SlideShare a Scribd company logo
169




โครงสร้ างหลักสู ตร / คาอธิบายรายวิชา
     กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
170


                               โครงสร้ างรายวิชากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ศิลปะ
                                   รายวิชาศิลปะพืนฐานและเพิ่มเติม
                                                    ้

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
        ศ21101 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                              ่                             ่                           1.0 หน่วยกิต
        ศ21102 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                ่                             ่                         1.0 หน่วยกิต
        รายวิชาเพิมเติม
                    ่
        ศ21201ดนตรี สากล1 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                            ่                   ่                       1.0 หน่วยกิต
        ศ21202ดนตรี สากล2 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                              ่                   ่                     1.0 หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
        ศ22101 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                  ่                                 ่                   1.0 หน่วยกิต
        ศ22102 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                    ่                                 ่                 1.0 หน่วยกิต
        รายวิชาเพิมเติม
                      ่
        ศ22201ทฤษฎีดนตรี สากล 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต
                                                      ่                               ่
        ศ22202 ขับร้องสากล 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต
                                                    ่                               ่
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
        ศ23101 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                        ่                               ่               1.0 หน่วยกิต
        ศ23102 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                            ่                                             ่             1.0 หน่วยกิต
        รายวิชาเพิมเติม ่
        ศ23201การออกแบบ1 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต
                                                ่                                 ่
        ศ23201การออกแบบ2 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                  ่                         ่           1.0 หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
        ศ31101 ศิลปะ 1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                      ่                                       ่         0.5 หน่วยกิต
        ศ31102 ศิลปะ 1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                          ่                                     ่       0.5 หน่วยกิต
        รายวิชาเพิมเติม   ่
        ศ31201
171


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
        ศ32101 ศิลปะ      1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                ่                        20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                              ่                0.5 หน่วยกิต
        ศ32102 ศิลปะ      1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                              ่                          20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                ่              0.5 หน่วยกิต
        รายวิชาเพิมเติม
                    ่
        ศ32201
        ศ32202
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
        ศ33101 ศิลปะ      1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                              ่                          20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                              ่                0.5 หน่วยกิต
        ศ33102 ศิลปะ      1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน
                                ่                        20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน
                                                                ่              0.5 หน่วยกิต
        รายวิชาเพิมเติม
                      ่
        ศ33201
        ศ33202
172


                                            คาอธิบายรายวิชา
   ศ21101 ศิลปะ 1                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………

                    ศึกษาความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่ งแวดล้อม โดยใช้
ความรู้เรื่ องทัศนธาตุ หลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็ นเอกภาพ ความกลมกลืนและความ
สมดุล วาดภาพทัศนียภาพ แสดงให้เห็นระยะไกลใกล้เป็ น 3 มิติ รวบรวมงานปั้ นหรื อสื่ อผสม มาสร้างเป็ น
เรื่ องราว 3 มิติ โดยเน้นความเป็ นเอกภาพ ความกลมกลืน และการสื่ อถึงเรื่ องราวของงานออกแบบรู ปภาพ
สัญลักษณ์ หรื อกราฟิ กอื่นๆ ในการนาเสนอความคิด และข้อมูลประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึง
วิธีการปรับปรุ งงานตนเอง และผูอื่นโดยใช้เกณฑ์กาหนดให้
                                    ้
                    ศึกษาเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี เปรี ยบเทียบเสี ยงร้องและเสี ยงของเครื่ องดนตรี
ในบทเพลงจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน การร้อง และการบรรเลงเครื่ องดนตรี ประกอบการร้องจาแนกประเภทวง
ดนตรี ไทย วงดนตรี สากล และวงดนตรี พ้นเมืองื
                    ศึกษาวิธีการปฏิบติตนของผูแสดงและผูชม ประวัตินกแสดง การพัฒนารู ปแบบของการ
                                      ั       ้         ้           ั
แสดง อิทธิ พลของนักแสดงที่มีผลต่อพฤติกรรมของผูชม นาฏยศัพท์ ศัพท์การละครในการแสดง
                                                    ้
ภาษาท่า การตีบท และท่าทางเคลื่อนไหวที่แสดงสื่ อทางอารมณ์โดยใช้ความรู ้ทศนธาตุ ฝึ กและปฏิบติงาน
                                                                              ั                    ั
ทัศนศิลป์ การออกแบบ วาดภาพทัศนียภาพงานปั้ นหรื อสื่ อผสม ออกแบบรู ปภาพสัญลักษณ์ หรื อกราฟิ ก
การเขียนภาพการ์ ตูน และประเมินงานทัศนศิลป์ ฝึ กปฏิบติอ่าน เขียนร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล
                                                      ั
เครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี โน้ตเพลงไทยอัตราจังหวะสองชั้น ร้องเพลงและใช้เครื่ องดนตรี
บรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรู ปแบบ ร้องและการบรรเลงเครื่ องดนตรี
ประกอบการร้องบทเพลงพื้นบ้านเพลงปลุกใจ บทเพลงไทยเดิม นาเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และ
อภิปรายลักษณะเด่นที่ทาให้งานนั้นน่าชื่ นชม ฝึ กและปฏิบติเกี่ยวกับภาษาท่า นาฏยศัพท์ และศัพท์การละคร
                                                            ั
ในการแสดงภาษาท่า การตีบท และท่าทางเคลื่อนไหวที่แสดงสื่ อทางอารมณ์ การจัดรู ปแบการแสดงใน
โอกาสต่าง ๆ
                    มีความสามารถในการสื่ อสารการคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต โดยใช้ความรู้ทาง
                                                                            ั     ิ
ทัศนศิลป์ มาประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวันอย่างเหมาะสม มีความรู ้ความเข้าใจพื้นฐานด้านดนตรี
                                  ิ
สามารถอธิบายเปรี ยบเทียบจาแนกความแตกต่างเรื่ องดนตรี และประเมินผลงานคุณภาพด้านดนตรี
ได้ดวยความชื่นชมและเห็นคุณค่า เกิดทักษะ เกิดสุ นทรี ยภาพ พัฒนาบุคลิกภาพ เห็นคุณค่า
       ้
ความสาคัญของการนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบติตนในชี วตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
                                                          ั       ิ
173


รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม1/1 , ม1/2 ,ม1/3
ศ 1.2 ม1/1 , ม1/2
ศ 2.1 ม1/1 , ม1/2 , ม1/3, 1/4
ศ 2.2 ม1/1
ศ 3.1 ม1/1 , ม1/2
ศ 3.2 ม1/1
รวมทั้งหมด 13 ตัวชี้วดั
174


                                           คาอธิบายรายวิชา
        ศ21102 ศิลปะ 2                                                       กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
       ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 2                         เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
 ……………………………………………………………………………………………………………….
                   ศึกษารู ปแบบงานทัศนศิลป์ ของชาติ และของท้องถิ่นตนเอง จากอดีตจนถึงปัจจุบนและ      ั
เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย เปรี ยบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการ
สร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากลฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ ระดับท้องถิ่นตนเอง
                                                                      ั
ระดับชาติ เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ของ
จุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากลแสดงความคิดเห็นถ่ายทอดอารมณ์
ของบทเพลงเปรี ยบเทียบอารมณ์ความรู้สึก การฟังดนตรี แต่ละประเภท และประเมินคุณภาพของบทเพลง
นาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบและสนใจ ใช้และบารุ งรักษาเครื่ องดนตรี อย่างละมัดระวัง อธิบายบทบาท
ความสัมพันธ์และอิทธิ พลของดนตรี ที่มีต่อสังคมไทย
                   ศึกษาหลักในการชมการแสดง นาฏศิลป์ พื้นบ้าน นาฏศิลป์ นานาชาติ ประเภทของละคร
ไทย และละครพื้นบ้าน ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ บทบาท และหน้าของฝ่ ายต่าง ๆ ใน
การจัดการแสดงโดยใช้ความรู้ทางทัศนศิลป์ มาประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวันอย่างเหมาะสม การศึกษา
                                                                  ิ
ค้นคว้าข้อมูลและฝึ กทักษะการฟังดนตรี บทเพลงถ่ายทอดอารมณ์ออกมาตามจินตนาการ ฝึ กและปฏิบติ               ั
เกี่ยวกับการจัดการแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้าน นาฏศิลป์ นานาชาติ ละครไทย และ/หรื อละครพื้นบ้าน
                   มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต เห็นความสาคัญ
                                                                                ั      ิ
ของการฟังเพลง ฟังดนตรี สามารถนาบทเพลงที่มีคุณค่าถ่ายทอดให้ผที่สนใจได้ศึกษานามาใช้ใน
                                                                        ู้
ชีวตประจาวัน และรู ้จกใช้เครื่ องดนตรี อย่างระมัดระวังรู ้ในคุณค่าทางดนตรี ที่เกี่ยวข้องกับสังคม
     ิ                    ั
ปัจจุบน ส่ งเสริ มการอนุรักษ์และสื บสานในศิลปวัฒนธรรมอันเป็ นเอกลักษณ์ของชาติ เห็นคุณค่า
        ั
ความสาคัญของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกของชาติไทยไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบติตนในชี วตประจาวันได้
                                                                                  ั        ิ
อย่างเหมาะสม และสามารถเปรี ยบเทียบการแสดงนาฏศิลป์ ในแต่ละวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
รหัสตัวชี้วด ั
ศ 1.1 ม1/4 , ม1/5 ,ม1/6
ศ 1.2 ม1/3
ศ 2.1 ม1/5 ,ม1/6, ม1/7 ,ม1/8
ศ 2.2 ม1/2
ศ 3.1 ม1/3 , ม1/4 ,ม1/5
ศ 3.2 ม1/2
รวมทั้งหมด 13 ตัวชี้วด  ั
175


                                         คาอธิบายรายวิชา
   ศ21201 ดนตรีสากล1                            กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

                ศึกษาดนตรี สากลเบื้องต้น โน้ตสากล ศัพท์สังคีต ฝึ กประสาท ฝึ กปฏิบติการอ่านโน้ต
                                                                                 ั
เครื่ องดนตรี สากลโดยบรรเลงเดียวและกลุ่ม และจัดการแสดงเป็ นครั่งคราวให้พร้อมกับการดูแลรักษาเครื่ อง
ดนตรี เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการบรรเลงประพันธ์เพลงได้ตามอารมณ์และแรงบัดดาลใจ ตามจังหวะ
ทานองความรู้สึกเพื่อที่ใจใช้ในการประกอบอาชีพทางดนตรี

ผลการเรียนรู้
176


                                          คาอธิบายรายวิชา
   ศ21202 ดนตรีสากล2                            กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

                ศึกษาความรู ้ทวไปเกี่ยวกับดนตรี สากล วงดนตรี เครื่ องดนตรี หลักการขับร้องเบื้องต้นฝึ ก
                              ั่
ขับร้องเพลงไทยสากลและเพลงสากล เพื่อการให้สามารถขับร้องได้อย่างถูกต้องไพเราะ ถูกทานอง จังหวะ
และบันเทิงอารมณ์ และสามารถเล่นเครื่ องดนตรี ได้ หนึ่งอย่างตามที่ตนถนัด

ผลการเรียนรู้
177


                                              คาอธิบายรายวิชา
   ศ22101 ศิลปะ 3                                                                 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1                                   เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..
                   ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับทัศนธาตุ ในด้านรู ปแบบ แนวคิดของงาน
                                      ั
ทัศนศิลป์ ความเหมือน ความแตกต่างของรู ปแบบ การใช้วสดุอุปกรณ์ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ด้วยวิธีการ
                                                           ั
และเทคนิคที่หลากหลาย สามารถถ่ายทอด ความหมาย แนวคิด เรื่ องราว ตามวุฒิภาวะด้วยความรับผิดชอบ
ชื่นชม และเห็นคุณค่าฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ ระดับท้องถิ่นตนเอง ระดับชาติ การเขียนภาพการ์ตูน
                                    ั
เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ของจุดประสงค์ในการ
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากล
                                                                              ่
                   ศึกษาเปรี ยบเทียบองค์ประกอบของดนตรี จากวัฒนธรรมที่ตางกัน บรรยายอารมณ์และ
ความรู ้สึกในบทเพลงบทบาทและอิทธิ พลของดนตรี ในวัฒนธรรมประเทศต่าง ๆ อิทธิพลของวัฒนธรรม
เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรู ปแบบของดนตรี ประเทศไทย ระบุ ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์
งานดนตรี จินตนาการสร้างสรรค์ ถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง ฝึ กปฏิบติ อ่าน เขียน ร้อง โน้ตไทย
                                                                                  ั
อัตราจังหวะสองชั้นและโน้ตสากลที่มีเครื่ องหมายแปลงเสี ยง ร้องเพลงเล่นดนตรี ท้ งเดี่ยวและเป็ นวง เพื่อให้
                                                                                      ั
มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ
สากล
                   ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการแสดง แสง สี เสี ยง ฉาก เครื่ องแต่งกาย อุปกรณ์การจัดการแสดง
หลักและวิธีการสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์ และการละคร หลักการวิเคราะห์การ
แสดง วิธีวเิ คราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ การละคร และราวงมาตรฐานโดยใช้ความรู้พฒนาการงาน    ั
ทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่นแต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรม และสามารถ
เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมต่างๆ การศึกษาค้นคว้าวัฒนธรรม ทางดนตรี ที่มี
ความแตกต่างกันประวัติศาสตร์ ทางดนตรี ที่มีอีทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ตามจินตนาการ ฝึ กปฏิบติ           ั
ทักษะทางดนตรี ให้ถูกต้องตามหลักสากล ฝึ กและปฏิบติเกี่ยวกับการจัดการแสดงละครตามหลักการและวิธี
                                                       ั
สร้างสรรค์การแสดง การวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ การละคร และราวงมาตรฐาน ตามหลักการ
วิจารณ์การแสดง
                   มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต เห็นคุณค่าของ
                                                                                ั       ิ
ประวัติศาสตร์ทางดนตรี บทบาทและการบรรเลงดนตรี ที่มีคุณค่าซึ่ งสมควรแก่การอนุรักษ์ไว้เพื่อให้
คนรุ่ นหลังได้ศึกษาต่อไป เกิดทักษะการปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์เกิด
                                             ั
สุ นทรี ยภาพ เห็นคุณค่า ความสาคัญและความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ หรื อการละครกับกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู้อื่น ๆ
178


รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม2/1, ม2/2 , ม2/3
ศ 1.2 ม2/1
ศ 2.1 ม2/1, ม2/2
ศ 2.2 ม2/1
ศ 3.1 ม2/1, ม2/2
ศ 3.2 ม2/1, ม2/2
รวมทั้งหมด 11 ตัวชี้วดั
179


                                           คาอธิบายรายวิชา
 ศ22101 ศิลปะ 4                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………

                  ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานศิลปะ โดยใช้ความรู ้เรื่ องทัศนธาตุและหลักการออกแบบเบื้องต้น
                                   ั
เทคนิค วิธีการ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์
                                                ั
ของตนเองให้มีคุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ในการสร้าง
                             ั                              ั
งานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติและสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมายเป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ
ประโยชน์ใช้สอย ศึกษาเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ในแต่ละยุคสมัยของ
วัฒนธรรมไทยและสากลนาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและในชีวิตประจาวันได้
ฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ ระดับท้องถิ่นตนเอง ระดับชาติ เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาคต่างๆ ใน
              ั
ประเทศไทย เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทย
และสากล
                  ศึกษาเปรี ยบเทียบองค์ประกอบของดนตรี บรรยายอารมณ์ ความรู้สึกในบทเพลง บทบาท
และอิทธิพลของดนตรี ไทย และตะวันตก อิทธิ พลของวัฒนธรรมเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรู ปแบบ
ของดนตรี ประเทศไทยกับ ตะวันตก ระบุ ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์ จินตนาการความคิด
สร้างสรรค์ ถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง และอาชีพทางดนตรี และบทบาทของดนตรี ในธุ รกิจ
บันเทิง โดยการฝึ กปฏิบติที่ถูกต้องตามทักษะทางดนตรี ความแม่นยาในการบรรเลง อ่านเครื่ องหมาย
                        ั
สัญลักษณ์ทางดนตรี การเขียน ร้อง และการควบคุมคุณภาพในการร้องการบรรเลงดนตรี
                  ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ที่มา ลักษณะเฉพาะ วัฒนธรรมของนาฏศิลป์ พื้นเมือง และ
รู ปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ หรื อมหรสพที่เคยนิยมในอดีตโดยใช้ความรู้พฒนาการงานทัศนศิลป์ ของ
                                                                              ั
ชาติและท้องถิ่นแต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรม และสามารถเปรี ยบเทียบงาน
ทัศนศิลป์ ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมต่าง ๆ การศึกษาบทบาทและอิทธิพลของดนตรี ไทย และตะวันตก
อิทธิ พลของวัฒนธรรมเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรู ปแบบของดนตรี อีกทั้งการฝึ ก ปฏิบติเครื่ องดนตรี
                                                                                         ั
ให้ถูกต้องตามหลักการทางดนตรี ฝึ กและปฏิบติเกี่ยวกับการจัดการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง การวิจารณ์
                                             ั
การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง และรู ปแบบการแสดงมหรสพที่เคยนิยมในอดีต
                  มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต เห็นคุณค่าทาง
                                                                            ั     ิ
ดนตรี ที่มีการสื บทอดกันมาใน ประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรู ปแบบของดนตรี มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์
180


จินตนาการความแม่นยาในการบรรเลงซึ่ งจะนาไปสู่ อาชีพทางดนตรี ที่อยูในธุ รกิจความบันเทิงในสังคม
                                                                     ่
ปัจจุบน ส่ งเสริ มการอนุรักษ์และสื บสานในศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น มหรสพที่เป็ นมรดกของชาติไทย
      ั
ที่แสดงถึงความเจริ ญรุ่ งเรื อง เกิดความภาคภูมิใจในชาติ และศิลปวัฒนธรรมไทย

รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม2/4, ม2/5 , ม2/6, ม2/7
ศ 1.2 ม2/2, ม2/3
ศ 2.1 ม2/3, ม2/4, ม2/5 , ม2/6
ศ 2.2 ม2/2
ศ 3.1 ม2/3, ม2/4, ม2/5
ศ 3.2 ม2/3
รวมทั้งหมด 15 ตัวชี้วดั
181


                                          คาอธิบายรายวิชา
ศ22201 ทฤษฎีดนตรีสากล                        กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

        ศึกษาทฤษฎีดนตรี สากลในเรื่ อง ระยะคูเ้ สี ยง บันไดเสี ยง ศัพท์สังคีต และโครงสร้างของทานอง
เพลง ฝึ กเขียนระยะคู่เสี ยง สร้างบันไดเสี ยง และเขียนจังหวะอัตราผสม เพื่อให้มีความเข้าใจ และเห็น
คุณค่าของดนตรี สากล

ผลการเรียนรู้
182


                                     คาอธิบายรายวิชา
ศ22202 ขับร้ องสากล                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2               เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

        ศึกษาแล่งกาเนิดเสี ยงและการหายใจ ฝึ กเปล่งเสี ยง ควบคุมการหายใจ และร้องเพลง ประเภท
ต่าง ๆ เพื่อให้มีความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสามารถขับร้องสากลได้ถูกต้องตามเสี ยงของตัวโน๊ต

ผลการเรียนรู้
183


                                            คาอธิบายรายวิชา
       ศ23101 ศิลปะ5                                                            กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
      ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1                           เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
……………………………………………………………………………………………………………….
                     ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานศิลปะ โดยใช้ความรู้เรื่ องทัศนธาตุและหลักการออกแบบเบื้องต้น
                                         ั
เทนนิค วิธีการ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์
                                                 ั
ของตนเองให้มีคุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้าง
                                     ั                        ั
งานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติและสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมายเป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ
ประโยชน์ใช้สอย ศึกษาเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ในแต่ละยุคสมัยของ
วัฒนธรรมไทยและสากลนาความรู้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและในชีวตประจาวันได้     ิ
ฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ของตนเองให้มี
               ั                           ั
คุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์
             ั                                 ั
โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติ และสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และ
จินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากล
                     ศึกษาเปรี ยบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี และงานศิลปะอื่น ความแตกต่างระหว่าง
งานดนตรี ของตนเองและผูอื่น อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรี
                                   ้
ของตนเองและอภิปรายลักษณะเด่นที่ทาให้ดนตรี ได้รับการยอมรับ บรรยายประวัติ ยุคสมัยดนตรี ไทยและ
สากล ฝึ กปฏิบติเทคนิคการร้องเพลง เล่นดนตรี เดี่ยวและรวมวง ประพันธ์เพลงในอัตราจังหวะ 2/4 และ 4/4
                   ั
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการเรี ยบเรี ยงทานองเพลง การประสานเสี ยง เห็นคุณค่าของเครื่ องดนตรี
ดนตรี ที่ใช้บรรเลง
                     มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต โดยศึกษาค้นคว้า
                                                                                  ั      ิ
เปรี ยบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี และงานศิลปะอื่นเน้นการอภิปราย ลักษณะเด่นที่ทาให้ดนตรี
ได้รับการยอมรับ ฝึ กปฏิบติการประพันธ์เพลงการเล่นดนตรี เดี่ยว และรวมวง ด้วยทักษะทางดนตรี ที่ถูกต้อง
                                 ั
                     ศึกษาเกี่ยวกับรู ปแบบการแสดงหมู่ การแสดงเดี่ยว การแสดงละคร การแสดงเป็ นชุดเป็ น
ตอน องค์ประกอบของบทละคร โครงเรื่ อง ตัวละครและการวางลักษณะนิสยของตัวละครความคิดหรื อแก่น
                                                                                ั
ของเรื่ อง บทสนทนา ความสาคัญและบทบาทของการละครในชีวตประจาวัน       ิ
                     โดยใช้ความรู ้พฒนาการงานทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่นแต่ละยุคสมัย ศึกษาค้นคว้า
                                       ั
เปรี ยบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี และงานศิลปะอื่นเน้นการอภิปราย ลักษณะเด่นที่ทาให้ดนตรี
ได้รับการยอมรับ ฝึ กปฏิบติการประพันธ์เพลงการเล่นดนตรี เดี่ยว และรวมวง ด้วยทักษะทางดนตรี ที่ถูกต้อง
                               ั
ฝึ กและปฏิบติเกี่ยวกับการจัดการแสดงละคร การวางโครงเรื่ อง การเลือกตัวละคร บทสนทนา แสดง
                 ั
184


ความคิดเห็น เปรี ยบเทียบ วิจารณ์ละครกับชีวตจริ งเห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรม และ
                                           ิ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล เห็นคุณค่าขององค์ประกอบทางดนตรี ในการสร้างสรรค์งาน
ดนตรี ของตนเอง ได้รู้ถึงประวัติยคสมัยดนตรี ไทยและสากล มีความเข้าใจในการเรี ยบเรี ยงทานองเพลง
                                ุ
การบรรเลงดนตรี มีอิทธิ พลต่อการดาเนินชี วต เกิดสุ นทรี ยภาพ เห็นคุณค่าความสาคัญของละครกับ
                                         ิ
ชีวตประจาวันและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๆ
   ิ                                         ั

รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3, ม3/4, ม3/5,
ศ 1.2 ม3/1
ศ 2.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3
ศ 2.2 ม3/1
ศ 3.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3
ศ 3.2 ม3/1
รวมทั้งหมด 14 ตัวชี้วด
                     ั
185


                                          คาอธิบายรายวิชา
 ศ23102 ศิลปะ 6                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

                   ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานศิลปะ โดยใช้ความรู ้เรื่ องทัศนธาตุและหลักการออกแบบเบื้องต้น
                                     ั
เทคนิค วิธีการ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์
                                                 ั
ของตนเองให้มีคุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้าง
                              ั                               ั
งานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติและสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมายเป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ
ประโยชน์ใช้สอย ศึกษาเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ในแต่ละยุคสมัยของ
วัฒนธรรมไทยและสากลนาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและในชีวิตประจาวันได้
ฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ของตนเองให้มี
               ั                       ั
คุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์
             ั                                 ั
โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติ และสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และ
จินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากล
                   ศึกษาเกี่ยวกับภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ กับภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์ หลักการ
วิจารณ์ตามองค์ประกอบนาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารา และท่าทางประกอบการแสดง วิธีเลือกการแสดง
ขั้นตอนการแสดง ประโยชน์และคุณค่าของการแสดง การออกแบบสร้างสรรค์อุปกรณ์เครื่ องแต่งกาย เพื่อ
แสดงนาฏศิลป์ ความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์ ในชีวตประจาวัน และการอนุรักษ์นาฏศิลป์
                                                          ิ
                   เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรี ของตนและผูอื่นโดยการเปรี ยบเทียบด้าน
                                                                          ้
รู ปแบบของบทเพลง การเรี ยบเรี ยงเสี ยงประสานและอิทธิ พลของดนตรี ที่มีต่อบุคคล สังคมนาเสนอผลงาน
ทางดนตรี ผลงานทางบทเพลงการคัดเลือกวงดนตรี สถานที่เหมาะสมในการแสดงโดยใช้ความรู้พฒนาการ          ั
งานทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่นแต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรม และภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล การศึกษาและเปรี ยบเทียบสิ่ งที่เป็ นผลงานของตนและเพื่อนค้นคว้า
เกี่ยวกับดนตรี ที่มีอิทธิ พลต่อสังคมส่ วนรวมและการฝึ กปฏิบติทางดนตรี อย่างมีคุณภาพ รู้ถึงรู ปแบบของการ
                                                            ั
ประพันธ์เพลงที่แตกต่างกันรู ้ถึงความสาคัญของดนตรี ที่อยูคู่กบมนุษย์มาอย่างช้านาน รู้วธีการคัดเลือกบท
                                                         ่ ั                         ิ
เพลง และวงดนตรี สถานที่ที่พร้อมในการบรรเลงในแต่ละครั้ง ฝึ กปฏิบติเปรี ยบเทียบภาษาท่าที่มาจาก
                                                                       ั
ธรรมชาติ กับภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์การวิจารณ์ตามองค์ประกอบนาฏศิลป์ เลือกการแสดง
จัดการแสดงตามขั้นตอน ประดิษฐ์ท่ารา และท่าทางประกอบการแสดง ประโยชน์และคุณค่าของการแสดง
186


การออกแบบสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่ องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์ รู้ถึงรู ปแบบของการประพันธ์เพลงที่
แตกต่างกันรู ้ถึงความสาคัญของดนตรี ที่อยูคู่กบมนุษย์มาอย่างช้านาน รู้วธีการคัดเลือกบทเพลง และวงดนตรี
                                         ่ ั                          ิ
สถานที่ที่พร้อมในการบรรเลงในแต่ละครั้ง
                  มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต เกิดทักษะการปฏิบติ
                                                                           ั       ิ              ั
กิจกรรมกลุ่ม การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ เกิดสุ นทรี ยภาพ เห็นคุณค่าความสาคัญและความสัมพันธ์
ระหว่างนาฏศิลป์ หรื อการละครกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๆ

รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม3/6, ม3/7, ม3/8, ม3/9, ม3/10, ม3/11
ศ 1.2 ม3/2
ศ 2.1 ม3/3, ม3/4, ม3/5, ม3/6, ม3/7,
ศ 2.2 ม3/2
ศ 3.1 ม3/4, ม3/5, ม3/6, ม3/7,
ศ 3.2 ม3/2
รวมทั้งหมด 18 ตัวชี้วด
                     ั
187


                                        คาอธิบายรายวิชา
 ศ23101 การออกแบบ1                             กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

        ศึกษาและฝึ กปฏิบติเกี่ยวกับเทคนิควิธี การใช้วสดุอุปกรณ์ การออกแบบลวดลาย รู ปภาพ ตัวอักษร
                        ั                            ั
โครงสร้าง ของวิธีการแกะสติ๊กเกอร์ โดยเน้นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของศิลปะ เพื่อให้มีความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับการแกะสติ๊กเกอร์ สามารถแสดงออกอย่างมันใจและอิสระ
                                                    ่

ผลการเรียนรู้
188


                                        คาอธิบายรายวิชา
 ศ23102 การออกแบบ2                            กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

                ศึกษาหลักการออกแบบงานศิลปะประเภทต่าง ๆ เพื่อให้มีความเข้าใจเห็นคุณค่าและ
สามารถออกแบบสร้างสรรค์งานศิลปะที่เป็ นประโยชน์

ผลการเรียนรู้
189


                                        คาอธิบายรายวิชา
 ศ31101 ศิลปะ1                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

                    ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับหลักการออกแบบเบื้องต้น ศัพท์ทางด้าน
                                    ั
จิตรกรรม วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการสร้างงานจิตรกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเขียน
ภาพการ์ตูน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ
การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากลฝึ กและปฏิบติงาน     ั
ทัศนศิลป์ เกี่ยวกับหลักการออกแบบเบื้องต้น ศัพท์ทางด้านจิตรกรรมวัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการ
สร้างงานจิตรกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเขียนภาพการ์ตูน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทย
และสากล
                    ศึกษาการจัดวงดนตรี การใช้เครื่ องดนตรี ในวงดนตรี ประเภทต่าง ๆ บทเพลงที่บรรเลง
โดยวงดนตรี ประเภทต่าง ๆ ประเภทของวงดนตรี ไทย และประเภทของวงดนตรี สากล รู ปแบบบทเพลงและ
วงดนตรี ไทยแต่ละยุคสมัย รู ปแบบบทเพลงและวงดนตรี สากลแต่ละยุคสมัยศึกษาเกี่ยวกับรู ปแบบของการ
แสดง ระบา รา ฟ้ อน การแสดงพื้นเมือง การละครไทยการละครสากล และการแสดงนาฏศิลป์ ในโอกาส
ต่าง ๆ โดยเปรี ยบเทียบรู ปแบบของบทเพลงแต่ละประเภท เปรี ยบเทียบรู ปแบบของวงดนตรี แต่ละประเภท
จาแนกประเภทรู ปแบบของวงดนตรี ท้ งไทยและสากล จาแนกรู ปแบบของวงดนตรี ท้ งไทยและสากล
                                        ั                                        ั
วิเคราะห์รูปแบบของดนตรี ไทยในยุคสมัยต่าง ๆ วิเคราะห์รูปแบบของดนตรี สากลในยุคสมัยต่าง ๆ
การค้นคว้าข้อมูลและฝึ กทักษะปฏิบติในรู ปแบบของการแสดงนาฏศิลป์ ไทย
                                      ั
                    สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย
เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมในแต่ละ
ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและใน
ชีวตประจาวันได้เหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความมุ่งมัน ขยันมีความซื่อสัตย์
    ิ                                                                        ่
มีค่านิยมที่เหมาะสม รักและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล เห็นคุณค่าของ
การแสดงนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ สากล สามารถนาไปบูรณาการใช้ในชีวตประจาวันและกลุ่มสาระ
                                                                       ิ
การเรี ยนรู้อื่น
190


รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม.4/1, ม.4/2
ศ 1.2 ม.4/1
ศ 2.1 ม.4/1
ศ 2.2 ม.4/1
ศ 3.1 ม.4/1, ม.4/2
ศ 3.2 ม.4/1
รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วด
                    ั
191


                                         คาอธิบายรายวิชา
   ศ31102 ศิลปะ2                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………

                    ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับหลักการออกแบบเบื้องต้น ศัพท์ทางด้าน
                                     ั
จิตรกรรมวัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการสร้างงานจิตรกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน
การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลป์ การวิจารณ์งานศิลปะ
การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทย และสากลฝึ กและ
ปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับหลักการออกแบบเบื้องต้นเบื้องต้น ศัพท์ทางด้านจิตรกรรมวัสดุอุปกรณ์ เทคนิค
       ั
วิธีการในการสร้างงานจิตรกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเสนอ
ผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลป์ การวิจารณ์งานศิลปะการประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทย และสากล
                    ศึกษาปั จจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม ความเชื่อกับการสร้างสรรค์
งานดนตรี ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี วิถีชีวตกับการสร้างสรรค์งานดนตรี เทคโนโลยีกบการ
                                                     ิ                                      ั
สร้างสรรค์งานดนตรี เครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี เครื่ องหมายกาหนดอัตราจังหวะ เครื่ องหมาย
กาหนดบันไดเสี ยง โน้ตบทเพลงไทยอัตราจังหวะต่าง ๆ เพลงไทยอัตราจังหวะ 3 ชั้น เพลงไทยอัตราจังหวะ
2 ชั้น เพลงไทยอัตราจังหวะชั้นเดียว ประวัติสังคีตกวี สังคีตกวีไทย สังคีตกวีสากลศึกษาเกี่ยวกับละคร
สร้างสรรค์ ความเป็ นมา องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ ละครพูด ละครโศกนาฏกรรม ละคร
สุ ขนาฏกรรม ละครแนวเหมือนจริ ง ละครแนวไม่เหมือนจริ ง และบุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ และ
การละครของไทยในยุคสมัยต่าง ๆ
                    โดยอธิ บายความเชื่ อกับการสร้างสรรค์งานดนตรี อธิ บายศาสนากับการสร้างสรรค์งาน
                                                                     ั
ดนตรี อธิ บายวิถีชีวตกับการสร้างสรรค์งานดนตรี อธิ บายเทคโนโลยีกบการสร้างสรรค์งานดนตรี เขียน
                        ิ
เครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี อ่านเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี เครื่ องหมายกาหนดอัตรา
จังหวะ เครื่ องหมายกาหนดบันไดเสี ยง เขียนโน้ตดนตรี ไทยและสากล อ่านโน้ตดนตรี ไทยและสากล
วิเคราะห์สถานะทางสังคมของสังคีตกวีไทย วิเคราะห์สถานะทางสังคมของสังคีตกวีสากล ค้นคว้าข้อมูล
และฝึ กทักษะปฏิบติ ในรู ปแบบของการแสดงละคร
                      ั
                    สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย
เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมในแต่ละ
ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู้อื่นและใน
ชีวตประจาวันได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความมุ่งมันขยัน มีความซื่อสัตย์
    ิ                                                                            ่
192


มีค่านิยมที่เหมาะสม รักและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล เกิดสุ นทรี ยภาพด้าน
นาฏศิลป์ เห็นประโยชน์และคุณค่าของการแสดงละครสามารถนาไปบูรณาการใช้ในชีวตประจาวันและ
                                                                         ิ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น

รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม.4/3, ม.4/4
ศ 1.2 ม.4/1
ศ 2.1 ม.4/2, ม.4/3
ศ 2.2 ม.4/2
ศ 3.1 ม.4/3
ศ 3.2 ม.4/2
รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วด
                    ั
193


                               คาอธิบายรายวิชา
        ศ                                   กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………
194


                                        คาอธิบายรายวิชา
 ศ32101 ศิลปะ3                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………

                    ศึกษาวิธีการปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับการออกแบบประติมากรรม ศัพท์ทางด้าน
                                    ั
ประติมากรรม วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการสร้างงานประติมากรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน
การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ
การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากล การเขียนภาพ
ล้อเลียนสังคมฝึ กและปฏิบติการออกแบบประติมากรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์
                              ั
งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน
การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากล การเขียนภาพล้อเลียนสังคม
                    ศึกษาเทคนิค และการถ่ายทอดอารมณ์เพลงด้วยการร้องเพลง หรื อบรรเลงเครื่ องดนตรี
เดี่ยวและรวมวง การดูแล บารุ งรักษาเครื่ องดนตรี ลักษณะเด่นของเครื่ องดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม ลักษณะ
เด่นของวงดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของภาษา เนื้อร้อง สาเนียง และองค์ประกอบของบทเพลง
ในแต่ละวัฒนธรรมศึกษาเกี่ยวกับการประดิษฐ์ทาราที่เป็ นคู่และหมู่ ความหมาย ประวัติความเป็ นมา ท่าทาง
                                                ่
ที่ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารา เพลงที่ใช้ หลักการสร้างสรรค์และการวิจารณ์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์ และ
ละคร
                    โดยใช้เทคนิคร้องเพลง และถ่ายทอดอารมณ์เพลง เล่นดนตรี เดี่ยวและรวมวง ดูแล
บารุ งรักษาเครื่ องดนตรี การแสดงออกและคุณภาพของการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่าของดนตรี
เปรี ยบเทียบลักษณะเด่นของเครื่ องดนตรี วงดนตรี ภาษา เนื้อร้อง สาเนียงองค์ประกอบบทเพลงใน
วัฒนธรรมต่าง ๆ ค้นคว้าข้อมูลและฝึ กประดิษฐ์ท่าราประกอบเพลง ใช้หลักการสร้างสรรค์ ในรู ปแบบของ
การแสดงนาฏศิลป์ และฝึ กการวิจารณ์นาฏศิลป์ และละคร
                    สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย
เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอยที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมในแต่ละ
ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและใน
ชีวตประจาวันได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความมุ่งมันขยัน มีความซื่อสัตย์
       ิ                                                                         ่
มีค่านิยมที่เหมาะสม รักและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล เกิดสุ นทรี ยภาพด้าน
นาฏศิลป์ เห็นคุณค่าของการแสดงนาฏศิลป์ ภูมิใจในเอกลักษณ์ไทย สามารถนาไปบูรณาการใช้ใน
ชีวตประจาวันและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
     ิ
195


รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม.4/3, ม.4/4
ศ 1.2 ม.4/1
ศ 2.1 ม.4/2, ม.4/3
ศ 2.2 ม.4/2
ศ 3.1 ม.4/3
ศ 3.2 ม.4/2
รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วด
                    ั
196


                               คาอธิบายรายวิชา
        ศ                                   กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………
197


                                       คาอธิบายรายวิชา
 ศ32102 ศิลปะ4                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………..

                    ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับการออกแบบการพิมพ์ภาพ ศัพท์ทางด้าน
                                     ั
การพิมพ์ภาพ วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วีการในการสร้างงานการพิมพ์ภาพ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผงลานศิลปิ น การวิจารณ์งาน
เบื้องต้น การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและ
สากล การเขียนภาพล้อเลียนสังคม
                    ศึกษาและปฏิบติการออกแบบการพิมพ์ภาพ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์
                                   ั
งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน
การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากล การเขียนภาพล้อเลียนสังคม
ศึกษาเกณฑ์ในการประเมินผลงานดนตรี ในด้านคุณภาพของผลงานทางดนตรี และคุณค่าของผลงานทาง
ดนตรี บทบาทดนตรี ในการสะท้อนสังคม ค่านิยมของสังคมในผลงานดนตรี ความเชื่อของสังคมในงาน
ดนตรี
                    ศึกษาเกี่ยวกับการประวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ และการละคร วิวฒนาการของ
                                                                                 ั
นาฏศิลป์ และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบน ความงามและคุณค่าโดยสร้างเกณฑ์สาหรับประเมิน
                                                   ั
คุณภาพการประพันธ์เพลงของตนเองและผูอื่น สร้างเกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพการเล่นดนตรี ของตนเอง
                                              ้
และผูอื่น อธิ บายบทบาทค่านิยมของผลงานดนตรี สังคม อธิบายความเชื่อของผลงานดนตรี ในสังคม ศึกษา
          ้
ค้นคว้าข้อมูลการแสดงนาฏศิลป์ และการละคร การอภิปราย
                    สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย
เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่น
และในชีวตประจาวันได้ได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความ
             ิ
มุ่งมัน ขยัน มีค่านิยมที่เหมาะสม เห็นคุณค่าของการแสดงนาฏศิลป์ ภูมิใจในเอกลักษณ์ไทยด้าน
      ่
นาฏศิลป์ สามารถนาไปบูรณาการใช้ในชีวตประจาวันและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
                                            ิ
198


รหัสตัวชี้วด
           ั
ศ 1.1 ม.5/7
ศ 1.2 ม.5/2
ศ 2.1 ม.5/6
ศ 2.2 ม.5/4
ศ 3.1 ม.5/6
ศ 3.2 ม.5/4
รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วด
                    ั
199


                               คาอธิบายรายวิชา
        ศ                                   กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………
200


                                          คาอธิบายรายวิชา
 ศ33101 ศิลปะ5                                กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต
……………………………………………………………………………………………………………….
                    ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับการออกแบบพาณิ ชย์ศิลป์ ศัพท์ทางด้าน
                                     ั
สถาปัตยกรรม วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ 3 มิติ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน
การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การตกแต่งบ้านและบริ เวณสิ่ งแวดล้อม การจัดนิทรรศการ การวิเคราะห์
ผลงานศิลปิ น การนาเสนอผลงาน การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากลฝึ กปฏิบติการออกแบบพาณิ ชย์ศิลป์ ศัพท์ทางด้านสถาปัตยกรรม
                                              ั
วิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ 3 มิติ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
การตกแต่งบ้านและบริ เวณสิ่ งแวดล้อม การจัดนิทรรศการ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น
การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน
                    ศึกษาการถ่ายทอดความรู ้สึกของงานดนตรี จากแต่ละวัฒนธรรม ศึกษาแนวทางและ
วิธีการในการส่ งเสริ มอนุ รักษ์ดนตรี ไทยศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการจัดการแสดง แสง สี เสี ยง ฉาก อุปกรณ์
สถานที่ เครื่ องแต่งกาย การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยเปรี ยบเทียบอารมณ์และความรู ้สึกที่
ได้รับจากงานดนตรี จากแต่ละวัฒนธรรมนาเสนอแนวทางและวิธีการในการส่ งเสริ มอนุรักษ์ดนตรี ไทย ค้นคว้าข้อมูล
และฝึ กทักษะปฏิบติในรู ปแบบของการจัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทยและการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง
                    ั
                    สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย
เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย ที่สะท้อนคุณค่าทางวัฒนธรรมในแต่ละ
ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและใน
ชีวตประจาวันได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความมุ่งมันขยัน รักและ
    ิ                                                                             ่
ภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล เห็นคุณค่าของการจัดแสดงนาฏศิลป์ ภูมิใจใน
เอกลักษณ์ไทยด้านนาฏศิลป์ สามารถนาไปบูรณาการใช้ในชีวตประจาวันและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
                                                              ิ
รหัสตัวชี้วด ั
ศ 1.1 ม.6/8, ม.6/9
ศ 1.2 ม.6/2
ศ 2.1 ม.6/7
ศ 2.2 ม.6/4
ศ 3.1 ม.6/7
ศ 3.2 ม.6/3 รวมทั้งหมด 7 ตัวชี้วด      ั
201


                               คาอธิบายรายวิชา
        ศ                                   กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต
………………………………………………………………………………………………………………
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
Panomporn Chinchana
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
peter dontoom
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
sasi SAsi
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
Ponpirun Homsuwan
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์พัน พัน
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
Panomporn Chinchana
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
Khunnawang Khunnawang
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์ทัศนศิลป์กับมนุษย์
ทัศนศิลป์กับมนุษย์
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 

Similar to 6. หลักสูตรศิลปะ

1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทยnang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdfแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf
ssuserb40cf91
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7(1).pdf
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7(1).pdfแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7(1).pdf
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7(1).pdf
ssuserb40cf91
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิตnang_phy29
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิตnang_phy29
 
9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะsasiton sangangam
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
Nichakorn Sengsui
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 26 มี.ค.56
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  26 มี.ค.56 3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  26 มี.ค.56
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 26 มี.ค.56 krupornpana55
 

Similar to 6. หลักสูตรศิลปะ (20)

ศิลปะ ต้น
ศิลปะ ต้นศิลปะ ต้น
ศิลปะ ต้น
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
ศิลปะ ปลาย
ศิลปะ ปลายศิลปะ ปลาย
ศิลปะ ปลาย
 
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdfแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7.pdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7(1).pdf
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7(1).pdfแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7(1).pdf
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ที่7(1).pdf
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต2.หลักสูตรคณิต
2.หลักสูตรคณิต
 
9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ9หลักสูตรสาระศิลปะ
9หลักสูตรสาระศิลปะ
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
 
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 26 มี.ค.56
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  26 มี.ค.56 3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  26 มี.ค.56
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 26 มี.ค.56
 
2554
25542554
2554
 

More from nang_phy29

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับnang_phy29
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามnang_phy29
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotnang_phy29
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบ
nang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvnang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53nang_phy29
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรnang_phy29
 

More from nang_phy29 (20)

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swot
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบ
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร
 

6. หลักสูตรศิลปะ

  • 1. 169 โครงสร้ างหลักสู ตร / คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
  • 2. 170 โครงสร้ างรายวิชากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ศิลปะ รายวิชาศิลปะพืนฐานและเพิ่มเติม ้ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ศ21101 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต ศ21102 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต รายวิชาเพิมเติม ่ ศ21201ดนตรี สากล1 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต ศ21202ดนตรี สากล2 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ศ22101 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต ศ22102 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต รายวิชาเพิมเติม ่ ศ22201ทฤษฎีดนตรี สากล 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต ่ ่ ศ22202 ขับร้องสากล 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต ่ ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ศ23101 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต ศ23102 ศิลปะ 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต รายวิชาเพิมเติม ่ ศ23201การออกแบบ1 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน 1.0 หน่วยกิต ่ ่ ศ23201การออกแบบ2 2 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน40 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ศ31101 ศิลปะ 1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 0.5 หน่วยกิต ศ31102 ศิลปะ 1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน 20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ ่ 0.5 หน่วยกิต รายวิชาเพิมเติม ่ ศ31201
  • 3. 171 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ศ32101 ศิลปะ 1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 0.5 หน่วยกิต ศ32102 ศิลปะ 1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 0.5 หน่วยกิต รายวิชาเพิมเติม ่ ศ32201 ศ32202 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ศ33101 ศิลปะ 1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 0.5 หน่วยกิต ศ33102 ศิลปะ 1 ชัวโมง / สัปดาห์/ภาคเรี ยน ่ 20 ชัวโมง/ภาคเรี ยน ่ 0.5 หน่วยกิต รายวิชาเพิมเติม ่ ศ33201 ศ33202
  • 4. 172 คาอธิบายรายวิชา ศ21101 ศิลปะ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่ งแวดล้อม โดยใช้ ความรู้เรื่ องทัศนธาตุ หลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็ นเอกภาพ ความกลมกลืนและความ สมดุล วาดภาพทัศนียภาพ แสดงให้เห็นระยะไกลใกล้เป็ น 3 มิติ รวบรวมงานปั้ นหรื อสื่ อผสม มาสร้างเป็ น เรื่ องราว 3 มิติ โดยเน้นความเป็ นเอกภาพ ความกลมกลืน และการสื่ อถึงเรื่ องราวของงานออกแบบรู ปภาพ สัญลักษณ์ หรื อกราฟิ กอื่นๆ ในการนาเสนอความคิด และข้อมูลประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึง วิธีการปรับปรุ งงานตนเอง และผูอื่นโดยใช้เกณฑ์กาหนดให้ ้ ศึกษาเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี เปรี ยบเทียบเสี ยงร้องและเสี ยงของเครื่ องดนตรี ในบทเพลงจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน การร้อง และการบรรเลงเครื่ องดนตรี ประกอบการร้องจาแนกประเภทวง ดนตรี ไทย วงดนตรี สากล และวงดนตรี พ้นเมืองื ศึกษาวิธีการปฏิบติตนของผูแสดงและผูชม ประวัตินกแสดง การพัฒนารู ปแบบของการ ั ้ ้ ั แสดง อิทธิ พลของนักแสดงที่มีผลต่อพฤติกรรมของผูชม นาฏยศัพท์ ศัพท์การละครในการแสดง ้ ภาษาท่า การตีบท และท่าทางเคลื่อนไหวที่แสดงสื่ อทางอารมณ์โดยใช้ความรู ้ทศนธาตุ ฝึ กและปฏิบติงาน ั ั ทัศนศิลป์ การออกแบบ วาดภาพทัศนียภาพงานปั้ นหรื อสื่ อผสม ออกแบบรู ปภาพสัญลักษณ์ หรื อกราฟิ ก การเขียนภาพการ์ ตูน และประเมินงานทัศนศิลป์ ฝึ กปฏิบติอ่าน เขียนร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล ั เครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี โน้ตเพลงไทยอัตราจังหวะสองชั้น ร้องเพลงและใช้เครื่ องดนตรี บรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรู ปแบบ ร้องและการบรรเลงเครื่ องดนตรี ประกอบการร้องบทเพลงพื้นบ้านเพลงปลุกใจ บทเพลงไทยเดิม นาเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และ อภิปรายลักษณะเด่นที่ทาให้งานนั้นน่าชื่ นชม ฝึ กและปฏิบติเกี่ยวกับภาษาท่า นาฏยศัพท์ และศัพท์การละคร ั ในการแสดงภาษาท่า การตีบท และท่าทางเคลื่อนไหวที่แสดงสื่ อทางอารมณ์ การจัดรู ปแบการแสดงใน โอกาสต่าง ๆ มีความสามารถในการสื่ อสารการคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต โดยใช้ความรู้ทาง ั ิ ทัศนศิลป์ มาประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวันอย่างเหมาะสม มีความรู ้ความเข้าใจพื้นฐานด้านดนตรี ิ สามารถอธิบายเปรี ยบเทียบจาแนกความแตกต่างเรื่ องดนตรี และประเมินผลงานคุณภาพด้านดนตรี ได้ดวยความชื่นชมและเห็นคุณค่า เกิดทักษะ เกิดสุ นทรี ยภาพ พัฒนาบุคลิกภาพ เห็นคุณค่า ้ ความสาคัญของการนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบติตนในชี วตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ั ิ
  • 5. 173 รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม1/1 , ม1/2 ,ม1/3 ศ 1.2 ม1/1 , ม1/2 ศ 2.1 ม1/1 , ม1/2 , ม1/3, 1/4 ศ 2.2 ม1/1 ศ 3.1 ม1/1 , ม1/2 ศ 3.2 ม1/1 รวมทั้งหมด 13 ตัวชี้วดั
  • 6. 174 คาอธิบายรายวิชา ศ21102 ศิลปะ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………. ศึกษารู ปแบบงานทัศนศิลป์ ของชาติ และของท้องถิ่นตนเอง จากอดีตจนถึงปัจจุบนและ ั เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย เปรี ยบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการ สร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากลฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ ระดับท้องถิ่นตนเอง ั ระดับชาติ เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ของ จุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากลแสดงความคิดเห็นถ่ายทอดอารมณ์ ของบทเพลงเปรี ยบเทียบอารมณ์ความรู้สึก การฟังดนตรี แต่ละประเภท และประเมินคุณภาพของบทเพลง นาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบและสนใจ ใช้และบารุ งรักษาเครื่ องดนตรี อย่างละมัดระวัง อธิบายบทบาท ความสัมพันธ์และอิทธิ พลของดนตรี ที่มีต่อสังคมไทย ศึกษาหลักในการชมการแสดง นาฏศิลป์ พื้นบ้าน นาฏศิลป์ นานาชาติ ประเภทของละคร ไทย และละครพื้นบ้าน ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ บทบาท และหน้าของฝ่ ายต่าง ๆ ใน การจัดการแสดงโดยใช้ความรู้ทางทัศนศิลป์ มาประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวันอย่างเหมาะสม การศึกษา ิ ค้นคว้าข้อมูลและฝึ กทักษะการฟังดนตรี บทเพลงถ่ายทอดอารมณ์ออกมาตามจินตนาการ ฝึ กและปฏิบติ ั เกี่ยวกับการจัดการแสดงนาฏศิลป์ พื้นบ้าน นาฏศิลป์ นานาชาติ ละครไทย และ/หรื อละครพื้นบ้าน มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต เห็นความสาคัญ ั ิ ของการฟังเพลง ฟังดนตรี สามารถนาบทเพลงที่มีคุณค่าถ่ายทอดให้ผที่สนใจได้ศึกษานามาใช้ใน ู้ ชีวตประจาวัน และรู ้จกใช้เครื่ องดนตรี อย่างระมัดระวังรู ้ในคุณค่าทางดนตรี ที่เกี่ยวข้องกับสังคม ิ ั ปัจจุบน ส่ งเสริ มการอนุรักษ์และสื บสานในศิลปวัฒนธรรมอันเป็ นเอกลักษณ์ของชาติ เห็นคุณค่า ั ความสาคัญของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกของชาติไทยไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบติตนในชี วตประจาวันได้ ั ิ อย่างเหมาะสม และสามารถเปรี ยบเทียบการแสดงนาฏศิลป์ ในแต่ละวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม1/4 , ม1/5 ,ม1/6 ศ 1.2 ม1/3 ศ 2.1 ม1/5 ,ม1/6, ม1/7 ,ม1/8 ศ 2.2 ม1/2 ศ 3.1 ม1/3 , ม1/4 ,ม1/5 ศ 3.2 ม1/2 รวมทั้งหมด 13 ตัวชี้วด ั
  • 7. 175 คาอธิบายรายวิชา ศ21201 ดนตรีสากล1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาดนตรี สากลเบื้องต้น โน้ตสากล ศัพท์สังคีต ฝึ กประสาท ฝึ กปฏิบติการอ่านโน้ต ั เครื่ องดนตรี สากลโดยบรรเลงเดียวและกลุ่ม และจัดการแสดงเป็ นครั่งคราวให้พร้อมกับการดูแลรักษาเครื่ อง ดนตรี เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการบรรเลงประพันธ์เพลงได้ตามอารมณ์และแรงบัดดาลใจ ตามจังหวะ ทานองความรู้สึกเพื่อที่ใจใช้ในการประกอบอาชีพทางดนตรี ผลการเรียนรู้
  • 8. 176 คาอธิบายรายวิชา ศ21202 ดนตรีสากล2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาความรู ้ทวไปเกี่ยวกับดนตรี สากล วงดนตรี เครื่ องดนตรี หลักการขับร้องเบื้องต้นฝึ ก ั่ ขับร้องเพลงไทยสากลและเพลงสากล เพื่อการให้สามารถขับร้องได้อย่างถูกต้องไพเราะ ถูกทานอง จังหวะ และบันเทิงอารมณ์ และสามารถเล่นเครื่ องดนตรี ได้ หนึ่งอย่างตามที่ตนถนัด ผลการเรียนรู้
  • 9. 177 คาอธิบายรายวิชา ศ22101 ศิลปะ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับทัศนธาตุ ในด้านรู ปแบบ แนวคิดของงาน ั ทัศนศิลป์ ความเหมือน ความแตกต่างของรู ปแบบ การใช้วสดุอุปกรณ์ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ด้วยวิธีการ ั และเทคนิคที่หลากหลาย สามารถถ่ายทอด ความหมาย แนวคิด เรื่ องราว ตามวุฒิภาวะด้วยความรับผิดชอบ ชื่นชม และเห็นคุณค่าฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ ระดับท้องถิ่นตนเอง ระดับชาติ การเขียนภาพการ์ตูน ั เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ของจุดประสงค์ในการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากล ่ ศึกษาเปรี ยบเทียบองค์ประกอบของดนตรี จากวัฒนธรรมที่ตางกัน บรรยายอารมณ์และ ความรู ้สึกในบทเพลงบทบาทและอิทธิ พลของดนตรี ในวัฒนธรรมประเทศต่าง ๆ อิทธิพลของวัฒนธรรม เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรู ปแบบของดนตรี ประเทศไทย ระบุ ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์ งานดนตรี จินตนาการสร้างสรรค์ ถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง ฝึ กปฏิบติ อ่าน เขียน ร้อง โน้ตไทย ั อัตราจังหวะสองชั้นและโน้ตสากลที่มีเครื่ องหมายแปลงเสี ยง ร้องเพลงเล่นดนตรี ท้ งเดี่ยวและเป็ นวง เพื่อให้ ั มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากล ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการแสดง แสง สี เสี ยง ฉาก เครื่ องแต่งกาย อุปกรณ์การจัดการแสดง หลักและวิธีการสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์ และการละคร หลักการวิเคราะห์การ แสดง วิธีวเิ คราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ การละคร และราวงมาตรฐานโดยใช้ความรู้พฒนาการงาน ั ทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่นแต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรม และสามารถ เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมต่างๆ การศึกษาค้นคว้าวัฒนธรรม ทางดนตรี ที่มี ความแตกต่างกันประวัติศาสตร์ ทางดนตรี ที่มีอีทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ตามจินตนาการ ฝึ กปฏิบติ ั ทักษะทางดนตรี ให้ถูกต้องตามหลักสากล ฝึ กและปฏิบติเกี่ยวกับการจัดการแสดงละครตามหลักการและวิธี ั สร้างสรรค์การแสดง การวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ การละคร และราวงมาตรฐาน ตามหลักการ วิจารณ์การแสดง มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต เห็นคุณค่าของ ั ิ ประวัติศาสตร์ทางดนตรี บทบาทและการบรรเลงดนตรี ที่มีคุณค่าซึ่ งสมควรแก่การอนุรักษ์ไว้เพื่อให้ คนรุ่ นหลังได้ศึกษาต่อไป เกิดทักษะการปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์เกิด ั สุ นทรี ยภาพ เห็นคุณค่า ความสาคัญและความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ หรื อการละครกับกลุ่มสาระ การเรี ยนรู้อื่น ๆ
  • 10. 178 รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม2/1, ม2/2 , ม2/3 ศ 1.2 ม2/1 ศ 2.1 ม2/1, ม2/2 ศ 2.2 ม2/1 ศ 3.1 ม2/1, ม2/2 ศ 3.2 ม2/1, ม2/2 รวมทั้งหมด 11 ตัวชี้วดั
  • 11. 179 คาอธิบายรายวิชา ศ22101 ศิลปะ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานศิลปะ โดยใช้ความรู ้เรื่ องทัศนธาตุและหลักการออกแบบเบื้องต้น ั เทคนิค วิธีการ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ั ของตนเองให้มีคุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ในการสร้าง ั ั งานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติและสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมายเป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ ประโยชน์ใช้สอย ศึกษาเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ในแต่ละยุคสมัยของ วัฒนธรรมไทยและสากลนาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและในชีวิตประจาวันได้ ฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ ระดับท้องถิ่นตนเอง ระดับชาติ เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ของภาคต่างๆ ใน ั ประเทศไทย เปรี ยบเทียบความแตกต่าง ของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทย และสากล ศึกษาเปรี ยบเทียบองค์ประกอบของดนตรี บรรยายอารมณ์ ความรู้สึกในบทเพลง บทบาท และอิทธิพลของดนตรี ไทย และตะวันตก อิทธิ พลของวัฒนธรรมเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรู ปแบบ ของดนตรี ประเทศไทยกับ ตะวันตก ระบุ ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์ จินตนาการความคิด สร้างสรรค์ ถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง และอาชีพทางดนตรี และบทบาทของดนตรี ในธุ รกิจ บันเทิง โดยการฝึ กปฏิบติที่ถูกต้องตามทักษะทางดนตรี ความแม่นยาในการบรรเลง อ่านเครื่ องหมาย ั สัญลักษณ์ทางดนตรี การเขียน ร้อง และการควบคุมคุณภาพในการร้องการบรรเลงดนตรี ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ที่มา ลักษณะเฉพาะ วัฒนธรรมของนาฏศิลป์ พื้นเมือง และ รู ปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ หรื อมหรสพที่เคยนิยมในอดีตโดยใช้ความรู้พฒนาการงานทัศนศิลป์ ของ ั ชาติและท้องถิ่นแต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรม และสามารถเปรี ยบเทียบงาน ทัศนศิลป์ ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมต่าง ๆ การศึกษาบทบาทและอิทธิพลของดนตรี ไทย และตะวันตก อิทธิ พลของวัฒนธรรมเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรู ปแบบของดนตรี อีกทั้งการฝึ ก ปฏิบติเครื่ องดนตรี ั ให้ถูกต้องตามหลักการทางดนตรี ฝึ กและปฏิบติเกี่ยวกับการจัดการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง การวิจารณ์ ั การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง และรู ปแบบการแสดงมหรสพที่เคยนิยมในอดีต มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต เห็นคุณค่าทาง ั ิ ดนตรี ที่มีการสื บทอดกันมาใน ประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรู ปแบบของดนตรี มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์
  • 12. 180 จินตนาการความแม่นยาในการบรรเลงซึ่ งจะนาไปสู่ อาชีพทางดนตรี ที่อยูในธุ รกิจความบันเทิงในสังคม ่ ปัจจุบน ส่ งเสริ มการอนุรักษ์และสื บสานในศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น มหรสพที่เป็ นมรดกของชาติไทย ั ที่แสดงถึงความเจริ ญรุ่ งเรื อง เกิดความภาคภูมิใจในชาติ และศิลปวัฒนธรรมไทย รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม2/4, ม2/5 , ม2/6, ม2/7 ศ 1.2 ม2/2, ม2/3 ศ 2.1 ม2/3, ม2/4, ม2/5 , ม2/6 ศ 2.2 ม2/2 ศ 3.1 ม2/3, ม2/4, ม2/5 ศ 3.2 ม2/3 รวมทั้งหมด 15 ตัวชี้วดั
  • 13. 181 คาอธิบายรายวิชา ศ22201 ทฤษฎีดนตรีสากล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาทฤษฎีดนตรี สากลในเรื่ อง ระยะคูเ้ สี ยง บันไดเสี ยง ศัพท์สังคีต และโครงสร้างของทานอง เพลง ฝึ กเขียนระยะคู่เสี ยง สร้างบันไดเสี ยง และเขียนจังหวะอัตราผสม เพื่อให้มีความเข้าใจ และเห็น คุณค่าของดนตรี สากล ผลการเรียนรู้
  • 14. 182 คาอธิบายรายวิชา ศ22202 ขับร้ องสากล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาแล่งกาเนิดเสี ยงและการหายใจ ฝึ กเปล่งเสี ยง ควบคุมการหายใจ และร้องเพลง ประเภท ต่าง ๆ เพื่อให้มีความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสามารถขับร้องสากลได้ถูกต้องตามเสี ยงของตัวโน๊ต ผลการเรียนรู้
  • 15. 183 คาอธิบายรายวิชา ศ23101 ศิลปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………. ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานศิลปะ โดยใช้ความรู้เรื่ องทัศนธาตุและหลักการออกแบบเบื้องต้น ั เทนนิค วิธีการ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ั ของตนเองให้มีคุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้าง ั ั งานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติและสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมายเป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ ประโยชน์ใช้สอย ศึกษาเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ในแต่ละยุคสมัยของ วัฒนธรรมไทยและสากลนาความรู้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและในชีวตประจาวันได้ ิ ฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ของตนเองให้มี ั ั คุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ั ั โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติ และสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และ จินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากล ศึกษาเปรี ยบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี และงานศิลปะอื่น ความแตกต่างระหว่าง งานดนตรี ของตนเองและผูอื่น อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรี ้ ของตนเองและอภิปรายลักษณะเด่นที่ทาให้ดนตรี ได้รับการยอมรับ บรรยายประวัติ ยุคสมัยดนตรี ไทยและ สากล ฝึ กปฏิบติเทคนิคการร้องเพลง เล่นดนตรี เดี่ยวและรวมวง ประพันธ์เพลงในอัตราจังหวะ 2/4 และ 4/4 ั เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการเรี ยบเรี ยงทานองเพลง การประสานเสี ยง เห็นคุณค่าของเครื่ องดนตรี ดนตรี ที่ใช้บรรเลง มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต โดยศึกษาค้นคว้า ั ิ เปรี ยบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี และงานศิลปะอื่นเน้นการอภิปราย ลักษณะเด่นที่ทาให้ดนตรี ได้รับการยอมรับ ฝึ กปฏิบติการประพันธ์เพลงการเล่นดนตรี เดี่ยว และรวมวง ด้วยทักษะทางดนตรี ที่ถูกต้อง ั ศึกษาเกี่ยวกับรู ปแบบการแสดงหมู่ การแสดงเดี่ยว การแสดงละคร การแสดงเป็ นชุดเป็ น ตอน องค์ประกอบของบทละคร โครงเรื่ อง ตัวละครและการวางลักษณะนิสยของตัวละครความคิดหรื อแก่น ั ของเรื่ อง บทสนทนา ความสาคัญและบทบาทของการละครในชีวตประจาวัน ิ โดยใช้ความรู ้พฒนาการงานทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่นแต่ละยุคสมัย ศึกษาค้นคว้า ั เปรี ยบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี และงานศิลปะอื่นเน้นการอภิปราย ลักษณะเด่นที่ทาให้ดนตรี ได้รับการยอมรับ ฝึ กปฏิบติการประพันธ์เพลงการเล่นดนตรี เดี่ยว และรวมวง ด้วยทักษะทางดนตรี ที่ถูกต้อง ั ฝึ กและปฏิบติเกี่ยวกับการจัดการแสดงละคร การวางโครงเรื่ อง การเลือกตัวละคร บทสนทนา แสดง ั
  • 16. 184 ความคิดเห็น เปรี ยบเทียบ วิจารณ์ละครกับชีวตจริ งเห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรม และ ิ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล เห็นคุณค่าขององค์ประกอบทางดนตรี ในการสร้างสรรค์งาน ดนตรี ของตนเอง ได้รู้ถึงประวัติยคสมัยดนตรี ไทยและสากล มีความเข้าใจในการเรี ยบเรี ยงทานองเพลง ุ การบรรเลงดนตรี มีอิทธิ พลต่อการดาเนินชี วต เกิดสุ นทรี ยภาพ เห็นคุณค่าความสาคัญของละครกับ ิ ชีวตประจาวันและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๆ ิ ั รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3, ม3/4, ม3/5, ศ 1.2 ม3/1 ศ 2.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3 ศ 2.2 ม3/1 ศ 3.1 ม3/1, ม3/2, ม3/3 ศ 3.2 ม3/1 รวมทั้งหมด 14 ตัวชี้วด ั
  • 17. 185 คาอธิบายรายวิชา ศ23102 ศิลปะ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานศิลปะ โดยใช้ความรู ้เรื่ องทัศนธาตุและหลักการออกแบบเบื้องต้น ั เทคนิค วิธีการ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ั ของตนเองให้มีคุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้าง ั ั งานทัศนศิลป์ โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติและสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมายเป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ ประโยชน์ใช้สอย ศึกษาเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ในแต่ละยุคสมัยของ วัฒนธรรมไทยและสากลนาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและในชีวิตประจาวันได้ ฝึ กและปฏิบติงานทัศนศิลป์ วิธีใช้ทศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ ของตนเองให้มี ั ั คุณภาพ มีทกษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทกษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ั ั โดยใช้หลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ ทั้งสองมิติ และสามมิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และ จินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ของวัฒนธรรมไทยและสากล ศึกษาเกี่ยวกับภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ กับภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์ หลักการ วิจารณ์ตามองค์ประกอบนาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารา และท่าทางประกอบการแสดง วิธีเลือกการแสดง ขั้นตอนการแสดง ประโยชน์และคุณค่าของการแสดง การออกแบบสร้างสรรค์อุปกรณ์เครื่ องแต่งกาย เพื่อ แสดงนาฏศิลป์ ความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์ ในชีวตประจาวัน และการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ิ เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรี ของตนและผูอื่นโดยการเปรี ยบเทียบด้าน ้ รู ปแบบของบทเพลง การเรี ยบเรี ยงเสี ยงประสานและอิทธิ พลของดนตรี ที่มีต่อบุคคล สังคมนาเสนอผลงาน ทางดนตรี ผลงานทางบทเพลงการคัดเลือกวงดนตรี สถานที่เหมาะสมในการแสดงโดยใช้ความรู้พฒนาการ ั งานทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่นแต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล การศึกษาและเปรี ยบเทียบสิ่ งที่เป็ นผลงานของตนและเพื่อนค้นคว้า เกี่ยวกับดนตรี ที่มีอิทธิ พลต่อสังคมส่ วนรวมและการฝึ กปฏิบติทางดนตรี อย่างมีคุณภาพ รู้ถึงรู ปแบบของการ ั ประพันธ์เพลงที่แตกต่างกันรู ้ถึงความสาคัญของดนตรี ที่อยูคู่กบมนุษย์มาอย่างช้านาน รู้วธีการคัดเลือกบท ่ ั ิ เพลง และวงดนตรี สถานที่ที่พร้อมในการบรรเลงในแต่ละครั้ง ฝึ กปฏิบติเปรี ยบเทียบภาษาท่าที่มาจาก ั ธรรมชาติ กับภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์การวิจารณ์ตามองค์ประกอบนาฏศิลป์ เลือกการแสดง จัดการแสดงตามขั้นตอน ประดิษฐ์ท่ารา และท่าทางประกอบการแสดง ประโยชน์และคุณค่าของการแสดง
  • 18. 186 การออกแบบสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่ องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์ รู้ถึงรู ปแบบของการประพันธ์เพลงที่ แตกต่างกันรู ้ถึงความสาคัญของดนตรี ที่อยูคู่กบมนุษย์มาอย่างช้านาน รู้วธีการคัดเลือกบทเพลง และวงดนตรี ่ ั ิ สถานที่ที่พร้อมในการบรรเลงในแต่ละครั้ง มีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวต เกิดทักษะการปฏิบติ ั ิ ั กิจกรรมกลุ่ม การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ เกิดสุ นทรี ยภาพ เห็นคุณค่าความสาคัญและความสัมพันธ์ ระหว่างนาฏศิลป์ หรื อการละครกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ๆ รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม3/6, ม3/7, ม3/8, ม3/9, ม3/10, ม3/11 ศ 1.2 ม3/2 ศ 2.1 ม3/3, ม3/4, ม3/5, ม3/6, ม3/7, ศ 2.2 ม3/2 ศ 3.1 ม3/4, ม3/5, ม3/6, ม3/7, ศ 3.2 ม3/2 รวมทั้งหมด 18 ตัวชี้วด ั
  • 19. 187 คาอธิบายรายวิชา ศ23101 การออกแบบ1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาและฝึ กปฏิบติเกี่ยวกับเทคนิควิธี การใช้วสดุอุปกรณ์ การออกแบบลวดลาย รู ปภาพ ตัวอักษร ั ั โครงสร้าง ของวิธีการแกะสติ๊กเกอร์ โดยเน้นการแสดงออกถึงเอกลักษณ์ของศิลปะ เพื่อให้มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการแกะสติ๊กเกอร์ สามารถแสดงออกอย่างมันใจและอิสระ ่ ผลการเรียนรู้
  • 20. 188 คาอธิบายรายวิชา ศ23102 การออกแบบ2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาหลักการออกแบบงานศิลปะประเภทต่าง ๆ เพื่อให้มีความเข้าใจเห็นคุณค่าและ สามารถออกแบบสร้างสรรค์งานศิลปะที่เป็ นประโยชน์ ผลการเรียนรู้
  • 21. 189 คาอธิบายรายวิชา ศ31101 ศิลปะ1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับหลักการออกแบบเบื้องต้น ศัพท์ทางด้าน ั จิตรกรรม วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการสร้างงานจิตรกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเขียน ภาพการ์ตูน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากลฝึ กและปฏิบติงาน ั ทัศนศิลป์ เกี่ยวกับหลักการออกแบบเบื้องต้น ศัพท์ทางด้านจิตรกรรมวัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการ สร้างงานจิตรกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเขียนภาพการ์ตูน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทย และสากล ศึกษาการจัดวงดนตรี การใช้เครื่ องดนตรี ในวงดนตรี ประเภทต่าง ๆ บทเพลงที่บรรเลง โดยวงดนตรี ประเภทต่าง ๆ ประเภทของวงดนตรี ไทย และประเภทของวงดนตรี สากล รู ปแบบบทเพลงและ วงดนตรี ไทยแต่ละยุคสมัย รู ปแบบบทเพลงและวงดนตรี สากลแต่ละยุคสมัยศึกษาเกี่ยวกับรู ปแบบของการ แสดง ระบา รา ฟ้ อน การแสดงพื้นเมือง การละครไทยการละครสากล และการแสดงนาฏศิลป์ ในโอกาส ต่าง ๆ โดยเปรี ยบเทียบรู ปแบบของบทเพลงแต่ละประเภท เปรี ยบเทียบรู ปแบบของวงดนตรี แต่ละประเภท จาแนกประเภทรู ปแบบของวงดนตรี ท้ งไทยและสากล จาแนกรู ปแบบของวงดนตรี ท้ งไทยและสากล ั ั วิเคราะห์รูปแบบของดนตรี ไทยในยุคสมัยต่าง ๆ วิเคราะห์รูปแบบของดนตรี สากลในยุคสมัยต่าง ๆ การค้นคว้าข้อมูลและฝึ กทักษะปฏิบติในรู ปแบบของการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ั สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมในแต่ละ ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและใน ชีวตประจาวันได้เหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความมุ่งมัน ขยันมีความซื่อสัตย์ ิ ่ มีค่านิยมที่เหมาะสม รักและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล เห็นคุณค่าของ การแสดงนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ สากล สามารถนาไปบูรณาการใช้ในชีวตประจาวันและกลุ่มสาระ ิ การเรี ยนรู้อื่น
  • 22. 190 รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม.4/1, ม.4/2 ศ 1.2 ม.4/1 ศ 2.1 ม.4/1 ศ 2.2 ม.4/1 ศ 3.1 ม.4/1, ม.4/2 ศ 3.2 ม.4/1 รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วด ั
  • 23. 191 คาอธิบายรายวิชา ศ31102 ศิลปะ2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับหลักการออกแบบเบื้องต้น ศัพท์ทางด้าน ั จิตรกรรมวัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการสร้างงานจิตรกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลป์ การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทย และสากลฝึ กและ ปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับหลักการออกแบบเบื้องต้นเบื้องต้น ศัพท์ทางด้านจิตรกรรมวัสดุอุปกรณ์ เทคนิค ั วิธีการในการสร้างงานจิตรกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเสนอ ผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลป์ การวิจารณ์งานศิลปะการประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทย และสากล ศึกษาปั จจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม ความเชื่อกับการสร้างสรรค์ งานดนตรี ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี วิถีชีวตกับการสร้างสรรค์งานดนตรี เทคโนโลยีกบการ ิ ั สร้างสรรค์งานดนตรี เครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี เครื่ องหมายกาหนดอัตราจังหวะ เครื่ องหมาย กาหนดบันไดเสี ยง โน้ตบทเพลงไทยอัตราจังหวะต่าง ๆ เพลงไทยอัตราจังหวะ 3 ชั้น เพลงไทยอัตราจังหวะ 2 ชั้น เพลงไทยอัตราจังหวะชั้นเดียว ประวัติสังคีตกวี สังคีตกวีไทย สังคีตกวีสากลศึกษาเกี่ยวกับละคร สร้างสรรค์ ความเป็ นมา องค์ประกอบของละครสร้างสรรค์ ละครพูด ละครโศกนาฏกรรม ละคร สุ ขนาฏกรรม ละครแนวเหมือนจริ ง ละครแนวไม่เหมือนจริ ง และบุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์ และ การละครของไทยในยุคสมัยต่าง ๆ โดยอธิ บายความเชื่ อกับการสร้างสรรค์งานดนตรี อธิ บายศาสนากับการสร้างสรรค์งาน ั ดนตรี อธิ บายวิถีชีวตกับการสร้างสรรค์งานดนตรี อธิ บายเทคโนโลยีกบการสร้างสรรค์งานดนตรี เขียน ิ เครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี อ่านเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี เครื่ องหมายกาหนดอัตรา จังหวะ เครื่ องหมายกาหนดบันไดเสี ยง เขียนโน้ตดนตรี ไทยและสากล อ่านโน้ตดนตรี ไทยและสากล วิเคราะห์สถานะทางสังคมของสังคีตกวีไทย วิเคราะห์สถานะทางสังคมของสังคีตกวีสากล ค้นคว้าข้อมูล และฝึ กทักษะปฏิบติ ในรู ปแบบของการแสดงละคร ั สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมในแต่ละ ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู้อื่นและใน ชีวตประจาวันได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความมุ่งมันขยัน มีความซื่อสัตย์ ิ ่
  • 24. 192 มีค่านิยมที่เหมาะสม รักและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล เกิดสุ นทรี ยภาพด้าน นาฏศิลป์ เห็นประโยชน์และคุณค่าของการแสดงละครสามารถนาไปบูรณาการใช้ในชีวตประจาวันและ ิ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม.4/3, ม.4/4 ศ 1.2 ม.4/1 ศ 2.1 ม.4/2, ม.4/3 ศ 2.2 ม.4/2 ศ 3.1 ม.4/3 ศ 3.2 ม.4/2 รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วด ั
  • 25. 193 คาอธิบายรายวิชา ศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………
  • 26. 194 คาอธิบายรายวิชา ศ32101 ศิลปะ3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาวิธีการปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับการออกแบบประติมากรรม ศัพท์ทางด้าน ั ประติมากรรม วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการสร้างงานประติมากรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากล การเขียนภาพ ล้อเลียนสังคมฝึ กและปฏิบติการออกแบบประติมากรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ ั งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากล การเขียนภาพล้อเลียนสังคม ศึกษาเทคนิค และการถ่ายทอดอารมณ์เพลงด้วยการร้องเพลง หรื อบรรเลงเครื่ องดนตรี เดี่ยวและรวมวง การดูแล บารุ งรักษาเครื่ องดนตรี ลักษณะเด่นของเครื่ องดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม ลักษณะ เด่นของวงดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของภาษา เนื้อร้อง สาเนียง และองค์ประกอบของบทเพลง ในแต่ละวัฒนธรรมศึกษาเกี่ยวกับการประดิษฐ์ทาราที่เป็ นคู่และหมู่ ความหมาย ประวัติความเป็ นมา ท่าทาง ่ ที่ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารา เพลงที่ใช้ หลักการสร้างสรรค์และการวิจารณ์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์ และ ละคร โดยใช้เทคนิคร้องเพลง และถ่ายทอดอารมณ์เพลง เล่นดนตรี เดี่ยวและรวมวง ดูแล บารุ งรักษาเครื่ องดนตรี การแสดงออกและคุณภาพของการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่าของดนตรี เปรี ยบเทียบลักษณะเด่นของเครื่ องดนตรี วงดนตรี ภาษา เนื้อร้อง สาเนียงองค์ประกอบบทเพลงใน วัฒนธรรมต่าง ๆ ค้นคว้าข้อมูลและฝึ กประดิษฐ์ท่าราประกอบเพลง ใช้หลักการสร้างสรรค์ ในรู ปแบบของ การแสดงนาฏศิลป์ และฝึ กการวิจารณ์นาฏศิลป์ และละคร สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอยที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมในแต่ละ ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและใน ชีวตประจาวันได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความมุ่งมันขยัน มีความซื่อสัตย์ ิ ่ มีค่านิยมที่เหมาะสม รักและภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล เกิดสุ นทรี ยภาพด้าน นาฏศิลป์ เห็นคุณค่าของการแสดงนาฏศิลป์ ภูมิใจในเอกลักษณ์ไทย สามารถนาไปบูรณาการใช้ใน ชีวตประจาวันและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ิ
  • 27. 195 รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม.4/3, ม.4/4 ศ 1.2 ม.4/1 ศ 2.1 ม.4/2, ม.4/3 ศ 2.2 ม.4/2 ศ 3.1 ม.4/3 ศ 3.2 ม.4/2 รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วด ั
  • 28. 196 คาอธิบายรายวิชา ศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………
  • 29. 197 คาอธิบายรายวิชา ศ32102 ศิลปะ4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต ……………………………………………………………………………………………………………….. ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับการออกแบบการพิมพ์ภาพ ศัพท์ทางด้าน ั การพิมพ์ภาพ วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วีการในการสร้างงานการพิมพ์ภาพ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผงลานศิลปิ น การวิจารณ์งาน เบื้องต้น การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและ สากล การเขียนภาพล้อเลียนสังคม ศึกษาและปฏิบติการออกแบบการพิมพ์ภาพ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ ั งานทัศนศิลป์ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากล การเขียนภาพล้อเลียนสังคม ศึกษาเกณฑ์ในการประเมินผลงานดนตรี ในด้านคุณภาพของผลงานทางดนตรี และคุณค่าของผลงานทาง ดนตรี บทบาทดนตรี ในการสะท้อนสังคม ค่านิยมของสังคมในผลงานดนตรี ความเชื่อของสังคมในงาน ดนตรี ศึกษาเกี่ยวกับการประวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ และการละคร วิวฒนาการของ ั นาฏศิลป์ และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบน ความงามและคุณค่าโดยสร้างเกณฑ์สาหรับประเมิน ั คุณภาพการประพันธ์เพลงของตนเองและผูอื่น สร้างเกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพการเล่นดนตรี ของตนเอง ้ และผูอื่น อธิ บายบทบาทค่านิยมของผลงานดนตรี สังคม อธิบายความเชื่อของผลงานดนตรี ในสังคม ศึกษา ้ ค้นคว้าข้อมูลการแสดงนาฏศิลป์ และการละคร การอภิปราย สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่น และในชีวตประจาวันได้ได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความ ิ มุ่งมัน ขยัน มีค่านิยมที่เหมาะสม เห็นคุณค่าของการแสดงนาฏศิลป์ ภูมิใจในเอกลักษณ์ไทยด้าน ่ นาฏศิลป์ สามารถนาไปบูรณาการใช้ในชีวตประจาวันและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ิ
  • 30. 198 รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม.5/7 ศ 1.2 ม.5/2 ศ 2.1 ม.5/6 ศ 2.2 ม.5/4 ศ 3.1 ม.5/6 ศ 3.2 ม.5/4 รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วด ั
  • 31. 199 คาอธิบายรายวิชา ศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………
  • 32. 200 คาอธิบายรายวิชา ศ33101 ศิลปะ5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จานวน 0.5 หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………. ศึกษาและฝึ กปฏิบติงานทัศนศิลป์ เกี่ยวกับการออกแบบพาณิ ชย์ศิลป์ ศัพท์ทางด้าน ั สถาปัตยกรรม วัสดุอุปกรณ์ เทคนิค วิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ 3 มิติ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การตกแต่งบ้านและบริ เวณสิ่ งแวดล้อม การจัดนิทรรศการ การวิเคราะห์ ผลงานศิลปิ น การนาเสนอผลงาน การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน การอนุรักษ์และสร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ จากภูมิปัญญาไทยและสากลฝึ กปฏิบติการออกแบบพาณิ ชย์ศิลป์ ศัพท์ทางด้านสถาปัตยกรรม ั วิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์ 3 มิติ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การตกแต่งบ้านและบริ เวณสิ่ งแวดล้อม การจัดนิทรรศการ การนาเสนอผลงาน การวิเคราะห์ผลงานศิลปิ น การวิจารณ์งานศิลปะ การประเมินผลงาน ศึกษาการถ่ายทอดความรู ้สึกของงานดนตรี จากแต่ละวัฒนธรรม ศึกษาแนวทางและ วิธีการในการส่ งเสริ มอนุ รักษ์ดนตรี ไทยศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการจัดการแสดง แสง สี เสี ยง ฉาก อุปกรณ์ สถานที่ เครื่ องแต่งกาย การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยเปรี ยบเทียบอารมณ์และความรู ้สึกที่ ได้รับจากงานดนตรี จากแต่ละวัฒนธรรมนาเสนอแนวทางและวิธีการในการส่ งเสริ มอนุรักษ์ดนตรี ไทย ค้นคว้าข้อมูล และฝึ กทักษะปฏิบติในรู ปแบบของการจัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทยและการแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง ั สามารถถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ สื่ อความหมาย เป็ นเรื่ องราวได้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประโยชน์ใช้สอย ที่สะท้อนคุณค่าทางวัฒนธรรมในแต่ละ ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล นาความรู ้ศิลปะมาบูรณาการกับสาระการเรี ยนรู ้อื่นและใน ชีวตประจาวันได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความมุ่งมันขยัน รักและ ิ ่ ภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล เห็นคุณค่าของการจัดแสดงนาฏศิลป์ ภูมิใจใน เอกลักษณ์ไทยด้านนาฏศิลป์ สามารถนาไปบูรณาการใช้ในชีวตประจาวันและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น ิ รหัสตัวชี้วด ั ศ 1.1 ม.6/8, ม.6/9 ศ 1.2 ม.6/2 ศ 2.1 ม.6/7 ศ 2.2 ม.6/4 ศ 3.1 ม.6/7 ศ 3.2 ม.6/3 รวมทั้งหมด 7 ตัวชี้วด ั
  • 33. 201 คาอธิบายรายวิชา ศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่ วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………