืบทอดผลงานนี้ไว้
18 19
20 21
1. ไม้กู่แคน
2. ไม้เต้าแคน
3. หลาบโลหะ (ลิ้นแคน)
4. ขี้สูท
5. เครือย่านาง
22 23
การเป่าแคนจะนั่งเป่าหรือยืนเป่าก็ได้ โดยมี
วิธีการเป่าแคนดังนี้
1. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง
จับที่เต้าแคน ให้แน่น ในอุ้งมือ
2. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่
ต้องการ
3. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า-
ออก ตามเสียงที่ต้องการ
4. ขยับนิ้วตามเสียงที่ต้องการ
24 25
มือซ้ายลูกที่ มือขวาลูกที่ ระดับเสียงที่ได้
1 2 โด
3 6 เร
4 7 มี
5-7 - ฟา
6 3 ซอล
- 1-4 ลา
2 5 ที
นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้
หัวแม่มือ 1 โด
ชี้ 2-3 ที-เร
กลาง 4-5 มี-ฟา
นาง 6-7 ซอล-ฟา
ก้อย 8 เสพซ้าย
26 27
นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้
หัวแม่มือ 1 ลา
ชี้ 2-3 โด-ซอล
กลาง 4-5 ลา-ที
นาง 6-7 เร-มี
ก้อย 8 เสพขวา
28 29
แผนผังแคน การเป่าเสียงลา
30 31
การเป่าเสียงมีการเป่าเสียงซอล
32 33
การเป่าเสียงเร การเป่าเสียงโด
34 35
การเป่าเสียงฟา
วิธีปฏิบัติ
วิธีใช้นิ้วมือ ใช้ปลายนิ้วนางมือซ้ายปิด
รูนับเสียง ฟํ บนลูกที่ 7 แพซ้าย และใช้
ปลายนิ้วกลางมือซ้ายปิดรูนับเสียง ฟ บนลูก
ที่ 5 แพซ้าย
วิธีใช้ลม วิธีเป่าลมเข้าและดูดลมออก
ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับที่เรียนมาแล้ว ฝึกใช้ลม
เป่าเข้าและดูดออกช้า ๆ พร้อมกับเคาะเท้า
กากับจังหวะอย่างสม่าเสมอ
การเป่าเสียง ลา ซอล มี โด เร
36 37
ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=nZmJdftG62Q
http://youtube.com/watch?v=3ab7ZK9bWCQ
38 39
ที่มา http://youtube.com/watch?v=4pVuZA6aJME
https://www.google.co.th/search?q=โน้ตเพลงลายเต้ยโข
40 41
1. แคนลักษณะนามของชาวลาว เรียกว่า
อะไร
ก. เต้า
ข. อัน
ค. ชิ้น
ง. ดวง
2. เชือกรัดแคน สมัยก่อนใช้อะไรในการผูก
แคน
ก. ปอฟาง
ข. ด้าย
ค. เครือย่านาง
ง. เถาวัลย์
3. การเป่าแคน มีวิธีเป่าอย่างไร
ก. เป่าเข้าอย่างเดียว
ข. เป่าออกอย่างเดีว
ค. เป่าเข้าและเป่าออก
ง. ถูกทั้งข้อ1และข้อ2
4. แคนเป็นเครื่องดนตรีของภาคอะไร
ก. ภาคกลาง
ข. ภาคเหนือ
ค. ภาคอีสาน
ง. ภาคใต้
42 43
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วิธีการเป่าแคน
ก. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับที่
เต้า
แคน ให้แน่น ในอุ้งมือ
ข. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่
ต้องการ
ค. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า-ออก
ตาม
เสียงที่ต้องการ
ง. นอนราบกับพื้นเป่า
6. แคนใช้สิ่งใดทาให้เกิดเสียง
ก. กาพรวด ข. ปิ้ก
ค. คันชัก ง. ลิ้นแคน
7. สิ่งใดต่อไปนี้ไม่ใช่ส่วนประกอบของแคน
ก. ลูกแคน
ข. เต้าแคน
ค. ไม้ตี
ง. ขี้สูด
8. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาของแคน
ก. นกกาเหว่า
ข. เสียงของแคน
ค. นกการเวก
ง. หญิงหม้าย
44 45
9. บทเพลงชนิดใดเหมาะสาหรับการบรรเลง
แคน
มากที่สุด
ก. บทเพลงสากล
ข. บทเพลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่
ค. บทเพลงลูกทุ่ง
ง. บทเพลงร็อค
10. การเก็บรักษาแคนข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. เป่าบ่อยๆ
ข. นาไปจุ่มน้าทาความสะอาด แล้วตาก
แดด
ค. เมื่อแคนชารุดเล็กน้อยควรซ่อมเอง
ง. แขวนไว้กับที่ปลอดภัยและแข็งแรง
46 47
1. ก 2. ง
3. ค 4. ค
5. ง 6. ง
7. ค 8. ง
9. ค 10. ง
วิกิพีเดีย 14/04/2016.
https://th.wikipedia.org/wiki/. แคน.
สารานุกรมเสรี.10/10/2016
หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
http://www.finearts.go.th/
nakhonphanomlibrary/
ประวัติความเป็นมาแคน.
กรมศิลปากร.10/10/2016
Rungroj.01/11/2015.ประวัติแคน อนิเมชั่น.
https://www.youtube.com/watch?v=whP
-
xUGbR80.10/10/2016
kruweerachat m.01/05/2013.การฝึกเป่าแคน
ลายเต้ย
โขง.http://youtube.com/watch?v
=4pVuZA6aJME.10/10/2016
วีรชัย มาตรหลุบเลา.การเป่าแคน. โรงเรียนบ้านหนองย่างงัว.สพป.
ร้อยเอ็ด เขต 2
48

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
nongnoch
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
ดวงฤทัย ช่วงชัย
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
Sasiprapha Srisaeng
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
Rung Kru
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนpeter dontoom
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1Sivagon Soontong
 
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ทศพล พรหมภักดี
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะnang_phy29
 
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียนบันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน5171422
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
Manas Panjai
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย_ม.1
 
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ
 
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียนบันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 

Similar to บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบสบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
Thanakrit Muangjun
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
gueste0411f21
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
แคนอีสาน
แคนอีสานแคนอีสาน
แคนอีสาน
VeenatSeemuang
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
leemeanxun
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
krumildsarakam25
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
manasakpoto
 

Similar to บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน (20)

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบสบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
Musicprogram
MusicprogramMusicprogram
Musicprogram
 
รายการเพลง
รายการเพลงรายการเพลง
รายการเพลง
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
แคนอีสาน
แคนอีสานแคนอีสาน
แคนอีสาน
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน

  • 1.
  • 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน 2 ประวัติความเป็นมาโหวด 8 ประเภทของแคน 17 ลักษณะของแคน 20 ส่วนประกอบของแคน 22 การเป่าแคน 24 การฝึกการปฏิบัติแคน 30 แบบทดสอบหลังเรียน 42 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 47 เอกสารอ้างอิง 48 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อ เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบการสอนดนตรี พื้นบ้าน การสอน เรื่อง แคน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สาหรับ นักเรียนและผู้ที่สนใจจะศึกษาดนตรีพื้นบ้าน
  • 3. 1 1. ด้านความรู ้ (K) นักเรียนสามารถบอกประวัติความเป็นมาของแคน อธิบายลักษณะและส่วนประกอบต่างๆ ของแคนได้ ถูกต้อง บอกระบบเสียง อธิบายวิธีการบรรเลงแคน และ ประยุกต์ใช้ได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมตามเกณฑ์ได้ตาม เกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป นักเรียนฝึกปฏิบัติเป่าแคนได้ตามเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ตามเกณฑ์คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ได้ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
  • 4. 1. แคนลักษณะนามของชาวลาว เรียกว่า อะไร ก. เต้า ข. อัน ค. ชิ้น ง. ดวง 2. เชือกรัดแคน สมัยก่อนใช้อะไรในการผูก แคน ก. ปอฟาง ข. ด้าย ค. เครือย่านาง ง. เถาวัลย์ 3. การเป่าแคน มีวิธีเป่าอย่างไร ก. เป่าเข้าอย่างเดียว ข. เป่าออกอย่างเดีว ค. เป่าเข้าและเป่าออก ง. ถูกทั้งข้อ1และข้อ2 4. แคนเป็นเครื่องดนตรีของภาคอะไร ก. ภาคกลาง ข. ภาคเหนือ ค. ภาคอีสาน ง. ภาคใต้ 2 3
  • 5. 5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วิธีการเป่าแคน ก. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับที่ เต้าแคน ให้แน่น ในอุ้งมือ ข. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่ ต้องการ ค. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า-ออก ตามเสียงที่ต้องการ ง. นอนราบกับพื้นเป่า 6. แคนใช้สิ่งใดทาให้เกิดเสียง ก. กาพรวด ข. ปิ้ก ค. คันชัก ง. ลิ้นแคน 7. สิ่งใดต่อไปนี้ไม่ใช่ส่วนประกอบของแคน ก. ลูกแคน ข. เต้าแคน ค. ไม้ตี ง. ขี้สูด 8. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาของแคน ก. นกกาเหว่า ข. เสียงของแคน ค. นกการเวก ง. หญิงหม้าย 4 5
  • 6. 9.บทเพลงชนิดใดเหมาะสาหรับการบรรเลงแคน มากที่สุด ก. บทเพลงสากล ข. บทเพลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ค. บทเพลงลูกทุ่ง ง. บทเพลงร็อค 10.การเก็บรักษาแคนข้อใดถูกต้องที่สุด ก. เป่าบ่อยๆ ข. นาไปจุ่มน้าทาความสะอาด แล้วตากแดด ค. เมื่อแคนชารุดเล็กน้อยควรซ่อมเอง ง. แขวนไว้กับที่ปลอดภัยและแข็งแรง 6 7
  • 7. แคน เป็นเครื่องเป่าหรือเครื่องดนตรีพื้นเมืองของภาค อีสานในประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเครื่องดนตรีของชาวลาว หรือ สปป.ลาว และถือเป็นสัญลักษณ์ประจาชาติของชนชาติ ลาวอีกด้วย โดยเครื่องดนตรีชนิดนี้จะใช้ไม้ซางขนาดต่าง ๆ ประกอบกันเข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียง เกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลาไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่า แคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายาก พอสมควรและแคนมีหลายขนาด ถือเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ที่ให้เสียงไพเราะ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สร้างเสียงประสาน ได้ในตัวเอง บ่งบอกถึงวิถีชีวิตของชาวลุ่มแม่น้าโขงได้เป็นอย่าง ดี ใครเป็นผู้คิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีที่เรียกว่า "แคน" เป็น คนแรก และทาไมจึงเรียกว่า "แคน" นั้น ยังไม่มีหลักฐาน ที่แน่นอนยืนยันได้ ที่มา http://youtube.com/watch?v=whP- xUGbR80 8 9
  • 8. แต่มีเพียงประวัติตานานที่เล่าขานกันสืบเรื่อยต่อมา ดังนี้ครั้งก่อนนั้นมีพราหมณ์คนหนึ่งได้เข้าไปในป่า เพื่อหาล่าสัตว์ตามวิถีชีวิตของชาวบ้าน และ พราหมณ์นั้นได้เดินเข้าไปในป่าลึก ก็ได้ยินเสียงแววๆ มา มีความไพเราะมาก มีทั้งเสียงสูง เสียงต่า บ้าง สลับกันไป แล้ว พราณห์ก็ได้เข้าไปดูว่าเสียงนั้นมาจากที่ใด ทันใด นั้น ก็มองเห็นเป็นเสียงร้องของนกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “นกการเวก” จากนั้นก็ได้เดินทางกลับบ้าน แล้วนา เรื่องที่ตนได้ยินมานั้นไปเล่าให้ชาวบ้านได้ฟัง และมี หญิงหม้ายคนหนึ่งพอได้ฟังแล้วเกิดความสนใจอย่าง มาก เลยขอติดตามนายพราณห์เข้าไปในป่าเพื่อไปดู นกการเวก ว่ามีความไพเราะจริงหรือไม่ ครั้งหญิงหม้ายได้ฟังเสียงนกการเวกร้องก็เกิดความไพเราะ เพลิดเพลินและติดอกติดใจ มีความคิดอย่างเดียวว่า จะทา อย่างไรดีถ้าต้องการฟังอีก ครั้งจะติดตามนกการเวกนี้ไป ฟังคงจะยากแน่นอน จึงคิดที่จะทาเครื่องแทนเสียงร้องนก การเวก ให้มีเสียงเสนาะออนซอนจับใจ ดุจดังเสียงนก การเวกนี้ให้จงได้ เมื่อหญิงหม้ายกลับถึงบ้าน ก็ได้คิดทา เครื่องดนตรีต่างๆ เช่น ดีด สี ตี เป่า หลายๆ อย่าง ก็ยังไม่มี เสียงดนตรีชนิดใดมีเสียงไพเราะเหมือนกับเสียงนกการเวก ในที่สุดนางก็ได้ไปตัดไม้ชนิดหนึ่ง เอามาประดิษฐ์ดัดแปลง เป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่ง รู้สึกว่าค่อนข้างไพเราะ จึงได้ พยายามดัดแปลงแก้ไขอีกหลายๆ ครั้ง จนกระทั่งเกิดเป็น เสียงไพเราะ เหมือนเสียงร้องของนกการเวก 10 11
  • 9. จึงคิดที่จะไปทูลเกล้าถวายพระเจ้าปเสนทิโกศล และนาง ยังได้ฝึกหัดเป่าลายต่างๆ จนเกิดความชานาญเป็นอย่างดี จึงนาเครื่องดนตรีไปเข้าเฝ้าฯ ถวาย แล้วนางก็ได้เป่าลาย เพลงให้พระเจ้าปเสนทิโกศลฟัง เมื่อฟังเพลงจบแล้วพระ เจ้าปเสนทิโกศลทรงมีความพึงพอใจอย่างมากที่มีเครื่อง ดนตรีประเภทนี้เกิดขี้นและทรงตั้งชื่อเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า “แคน” ด้วยเหตุนี้เครื่องดนตรีที่หญิงหม้ายที่ได้ประดิษฐ์ ขึ้นโดยใช้ไม้ไผ้น้อยเรียงติดต่อกันใช้ปากเป่า จึงได้ชื่อว่า “แคน” มาตราบเท่าทุกวันนี้และ แคน ยังมีหลายท่านที่ให้ ความหมายของคาว่าแคน บ้างกล่าวว่าแคนเรียกตามเสียงของแคน โดยเวลาเป่าเสียง แคนจะดังออกมาว่า แคนแล่นแคน แล่นแคน แล่นแคน แต่ บางท่านก็ให้ความหมายว่า แคน เรียกตามไม้ที่นามาทา เต้าแคน คือ ไม้ที่ทาเต้าแคนนั้น นิยมใช้ไม้ตะเคียน หรือ ภาษาอีสานเรียกว่าไม้แคนจากการสันนิษฐานจากนิยาย เรื่อง หญิงหม้าย แล้วยังสันนิษฐานว่าแคนได้รับอิทธิพลมี ที่มาอยู่ 2 ประการ คือ 12 13
  • 10. ประการที่หนึ่ง ทางด้านโบราณคดี ในประเทศจีนซึ่งเป็น ดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ ได้บ่งบอกว่า เคยเป็นที่อยู่ อาศัยของชาวไทย ได้มีการขุดพบหลุมฝังศพของหญิง สาวราชินีกุลคนหนึ่ง แถวมณฑลฮูนาน ราว 2,000 ปี ได้ค้นพบเครื่องดนตรีจานวนมากมาย เช่น ขลุ่ย และ เครื่องดนตรีสาหรับเป่าที่มีรูปร่างคล้ายกับแคน แต่มีเต้า ยาวมาก เหมือนแคนชาวเขา เผ่ามูเซอ แถบภาคเหนือ ของไทย นั้นแสดงว่า เครื่องดนตรีประเภทนี้เคยมีอยู่แล้ว ในประเทศจีน ประการที่สอง ด้านวรรณคดี จากวรรณคดีพื้นบ้านอีสานได้ พบการใช้แคนอยู่หลายเรื่อง เช่น เรื่องท้าวฮุ่งท้าวเจือง และ ท้าวก่ากาดา และเรื่องท้าวก่ากาดา มีตอนหนึ่งว่า กาดาใช้ แคนเป่าจีบสาว ดังว่า ท้าวก็เป่าจ้อยๆ คือเสียงเสพเมืองสวรรค์ จนว่าฝูงคนเฒ่าเหงานอนหายส่วง จนว่าสาวแม่ฮ้าง คะนงโอ้อ่าวผัว ฝูงพ่อฮ้างคิดฮ่าคนึงเมีย เหลือทนทุกข์ผู้เดียวนอนแล้ว เป็นที่อัศจรรย์แท้เสียงแคนท้าวก่า ไผ่ได้ฟังม่วนแม้งในสว่างว่างเว ฝูงกินข้าวคาคอค้างอยู่ ฝูงอาบน้าป๋ าผ่า แล่นมา 14 15
  • 11. ในปัจจุบันนี้แคน เป็นเครื่องดนตรีที่มีความเก่าแก่มาก ที่สุด เป็นเครื่องดนตรีที่มีความนิยมเป่ากันมาก โดยเฉพาะชาวจังหวัดขอนแก่น ถือเอาแคนเป็น เอกลักษณ์ชาวขอนแก่น รวมทั้งเป็นเครื่องดนตรีประจา ภาคอีสานตลอดไป และในปัจจุบันนี้ชาวบ้านได้มีการ ประดิษฐ์ทาแคนเป็นอาชีพอย่างมากมาย เช่น อ.นา หว้า จ.นครพนม จะทาแคนเป็นอาชีพทั้งหมู่บ้าน รวมทั้ง จังหวัดอื่นๆ อีกมากมาย และแคนยังเป็นเครื่อง ดนตรีที่นามาเป่าประกอบการแสดงต่างๆ เช่นแคนวง วงโปงลาง วงดนตรีพื้นเมือง รวมทั้งมีการเป่าประกอบ พิธีกรรมของชาวอีสาน เช่า ราผีฟ้า ราภูไท เป็นต้น รวมทั้งเป่าประกอบหมอลากลอน ลาเพลิน ลาพื้น รวมทั้งหมอลาซิ่ง ยังขาดแคนไม่ได้ แคนมีหลายประเภทตามจานวนลูกแคน คือ แคนหก มีลูกแคน 3 คู่ (6 ลูก) เป็นแคนขนาดเล็กที่สุด สาหรับเด็กหรือผู้เริ่มฝึกหัดใช้เป่าเพลงง่าย ๆ เพราะเสียง ไม่ครบ บางทีก็จะทาเป็นของที่ระลึกสาหรับนักท่องเที่ยว แคนเจ็ด มีลูกแคน 7 คู่ (14 ลูก) เป็นแคนขนาดกลาง มี เสียงครบ 7 เสียง ตามระบบสากล และมีระดับเสียงสูง ต่า ทั้ง 7 เสียง หรือที่เรียกว่า คู่แปด คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที (คู่แปด คือทุกเสียงเช่นเสียงโด ก็จะมีทั้งเสียงโดสูง และ โดต่า ทุกเสียงมีคู่เสียงทั้งหมด) แคน 7 ไม่มีเสียงเสพที่ เป็นเสียง ซอล สูง ด้านแพซ้าย และไม่มีเสียงเสพที่เป็น เสียง ลาสูง ทางด้านแพขวา 16 17
  • 12. แคนแปด ใหญ่กว่าแคนเจ็ด มีลูกแคน 8 คู่ (16 ลูก) คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด เพิ่มคู่เสียง ระดับสูงขึ้นไปให้เป็นเสียงประสานในการเล่น เพลงพื้นเมือง ได้แก่ เสียง ซอลสูง ด้านแพซ้าย และเสียงเสพที่เป็นเสียง ลาสูง ทางด้านแพขวา แคนเก้า มีลูกแคน 9 คู่ (18 ลูก) ใหญ่ที่สุด มี เสียงต่าที่สุด เวลาเป่าต้องใช้ลมมาก มีจานวนคู่ เสียงครบเช่นเดียวกับแคนแปด แต่ที่เพิ่มขึ้นมา อีกก็คือเพิ่มเสียงเสพประสานด้านแพซ้ายที่เป็น เสียงซอลสูงอีกหนึ่งเสียง และเพิ่มเสียงเสพ ประสานที่แพขวาซึ่งเป็นเสียงลาสูงอีกหนึ่งเสียง สรุปแล้วจึงมีลูกแคนทั้งหมด 9 คู่ และที่สาคัญ คือเป็นแคนเสียงต่าที่ใช้เป่าให้เป็นเสียงเบสใน การเป่าแบบแคนวง แต่ในปัจจุบันวงดนตรี พื้นเมืองนิยมใช้พิณเบสหรือเบสของดนตรี สากล แคน 9 จึงไม่เป็นนิยมอีก จึงทาให้ เยาวชนรุ่นหลังไม่มีโอกาสได้เห็นได้ยินการ บรรเลงของแคน 9 อีกเลย แคนสิบ เป็นแคนที่ปรับปรุงมาจากแคนแปด โดยผู้ประดิษฐ์และออกแบบ ชื่อ สาเร็จ คาโมง แต่ในระยะหลังไม่เป็นที่นิยมมากนักจึงไม่มีผู้ สืบทอดผลงานนี้ไว้ 18 19
  • 13. 20 21
  • 14. 1. ไม้กู่แคน 2. ไม้เต้าแคน 3. หลาบโลหะ (ลิ้นแคน) 4. ขี้สูท 5. เครือย่านาง 22 23
  • 15. การเป่าแคนจะนั่งเป่าหรือยืนเป่าก็ได้ โดยมี วิธีการเป่าแคนดังนี้ 1. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับที่เต้าแคน ให้แน่น ในอุ้งมือ 2. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่ ต้องการ 3. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า- ออก ตามเสียงที่ต้องการ 4. ขยับนิ้วตามเสียงที่ต้องการ 24 25
  • 16. มือซ้ายลูกที่ มือขวาลูกที่ ระดับเสียงที่ได้ 1 2 โด 3 6 เร 4 7 มี 5-7 - ฟา 6 3 ซอล - 1-4 ลา 2 5 ที นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้ หัวแม่มือ 1 โด ชี้ 2-3 ที-เร กลาง 4-5 มี-ฟา นาง 6-7 ซอล-ฟา ก้อย 8 เสพซ้าย 26 27
  • 17. นิ้วมือซ้าย ลูกที่ ระดับเสียงที่ได้ หัวแม่มือ 1 ลา ชี้ 2-3 โด-ซอล กลาง 4-5 ลา-ที นาง 6-7 เร-มี ก้อย 8 เสพขวา 28 29
  • 21. การเป่าเสียงฟา วิธีปฏิบัติ วิธีใช้นิ้วมือ ใช้ปลายนิ้วนางมือซ้ายปิด รูนับเสียง ฟํ บนลูกที่ 7 แพซ้าย และใช้ ปลายนิ้วกลางมือซ้ายปิดรูนับเสียง ฟ บนลูก ที่ 5 แพซ้าย วิธีใช้ลม วิธีเป่าลมเข้าและดูดลมออก ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับที่เรียนมาแล้ว ฝึกใช้ลม เป่าเข้าและดูดออกช้า ๆ พร้อมกับเคาะเท้า กากับจังหวะอย่างสม่าเสมอ การเป่าเสียง ลา ซอล มี โด เร 36 37
  • 24. 1. แคนลักษณะนามของชาวลาว เรียกว่า อะไร ก. เต้า ข. อัน ค. ชิ้น ง. ดวง 2. เชือกรัดแคน สมัยก่อนใช้อะไรในการผูก แคน ก. ปอฟาง ข. ด้าย ค. เครือย่านาง ง. เถาวัลย์ 3. การเป่าแคน มีวิธีเป่าอย่างไร ก. เป่าเข้าอย่างเดียว ข. เป่าออกอย่างเดีว ค. เป่าเข้าและเป่าออก ง. ถูกทั้งข้อ1และข้อ2 4. แคนเป็นเครื่องดนตรีของภาคอะไร ก. ภาคกลาง ข. ภาคเหนือ ค. ภาคอีสาน ง. ภาคใต้ 42 43
  • 25. 5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่วิธีการเป่าแคน ก. จับแคนโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับที่ เต้า แคน ให้แน่น ในอุ้งมือ ข. ใช้นิ้วทั้ง 5 ปิดรูเสียงตามที่ ต้องการ ค. ใช้ปากเป่า โดยใช้ลมเข้า-ออก ตาม เสียงที่ต้องการ ง. นอนราบกับพื้นเป่า 6. แคนใช้สิ่งใดทาให้เกิดเสียง ก. กาพรวด ข. ปิ้ก ค. คันชัก ง. ลิ้นแคน 7. สิ่งใดต่อไปนี้ไม่ใช่ส่วนประกอบของแคน ก. ลูกแคน ข. เต้าแคน ค. ไม้ตี ง. ขี้สูด 8. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับประวัติความเป็นมาของแคน ก. นกกาเหว่า ข. เสียงของแคน ค. นกการเวก ง. หญิงหม้าย 44 45
  • 26. 9. บทเพลงชนิดใดเหมาะสาหรับการบรรเลง แคน มากที่สุด ก. บทเพลงสากล ข. บทเพลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ค. บทเพลงลูกทุ่ง ง. บทเพลงร็อค 10. การเก็บรักษาแคนข้อใดถูกต้องที่สุด ก. เป่าบ่อยๆ ข. นาไปจุ่มน้าทาความสะอาด แล้วตาก แดด ค. เมื่อแคนชารุดเล็กน้อยควรซ่อมเอง ง. แขวนไว้กับที่ปลอดภัยและแข็งแรง 46 47 1. ก 2. ง 3. ค 4. ค 5. ง 6. ง 7. ค 8. ง 9. ค 10. ง
  • 27. วิกิพีเดีย 14/04/2016. https://th.wikipedia.org/wiki/. แคน. สารานุกรมเสรี.10/10/2016 หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ http://www.finearts.go.th/ nakhonphanomlibrary/ ประวัติความเป็นมาแคน. กรมศิลปากร.10/10/2016 Rungroj.01/11/2015.ประวัติแคน อนิเมชั่น. https://www.youtube.com/watch?v=whP - xUGbR80.10/10/2016 kruweerachat m.01/05/2013.การฝึกเป่าแคน ลายเต้ย โขง.http://youtube.com/watch?v =4pVuZA6aJME.10/10/2016 วีรชัย มาตรหลุบเลา.การเป่าแคน. โรงเรียนบ้านหนองย่างงัว.สพป. ร้อยเอ็ด เขต 2 48