SlideShare a Scribd company logo
หน้า 1
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต
การเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร
และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ม 6/1 วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของประจุไฟฟ้า ตัวนา ฉนวน และ
การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถทากิจกรรมเพื่อศึกษาชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้า
และชนิดของประจุไฟฟ้าได้
2. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับประจุไฟฟ้าได้
3. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของการเกิดประจุไฟฟ้า และชนิดของ
ประจุไฟฟ้าได้
หน้า 2
แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 2 เรื่อง ประจุไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ตัวการที่ทาให้วัตถุมีอานาจไฟฟ้าเกิดขึ้นคือข้อใด
ก. โปรตอน
ข. นิวเคลียส
ค. อิเล็กตรอน
ง. อานาจไฟฟ้า
2. ข้อใดเป็นลักษณะของการทาให้วัตถุเกิดประจุไฟฟ้าได้
ก. อะตอมขาดจานวนนิวตรอน
ข. อะตอมได้รับอนุภาคนิวตรอน
ค. อะตอมมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน
ง. อะตอมได้รับอิเล็กตรอนอิสระหรือขาดอิเล็กตรอนไป
3. อะตอมที่อยู่ในสถานะเป็นกลางเนื่องจากสาเหตุใด
ก. ขาดอิเล็กตรอน
ข. ได้รับอิเล็กตรอน
ค. มีจานวนนิวตรอนเท่ากับโปรตอน
ง. มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน
หน้า 3
4. วัตถุที่มีอานาจไฟฟ้าเป็นลบหมายถึงข้อใด
ก. วัตถุขาดอิเล็กตรอน
ข. วัตถุมีจานวนนิวตรอน
ค. วัตถุมีจานวนอิเล็กตรอนเกิน
ง. วัตถุที่มีจานวนโปรตอนเกิน
5. ข้อใดเป็นลักษณะของประจุไฟฟ้า
ก. ประกอบด้วยประจุมากกว่าสองชนิด
ข. ประกอบด้วยประจุชนิดเดียวคือประจุลบ
ค. ประกอบด้วยประจุชนิดเดียวคือประจุบวก
ง. ประกอบด้วยประจุสองชนิดคือประจุบวกและประจุลบ
6. แท่งแก้วถูด้วยผ้าแพรแล้วเกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะอะไร
ก. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง
ข. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา
ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล
ง. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน
7. เมื่อนาแท่งแก้วถูกับผ้าไหม จะพบว่าวัตถุทั้งสองกลายเป็นวัตถุที่มีประจุ
การที่วัตถุทั้งสองมีประจุได้เนื่องจากอะไร
ก. การแยกของประจุ
ข. ประจุถูกสร้างขึ้น
ค. การเสียดสี
ง. แรงที่ถู
8. เมื่อนาวัตถุชิ้นหนึ่งถูผ้าแพรแล้วนามาจ่อเศษกระดาษที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
ปรากฏว่าเศษกระดาษถูกดูดแสดงว่า
หน้า 4
ก. วัตถุขาดอิเล็กตรอนไปหรือได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น
ข. วัตถุมีประจุไฟฟ้าบวก
ค. วัตถุมีประจุไฟฟ้าลบ
ง. ข้อมูลไม่เพียงพอ
9. ข้อใดคือคุณสมบัติของประจุไฟฟ้า
1. ประจุลบผลักวัตถุที่เป็นกลาง 2. ประจุบวกดึงดูดประจุลบ
3. ประจุบวกดึงดูดวัตถุที่เป็นกลาง 4. ประจุบวกดึงดูดประจุบวก
ข้อใดถูกต้อง
ก. ข้อ 1 , 2
ข. ข้อ 2 , 3
ค. ข้อ 2 , 4
ง. ข้อ 1 , 2 , 3
10. รถบรรทุกน้ามันมักมีโซ่ห้อยลากดินขณะแล่นเพื่ออะไร
ก. ใช้ฉุดลากรถคันอื่น
ข. รับประจุจากพื้นถนน
ค. ใช้ถ่ายประจุให้พื้นถนน
ง. รับหรือถ่ายเทประจุระหว่างรถกับถนน
ศึกษาใบความรู้ให้ละเอียด
รอบคอบด้วยนะครับนักเรียน
หน้า 5
ใบความรู้
เรื่อง ประจุไฟฟ้า
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) คือ ตัวการที่ทาให้เกิดอานาจไฟฟ้า (แรงดูด)
ทาลิส (Thales) นักปราชญ์ชาวกรีกนาแท่งอาพันมาถูกับผ้าขนสัตว์ แท่งอาพัน
สามารถดูดวัตถุเบาๆ ได้ เช่น ขนนก อานาจที่เกิดขึ้นนี้ได้ถูกเรียกว่า อานาจไฟฟ้า
อานาจไฟฟ้า (Electricity) คือ ความสามารถแสดงแรงดึงดูดต่อวัตถุต่าง ๆ ได้
อานาจทางไฟฟ้าเรียกสั้น ๆ ว่า ไฟฟ้า ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Electricity มาจากคาว่า
Elektron ในภาษากรีก ซึ่งหมายถึงอาพัน
อาพัน (Amber) คือยางสนที่แข็งตัวจนเกือบกลายเป็นหิน มีลักษณะ
คล้ายพลาสติกโปร่งแสง มีสีน้าตาลแกมแดง สามารถขัดให้ขึ้นเงาได้ง่าย นิยมทาเป็น
เครื่องประดับ มีมากในประเทศเยอรมัน และโปแลนด์ เกิดจากต้นสนทับถมกันจมดิน
จมทรายมานานนับพันนับหมื่นปี อาพันมีความแข็ง 6 (เพชรซึ่งแข็งที่สุดมีความแข็ง 10)
สาเหตุที่ทาให้วัตถุเกิดประจุไฟฟ้าอิสระทาได้ 3 วิธี คือ
1. การขัดสีกันของวัตถุที่เหมาะสม 2 ชนิด และประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนผิววัตถุ
คู่หนึ่ง ๆ จะเป็นประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันเสมอ ได้มีการทาบัญชีของวัตถุที่ทาให้เกิดไฟฟ้า
สถิตโดยการขัดสี โดยเรียงตามลาดับการขัดสี ดังนี้
1. ขนสัตว์ 11. แก้วผิวขรุขระ
2. ขนแกะ หรือผ้าสักหลาด 12. ผิวหนัง
3. ไม้ 13. โลหะต่าง ๆ
4. เชลแลค 14. ยางอินเดีย
5. ยางสน 15. อาพัน
6. ครั่ง 16. กามะถัน
หน้า 6
7. แก้วผิวเกลี้ยง
8. ผ้าฝ้าย หรือสาลี
9. กระดาษ
10. ผ้าแพร
17. อิโบไนต์
18. ยาง
19. ผ้าแพร ( Amalgamated )
20. เซลล์ลูลอยด์
การขัดสีกันของวัตถุ 2 ชนิด หลังการขัดสี
- วัตถุหมายเลขน้อย มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก
- วัตถุหมายเลขมาก มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ
2. การเหนี่ยวนา ทาได้โดย นาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าอิสระอยู่แล้วมาทาการ
เหนี่ยวนา ซึ่งทาให้ตัวนาเกิดประจุอิสระด้วยการเหนี่ยวนา สรุปได้ว่า
ก. ประจุไฟฟ้าอิสระที่ตัวนาได้รับจะเป็นประจุไฟฟ้าชนิดตรงกันข้ามกับ
ชนิดของประจุไฟฟ้าบนวัตถุที่ใช้เหนี่ยวนา
ข. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าที่ใช้เป็นตัวเหนี่ยวนาไม่สูญเสียประจุไฟฟ้าไปเลย
3. การสัมผัส โดยการนาวัตถุตัวนาอื่นที่มีประจุไฟฟ้าอิสระอยู่แล้วมาสัมผัส
กับตัวนาที่เราต้องการ จะทาให้เกิดประจุอิสระ การกระทาเช่นนี้เกิดการถ่ายเทประจุ
เท่ากัน ตามทฤษฎีอิเล็กตรอน การถ่ายเทประจุไฟฟ้าเกิดขึ้นเนื่องจากการเคลื่อนที่
ของอิเล็กตรอน การเกิดประจุไฟฟ้าอิสระด้วยการสัมผัส สรุปได้ดังนี้
ก. ประจุไฟฟ้าอิสระที่ตัวนาได้รับจะเป็นประจุชนิดเดียวกันกับชนิดของ
ประจุไฟฟ้าบนตัวนาที่นามาสัมผัสเสมอ
ข. เมื่อสัมผัสกันแล้วตัวนาทั้งสองจะมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
ค. ประจุไฟฟ้ารวมทั้งหมดบนตัวนาทั้งสองภายหลังสัมผัสกันแล้วจะมีจานวน
เท่ากับประจุไฟฟ้าทั้งหมดก่อนสัมผัสกัน
หน้า 7
 ชนิดของประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ
1. ประจุไฟฟ้าบวก ( Positive charge ) คือ วัตถุที่ได้สูญเสียอิเล็กตรอนไป
2. ประจุไฟฟ้าลบ ( Negative charge ) คือ วัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนเพิ่ม
วัตถุที่มีจานวนอิเล็กตรอนและโปรตอนเท่ากันจะไม่แสดงอานาจทางไฟฟ้า เรียกว่า
วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
ทฤษฎีที่ใช้ในปัจจุบัน คือทฤษฎีอิเล็กตรอน กล่าวว่า วัตถุทุกชนิดย่อมประกอบ
อะตอม เป็นจานวนมากมาย และแต่ละอะตอมประกอบอนุภาคมูลฐานหลายชนิด เช่น
อิเล็กตรอน โปรตอน นิวตรอน เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของอะตอม
ปกติอะตอมของธาตุย่อมเป็นกลาง คือ ไม่แสดงอานาจไฟฟ้า อธิบายปรากฏการณ์
ทางไฟฟ้าจะอธิบายโดยใช้การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเป็นหลัก โปรตอนหลุดจากนิวเคลียส
ได้ยาก ส่วนอิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่หลุดออกจากนิวเคลียสได้ง่ายกว่า เมื่ออิเล็กตรอน
ที่หลุดจากอะตอมใดที่เป็นกลาง เข้าสู่อะตอมที่เป็นกลาง อะตอม ที่สูญเสียอิเล็กตรอน
จึงจะแสดงอานาจไฟฟ้าบวก ส่วนอะตอมอื่นที่เป็นกลางเมื่อได้รับอิเล็กตรอนจะแสดง
อานาจไฟฟ้าลบ
 ชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้า
1. แรงระหว่างประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ แรงดูดกับแรงผลัก
2. ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน
3. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าจะดูดวัตถุที่เป็นกลางเสมอ
4. แรงกระทาบนวัตถุ เป็นแรงต่างร่วม คือ เป็นแรงที่กระทาซึ่งกันและกัน
และมีค่าเท่ากันโดยไม่คานึงถึงประจุทั้งสองว่าจะเท่ากันหรือไม่ก็ตาม
หน้า 8
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง ประจุไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. หากนาประจุไฟฟ้าบวกมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าบวกอีกตัว
ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
ตอบ
............................................................................................................................................
2. หากนาประจุไฟฟ้าลบมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าลบอีกตัว
ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
ตอบ
............................................................................................................................................
3. หากนาประจุไฟฟ้าลบมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าบวกอีกตัว
ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
ตอบ
..........................................................................................................................................
4. หากนาวัตถุที่เป็นบวกมาวางใกล้ๆกับวัตถุที่เป็นกลางทาง
ไฟฟ้าวัตถุทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
ตอบ
......................................................................................................................................
+
หน้า 9
5. หากนาวัตถุที่เป็นลบมาวางใกล้ๆกับวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
วัตถุทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
ตอบ
........................................................................................................................................
6. หากนาวัตถุที่เป็นกลางมาวางใกล้ๆกับวัตถุที่เป็นกลางอีกอัน
วัตถุ ทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
ตอบ
....................................................................................................................................
7. ในสภาวะปกติ อะตอมของวัตถุจะมีจานวน
โปรตอนในนิวเคลียสเท่ากับจานวนของ
อิเล็กตรอน ซึ่งสามารถนาหลักนี้ไปอธิบาย
สภาวะเป็นกลางทางไฟฟ้าของวัตถุได้อย่างไร
ตอบ
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
8. หากอะตอมหนึ่งสูญเสียอิเล็กตรอนไป จะส่งผลต่อสมบัติทางไฟฟ้าของอะตอม
นั้นอย่างไร
ตอบ
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
-
หน้า 10
9. ถ้านาเอาวัตถุซึ่งมีประจุไฟฟ้าบวก เข้าใกล้อิเล็กโทรสโคป ประจุไฟฟ้าบวกจะเกิดผล
อย่างไร
ตอบ
........................................................................................................................................
10. ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สามารถอธิบายด้วยวิชาไฟฟ้าสถิตได้แก่ปรากฏการณ์
ใดบ้าง
ตอบ
........................................................................................................................................
อย่าลืมทาแบบทดสอบหลังเรียน
ด้วยนะครับ
หน้า 11
แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 2 เรื่อง ประจุไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. แท่งแก้วถูด้วยผ้าแพรแล้วเกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะอะไร
ก. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง
ข. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา
ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล
ง. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน
2. เมื่อนาแท่งแก้วถูกับผ้าไหม จะพบว่าวัตถุทั้งสองกลายเป็นวัตถุที่มีประจุ
การที่วัตถุทั้งสองมีประจุได้เนื่องจากอะไร
ก. การแยกของประจุ
ข. ประจุถูกสร้างขึ้น
ค. การเสียดสี
ง. แรงที่ถู
3. เมื่อนาวัตถุชิ้นหนึ่งถูผ้าแพรแล้วนามาจ่อเศษกระดาษที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
ปรากฏว่าเศษกระดาษถูกดูดแสดงว่า
ก. วัตถุขาดอิเล็กตรอนไปหรือได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น
ข. วัตถุมีประจุไฟฟ้าบวก
ค. วัตถุมีประจุไฟฟ้าลบ
ง. ข้อมูลไม่เพียงพอ
หน้า 12
4. ข้อใดคือคุณสมบัติของประจุไฟฟ้า
1. ประจุลบผลักวัตถุที่เป็นกลาง 2. ประจุบวกดึงดูดประจุลบ
3. ประจุบวกดึงดูดวัตถุที่เป็นกลาง 4. ประจุบวกดึงดูดประจุบวก
ข้อใดถูกต้อง
ก. ข้อ 1 , 2
ข. ข้อ 2 , 3
ค. ข้อ 2 , 4
ง. ข้อ 1 , 2 , 3
5. รถบรรทุกน้ามันมักมีโซ่ห้อยลากดินขณะแล่นเพื่ออะไร
ก. ใช้ฉุดลากรถคันอื่น
ข. รับประจุจากพื้นถนน
ค. ใช้ถ่ายประจุให้พื้นถนน
ง. รับหรือถ่ายเทประจุระหว่างรถกับถนน
6. ตัวการที่ทาให้วัตถุมีอานาจไฟฟ้าเกิดขึ้นคือข้อใด
ก. โปรตอน
ข. นิวเคลียส
ค. อิเล็กตรอน
ง. อานาจไฟฟ้า
7. ข้อใดเป็นลักษณะของการทาให้วัตถุเกิดประจุไฟฟ้าได้
ก. อะตอมขาดจานวนนิวตรอน
ข. อะตอมได้รับอนุภาคนิวตรอน
ค. อะตอมมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน
ง. อะตอมได้รับอิเล็กตรอนอิสระหรือขาดอิเล็กตรอนไป
หน้า 13
8. อะตอมที่อยู่ในสถานะเป็นกลางเนื่องจากสาเหตุใด
ก. ขาดอิเล็กตรอน
ข. ได้รับอิเล็กตรอน
ค. มีจานวนนิวตรอนเท่ากับโปรตอน
ง. มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน
9. วัตถุที่มีอานาจไฟฟ้าเป็นลบหมายถึงข้อใด
ก. วัตถุขาดอิเล็กตรอน
ข. วัตถุมีจานวนนิวตรอน
ค. วัตถุมีจานวนอิเล็กตรอนเกิน
ง. วัตถุที่มีจานวนโปรตอนเกิน
10. ข้อใดเป็นลักษณะของประจุไฟฟ้า
ก. ประกอบด้วยประจุมากกว่าสองชนิด
ข. ประกอบด้วยประจุชนิดเดียวคือประจุลบ
ค. ประกอบด้วยประจุชนิดเดียวคือประจุบวก
ง. ประกอบด้วยประจุสองชนิดคือประจุบวกและประจุลบ
หน้า 14
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
เล่มที่ 2 เรื่อง ประจุไฟฟ้า
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ค
ง
ง
ค
ง
ก
ก
ก
ข
ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ก
ก
ก
ข
ง
ค
ง
ง
ค
ง
หน้า 15
เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง ประจุไฟฟ้า
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. หากนาประจุไฟฟ้าบวกมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าบวก
อีกตัว ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกัน
อย่างไร
แนวคาตอบ ประจุไฟฟ้าจะออกแรงผลักซึ่งกันและกัน
2. หากนาประจุไฟฟ้าลบมาวางไว้ใกล้ๆประจุไฟฟ้าลบอีกตัว
ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
แนวคาตอบ ประจุไฟฟ้าจะออกแรงผลักซึ่งกันและกัน
3. หากนาประจุไฟฟ้าลบมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าบวกอีกตัว
ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
แนวคาตอบ ประจุไฟฟ้าจะออกแรงดูดซึ่งกันและกัน
4. หากนาวัตถุที่เป็นบวกมาวางใกล้ๆ กับวัตถุที่เป็นกลางทาง
ไฟฟ้าวัตถุทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
แนวคาตอบ วัตถุทั้งสองจะดึงดูดซึ่งกันและกัน
5. หากนาวัตถุที่เป็นลบมาวางใกล้ๆกับวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
วัตถุทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
แนวคาตอบ วัตถุทั้งสองจะดึงดูดซึ่งกันและกัน
6. หากนาวัตถุที่เป็นกลางมาวางใกล้ ๆ กับวัตถุที่เป็นกลางอีกอัน
วัตถุ ทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร
แนวคาตอบ วัตถุทั้งสองจะไม่มีการตอบสนองใดๆ ซึ่งกันและกัน
+
-
หน้า 16
7. ในสภาวะปกติ อะตอมของวัตถุจะมีจานวน
โปรตอนในนิวเคลียสเท่ากับจานวนของ
อิเล็กตรอน ซึ่งสามารถนาหลักนี้ไปอธิบาย
สภาวะเป็นกลางทางไฟฟ้าของวัตถุได้อย่างไร
แนวคาตอบ โปรตอนมีประจุบวก ซึ่งมีขนาดประจุเท่ากับโปรตอนและอิเล็กตรอน
เท่ากันจึงทาให้ประจุไฟฟ้าลัพธ์ในอะตอมเป็นศูนย์ วัตถุจึงมีสภาพเป็นกลาง
ทางไฟฟ้า
8. หากอะตอมหนึ่งสูญเสียอิเล็กตรอนไป จะส่งผลต่อสมบัติทางไฟฟ้าของอะตอมนั้น
อย่างไร
แนวคาตอบ เดิมอะตอมมีประจุบวกและประจุลบเท่ากัน หากสูญเสียอิเล็กตรอน
ไปจะทาให้อะตอมมีประจุบวกมากกว่าประจุลบ จึงแสดงสมบัติทางไฟฟ้า
เป็นบวก
9. ถ้านาเอาวัตถุซึ่งมีประจุไฟฟ้าบวก เข้าใกล้อิเล็กโทรสโคป ประจุไฟฟ้าบวกจะเกิดผล
อย่างไร
แนวคาตอบ แผ่นโลหะจะกางออกจากกันมากขึ้น
10. ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สามารถอธิบายด้วยวิชาไฟฟ้าสถิตได้แก่ปรากฏการณ์
ใดบ้าง
แนวคาตอบ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง
หน้า 17
กระดาษคาตอบ
ชื่อ .................................................... นามสกุล .......................................................
เลขที่ ................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/....................
วันที่ .................. เดือน ............................................... พ.ศ. ..........................
คาชี้แจง ให้นักเรียนกา x ในช่อง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10
คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ ............. คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน
หน้า 18
บรรณานุกรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2548.
ชัยณรงค์ วิเศษศักดิ์วิชัย. สนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี,
2545.
เฉลิมชัย มอญสุขา. หนังสือเสริมสาระการเรียนรู้ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์, 2551.
เฉลียว มณีเลิศ . ไฟฟ้า แม่เหล็ก. ปทุมธานี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต, 2543
ทวี ฉิมอ้อย, มนู เฟื่องฟุ้ง. ฟิสิกส์พื้นฐานระดับมหาวิทยาลัย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546.
โทลา, โจ๊ด. ฟิสิกส์และเคมี. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาสน์, 2549.
นรินทร์ เนาวประทีป. ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2542.
นิยม ทองอุดม. ฟิสิกส์ 1. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏจอมบึง, 2548.
บุชเซ, เฟรคเดอริค เจ. ทฤษฎีตัวอย่างโจทย์ฟิสิกส์. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิว, 2546.
ปรเมษฐ์ ปัญญาเหล็ก. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548.
พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2549.
สมโภชน์ อิ่มเอม. ฟิสิกส์มหาลัยวิทยาลัยไม่ยากเล่ม 1. กรุงเทพฯ : เบรน สตอร์ม, 2545.
สุวิทย์ โมนะตระกูล. ฟิสิกส์ยุคใหม่. มหาสารคาม : ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป
สถาบันราชภัฏมหาสารคาม , 2542.
อ้างอิงเว็บไซต์
1. http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=388.0
[ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]
2. https://sites.google.com/site/learningsanook/fifasthit
[ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]
3. http://weerajit14.blogspot.com/ [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]

More Related Content

What's hot

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
Preeyapat Lengrabam
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Pinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
Phanuwat Somvongs
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
อะลิ้ตเติ้ล นก
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
nn ning
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 

What's hot (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 

Similar to ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2

Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
Taweesak Poochai
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
Phakawat Owat
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
อัศวิน กลับมา
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันfghfhtruru
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าfghfhtruru
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55krupornpana55
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 

Similar to ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2 (10)

Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
Lesson15
Lesson15Lesson15
Lesson15
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 

More from พนภาค ผิวเกลี้ยง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pblรายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 

More from พนภาค ผิวเกลี้ยง (13)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
 
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pblรายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึมมัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
 
ประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตาประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตา
 
การใช้Wordpress
การใช้Wordpressการใช้Wordpress
การใช้Wordpress
 

ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2

  • 1. หน้า 1 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร และพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ม 6/1 วิเคราะห์และอธิบายลักษณะของประจุไฟฟ้า ตัวนา ฉนวน และ การอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถทากิจกรรมเพื่อศึกษาชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้า และชนิดของประจุไฟฟ้าได้ 2. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับประจุไฟฟ้าได้ 3. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของการเกิดประจุไฟฟ้า และชนิดของ ประจุไฟฟ้าได้
  • 2. หน้า 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 2 เรื่อง ประจุไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ตัวการที่ทาให้วัตถุมีอานาจไฟฟ้าเกิดขึ้นคือข้อใด ก. โปรตอน ข. นิวเคลียส ค. อิเล็กตรอน ง. อานาจไฟฟ้า 2. ข้อใดเป็นลักษณะของการทาให้วัตถุเกิดประจุไฟฟ้าได้ ก. อะตอมขาดจานวนนิวตรอน ข. อะตอมได้รับอนุภาคนิวตรอน ค. อะตอมมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน ง. อะตอมได้รับอิเล็กตรอนอิสระหรือขาดอิเล็กตรอนไป 3. อะตอมที่อยู่ในสถานะเป็นกลางเนื่องจากสาเหตุใด ก. ขาดอิเล็กตรอน ข. ได้รับอิเล็กตรอน ค. มีจานวนนิวตรอนเท่ากับโปรตอน ง. มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน
  • 3. หน้า 3 4. วัตถุที่มีอานาจไฟฟ้าเป็นลบหมายถึงข้อใด ก. วัตถุขาดอิเล็กตรอน ข. วัตถุมีจานวนนิวตรอน ค. วัตถุมีจานวนอิเล็กตรอนเกิน ง. วัตถุที่มีจานวนโปรตอนเกิน 5. ข้อใดเป็นลักษณะของประจุไฟฟ้า ก. ประกอบด้วยประจุมากกว่าสองชนิด ข. ประกอบด้วยประจุชนิดเดียวคือประจุลบ ค. ประกอบด้วยประจุชนิดเดียวคือประจุบวก ง. ประกอบด้วยประจุสองชนิดคือประจุบวกและประจุลบ 6. แท่งแก้วถูด้วยผ้าแพรแล้วเกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะอะไร ก. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง ข. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล ง. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน 7. เมื่อนาแท่งแก้วถูกับผ้าไหม จะพบว่าวัตถุทั้งสองกลายเป็นวัตถุที่มีประจุ การที่วัตถุทั้งสองมีประจุได้เนื่องจากอะไร ก. การแยกของประจุ ข. ประจุถูกสร้างขึ้น ค. การเสียดสี ง. แรงที่ถู 8. เมื่อนาวัตถุชิ้นหนึ่งถูผ้าแพรแล้วนามาจ่อเศษกระดาษที่เป็นกลางทางไฟฟ้า ปรากฏว่าเศษกระดาษถูกดูดแสดงว่า
  • 4. หน้า 4 ก. วัตถุขาดอิเล็กตรอนไปหรือได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ข. วัตถุมีประจุไฟฟ้าบวก ค. วัตถุมีประจุไฟฟ้าลบ ง. ข้อมูลไม่เพียงพอ 9. ข้อใดคือคุณสมบัติของประจุไฟฟ้า 1. ประจุลบผลักวัตถุที่เป็นกลาง 2. ประจุบวกดึงดูดประจุลบ 3. ประจุบวกดึงดูดวัตถุที่เป็นกลาง 4. ประจุบวกดึงดูดประจุบวก ข้อใดถูกต้อง ก. ข้อ 1 , 2 ข. ข้อ 2 , 3 ค. ข้อ 2 , 4 ง. ข้อ 1 , 2 , 3 10. รถบรรทุกน้ามันมักมีโซ่ห้อยลากดินขณะแล่นเพื่ออะไร ก. ใช้ฉุดลากรถคันอื่น ข. รับประจุจากพื้นถนน ค. ใช้ถ่ายประจุให้พื้นถนน ง. รับหรือถ่ายเทประจุระหว่างรถกับถนน ศึกษาใบความรู้ให้ละเอียด รอบคอบด้วยนะครับนักเรียน
  • 5. หน้า 5 ใบความรู้ เรื่อง ประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า (Electric Charge) คือ ตัวการที่ทาให้เกิดอานาจไฟฟ้า (แรงดูด) ทาลิส (Thales) นักปราชญ์ชาวกรีกนาแท่งอาพันมาถูกับผ้าขนสัตว์ แท่งอาพัน สามารถดูดวัตถุเบาๆ ได้ เช่น ขนนก อานาจที่เกิดขึ้นนี้ได้ถูกเรียกว่า อานาจไฟฟ้า อานาจไฟฟ้า (Electricity) คือ ความสามารถแสดงแรงดึงดูดต่อวัตถุต่าง ๆ ได้ อานาจทางไฟฟ้าเรียกสั้น ๆ ว่า ไฟฟ้า ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Electricity มาจากคาว่า Elektron ในภาษากรีก ซึ่งหมายถึงอาพัน อาพัน (Amber) คือยางสนที่แข็งตัวจนเกือบกลายเป็นหิน มีลักษณะ คล้ายพลาสติกโปร่งแสง มีสีน้าตาลแกมแดง สามารถขัดให้ขึ้นเงาได้ง่าย นิยมทาเป็น เครื่องประดับ มีมากในประเทศเยอรมัน และโปแลนด์ เกิดจากต้นสนทับถมกันจมดิน จมทรายมานานนับพันนับหมื่นปี อาพันมีความแข็ง 6 (เพชรซึ่งแข็งที่สุดมีความแข็ง 10) สาเหตุที่ทาให้วัตถุเกิดประจุไฟฟ้าอิสระทาได้ 3 วิธี คือ 1. การขัดสีกันของวัตถุที่เหมาะสม 2 ชนิด และประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนผิววัตถุ คู่หนึ่ง ๆ จะเป็นประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันเสมอ ได้มีการทาบัญชีของวัตถุที่ทาให้เกิดไฟฟ้า สถิตโดยการขัดสี โดยเรียงตามลาดับการขัดสี ดังนี้ 1. ขนสัตว์ 11. แก้วผิวขรุขระ 2. ขนแกะ หรือผ้าสักหลาด 12. ผิวหนัง 3. ไม้ 13. โลหะต่าง ๆ 4. เชลแลค 14. ยางอินเดีย 5. ยางสน 15. อาพัน 6. ครั่ง 16. กามะถัน
  • 6. หน้า 6 7. แก้วผิวเกลี้ยง 8. ผ้าฝ้าย หรือสาลี 9. กระดาษ 10. ผ้าแพร 17. อิโบไนต์ 18. ยาง 19. ผ้าแพร ( Amalgamated ) 20. เซลล์ลูลอยด์ การขัดสีกันของวัตถุ 2 ชนิด หลังการขัดสี - วัตถุหมายเลขน้อย มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก - วัตถุหมายเลขมาก มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ 2. การเหนี่ยวนา ทาได้โดย นาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าอิสระอยู่แล้วมาทาการ เหนี่ยวนา ซึ่งทาให้ตัวนาเกิดประจุอิสระด้วยการเหนี่ยวนา สรุปได้ว่า ก. ประจุไฟฟ้าอิสระที่ตัวนาได้รับจะเป็นประจุไฟฟ้าชนิดตรงกันข้ามกับ ชนิดของประจุไฟฟ้าบนวัตถุที่ใช้เหนี่ยวนา ข. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าที่ใช้เป็นตัวเหนี่ยวนาไม่สูญเสียประจุไฟฟ้าไปเลย 3. การสัมผัส โดยการนาวัตถุตัวนาอื่นที่มีประจุไฟฟ้าอิสระอยู่แล้วมาสัมผัส กับตัวนาที่เราต้องการ จะทาให้เกิดประจุอิสระ การกระทาเช่นนี้เกิดการถ่ายเทประจุ เท่ากัน ตามทฤษฎีอิเล็กตรอน การถ่ายเทประจุไฟฟ้าเกิดขึ้นเนื่องจากการเคลื่อนที่ ของอิเล็กตรอน การเกิดประจุไฟฟ้าอิสระด้วยการสัมผัส สรุปได้ดังนี้ ก. ประจุไฟฟ้าอิสระที่ตัวนาได้รับจะเป็นประจุชนิดเดียวกันกับชนิดของ ประจุไฟฟ้าบนตัวนาที่นามาสัมผัสเสมอ ข. เมื่อสัมผัสกันแล้วตัวนาทั้งสองจะมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน ค. ประจุไฟฟ้ารวมทั้งหมดบนตัวนาทั้งสองภายหลังสัมผัสกันแล้วจะมีจานวน เท่ากับประจุไฟฟ้าทั้งหมดก่อนสัมผัสกัน
  • 7. หน้า 7  ชนิดของประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ 1. ประจุไฟฟ้าบวก ( Positive charge ) คือ วัตถุที่ได้สูญเสียอิเล็กตรอนไป 2. ประจุไฟฟ้าลบ ( Negative charge ) คือ วัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนเพิ่ม วัตถุที่มีจานวนอิเล็กตรอนและโปรตอนเท่ากันจะไม่แสดงอานาจทางไฟฟ้า เรียกว่า วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า ทฤษฎีที่ใช้ในปัจจุบัน คือทฤษฎีอิเล็กตรอน กล่าวว่า วัตถุทุกชนิดย่อมประกอบ อะตอม เป็นจานวนมากมาย และแต่ละอะตอมประกอบอนุภาคมูลฐานหลายชนิด เช่น อิเล็กตรอน โปรตอน นิวตรอน เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของอะตอม ปกติอะตอมของธาตุย่อมเป็นกลาง คือ ไม่แสดงอานาจไฟฟ้า อธิบายปรากฏการณ์ ทางไฟฟ้าจะอธิบายโดยใช้การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเป็นหลัก โปรตอนหลุดจากนิวเคลียส ได้ยาก ส่วนอิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่หลุดออกจากนิวเคลียสได้ง่ายกว่า เมื่ออิเล็กตรอน ที่หลุดจากอะตอมใดที่เป็นกลาง เข้าสู่อะตอมที่เป็นกลาง อะตอม ที่สูญเสียอิเล็กตรอน จึงจะแสดงอานาจไฟฟ้าบวก ส่วนอะตอมอื่นที่เป็นกลางเมื่อได้รับอิเล็กตรอนจะแสดง อานาจไฟฟ้าลบ  ชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้า 1. แรงระหว่างประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ แรงดูดกับแรงผลัก 2. ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน 3. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าจะดูดวัตถุที่เป็นกลางเสมอ 4. แรงกระทาบนวัตถุ เป็นแรงต่างร่วม คือ เป็นแรงที่กระทาซึ่งกันและกัน และมีค่าเท่ากันโดยไม่คานึงถึงประจุทั้งสองว่าจะเท่ากันหรือไม่ก็ตาม
  • 8. หน้า 8 แบบฝึกทักษะ เรื่อง ประจุไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. หากนาประจุไฟฟ้าบวกมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าบวกอีกตัว ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร ตอบ ............................................................................................................................................ 2. หากนาประจุไฟฟ้าลบมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าลบอีกตัว ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร ตอบ ............................................................................................................................................ 3. หากนาประจุไฟฟ้าลบมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าบวกอีกตัว ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร ตอบ .......................................................................................................................................... 4. หากนาวัตถุที่เป็นบวกมาวางใกล้ๆกับวัตถุที่เป็นกลางทาง ไฟฟ้าวัตถุทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร ตอบ ...................................................................................................................................... +
  • 9. หน้า 9 5. หากนาวัตถุที่เป็นลบมาวางใกล้ๆกับวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า วัตถุทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร ตอบ ........................................................................................................................................ 6. หากนาวัตถุที่เป็นกลางมาวางใกล้ๆกับวัตถุที่เป็นกลางอีกอัน วัตถุ ทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร ตอบ .................................................................................................................................... 7. ในสภาวะปกติ อะตอมของวัตถุจะมีจานวน โปรตอนในนิวเคลียสเท่ากับจานวนของ อิเล็กตรอน ซึ่งสามารถนาหลักนี้ไปอธิบาย สภาวะเป็นกลางทางไฟฟ้าของวัตถุได้อย่างไร ตอบ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 8. หากอะตอมหนึ่งสูญเสียอิเล็กตรอนไป จะส่งผลต่อสมบัติทางไฟฟ้าของอะตอม นั้นอย่างไร ตอบ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ -
  • 10. หน้า 10 9. ถ้านาเอาวัตถุซึ่งมีประจุไฟฟ้าบวก เข้าใกล้อิเล็กโทรสโคป ประจุไฟฟ้าบวกจะเกิดผล อย่างไร ตอบ ........................................................................................................................................ 10. ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สามารถอธิบายด้วยวิชาไฟฟ้าสถิตได้แก่ปรากฏการณ์ ใดบ้าง ตอบ ........................................................................................................................................ อย่าลืมทาแบบทดสอบหลังเรียน ด้วยนะครับ
  • 11. หน้า 11 แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 2 เรื่อง ประจุไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. แท่งแก้วถูด้วยผ้าแพรแล้วเกิดประจุไฟฟ้าได้ เพราะอะไร ก. ประจุถ่ายเทจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง ข. การถูทาให้มีประจุชนิดหนึ่งเกิดขึ้นมา ค. ประจุเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวล ง. ประจุเกิดจากแรงเสียดทาน 2. เมื่อนาแท่งแก้วถูกับผ้าไหม จะพบว่าวัตถุทั้งสองกลายเป็นวัตถุที่มีประจุ การที่วัตถุทั้งสองมีประจุได้เนื่องจากอะไร ก. การแยกของประจุ ข. ประจุถูกสร้างขึ้น ค. การเสียดสี ง. แรงที่ถู 3. เมื่อนาวัตถุชิ้นหนึ่งถูผ้าแพรแล้วนามาจ่อเศษกระดาษที่เป็นกลางทางไฟฟ้า ปรากฏว่าเศษกระดาษถูกดูดแสดงว่า ก. วัตถุขาดอิเล็กตรอนไปหรือได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ข. วัตถุมีประจุไฟฟ้าบวก ค. วัตถุมีประจุไฟฟ้าลบ ง. ข้อมูลไม่เพียงพอ
  • 12. หน้า 12 4. ข้อใดคือคุณสมบัติของประจุไฟฟ้า 1. ประจุลบผลักวัตถุที่เป็นกลาง 2. ประจุบวกดึงดูดประจุลบ 3. ประจุบวกดึงดูดวัตถุที่เป็นกลาง 4. ประจุบวกดึงดูดประจุบวก ข้อใดถูกต้อง ก. ข้อ 1 , 2 ข. ข้อ 2 , 3 ค. ข้อ 2 , 4 ง. ข้อ 1 , 2 , 3 5. รถบรรทุกน้ามันมักมีโซ่ห้อยลากดินขณะแล่นเพื่ออะไร ก. ใช้ฉุดลากรถคันอื่น ข. รับประจุจากพื้นถนน ค. ใช้ถ่ายประจุให้พื้นถนน ง. รับหรือถ่ายเทประจุระหว่างรถกับถนน 6. ตัวการที่ทาให้วัตถุมีอานาจไฟฟ้าเกิดขึ้นคือข้อใด ก. โปรตอน ข. นิวเคลียส ค. อิเล็กตรอน ง. อานาจไฟฟ้า 7. ข้อใดเป็นลักษณะของการทาให้วัตถุเกิดประจุไฟฟ้าได้ ก. อะตอมขาดจานวนนิวตรอน ข. อะตอมได้รับอนุภาคนิวตรอน ค. อะตอมมีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน ง. อะตอมได้รับอิเล็กตรอนอิสระหรือขาดอิเล็กตรอนไป
  • 13. หน้า 13 8. อะตอมที่อยู่ในสถานะเป็นกลางเนื่องจากสาเหตุใด ก. ขาดอิเล็กตรอน ข. ได้รับอิเล็กตรอน ค. มีจานวนนิวตรอนเท่ากับโปรตอน ง. มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน 9. วัตถุที่มีอานาจไฟฟ้าเป็นลบหมายถึงข้อใด ก. วัตถุขาดอิเล็กตรอน ข. วัตถุมีจานวนนิวตรอน ค. วัตถุมีจานวนอิเล็กตรอนเกิน ง. วัตถุที่มีจานวนโปรตอนเกิน 10. ข้อใดเป็นลักษณะของประจุไฟฟ้า ก. ประกอบด้วยประจุมากกว่าสองชนิด ข. ประกอบด้วยประจุชนิดเดียวคือประจุลบ ค. ประกอบด้วยประจุชนิดเดียวคือประจุบวก ง. ประกอบด้วยประจุสองชนิดคือประจุบวกและประจุลบ
  • 14. หน้า 14 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เล่มที่ 2 เรื่อง ประจุไฟฟ้า เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. ค ง ง ค ง ก ก ก ข ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. ก ก ก ข ง ค ง ง ค ง
  • 15. หน้า 15 เฉลยแบบฝึกทักษะ เรื่อง ประจุไฟฟ้า คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. หากนาประจุไฟฟ้าบวกมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าบวก อีกตัว ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกัน อย่างไร แนวคาตอบ ประจุไฟฟ้าจะออกแรงผลักซึ่งกันและกัน 2. หากนาประจุไฟฟ้าลบมาวางไว้ใกล้ๆประจุไฟฟ้าลบอีกตัว ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร แนวคาตอบ ประจุไฟฟ้าจะออกแรงผลักซึ่งกันและกัน 3. หากนาประจุไฟฟ้าลบมาวางไว้ใกล้ๆ ประจุไฟฟ้าบวกอีกตัว ประจุไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร แนวคาตอบ ประจุไฟฟ้าจะออกแรงดูดซึ่งกันและกัน 4. หากนาวัตถุที่เป็นบวกมาวางใกล้ๆ กับวัตถุที่เป็นกลางทาง ไฟฟ้าวัตถุทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร แนวคาตอบ วัตถุทั้งสองจะดึงดูดซึ่งกันและกัน 5. หากนาวัตถุที่เป็นลบมาวางใกล้ๆกับวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า วัตถุทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร แนวคาตอบ วัตถุทั้งสองจะดึงดูดซึ่งกันและกัน 6. หากนาวัตถุที่เป็นกลางมาวางใกล้ ๆ กับวัตถุที่เป็นกลางอีกอัน วัตถุ ทั้งสองจะเกิดการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างไร แนวคาตอบ วัตถุทั้งสองจะไม่มีการตอบสนองใดๆ ซึ่งกันและกัน + -
  • 16. หน้า 16 7. ในสภาวะปกติ อะตอมของวัตถุจะมีจานวน โปรตอนในนิวเคลียสเท่ากับจานวนของ อิเล็กตรอน ซึ่งสามารถนาหลักนี้ไปอธิบาย สภาวะเป็นกลางทางไฟฟ้าของวัตถุได้อย่างไร แนวคาตอบ โปรตอนมีประจุบวก ซึ่งมีขนาดประจุเท่ากับโปรตอนและอิเล็กตรอน เท่ากันจึงทาให้ประจุไฟฟ้าลัพธ์ในอะตอมเป็นศูนย์ วัตถุจึงมีสภาพเป็นกลาง ทางไฟฟ้า 8. หากอะตอมหนึ่งสูญเสียอิเล็กตรอนไป จะส่งผลต่อสมบัติทางไฟฟ้าของอะตอมนั้น อย่างไร แนวคาตอบ เดิมอะตอมมีประจุบวกและประจุลบเท่ากัน หากสูญเสียอิเล็กตรอน ไปจะทาให้อะตอมมีประจุบวกมากกว่าประจุลบ จึงแสดงสมบัติทางไฟฟ้า เป็นบวก 9. ถ้านาเอาวัตถุซึ่งมีประจุไฟฟ้าบวก เข้าใกล้อิเล็กโทรสโคป ประจุไฟฟ้าบวกจะเกิดผล อย่างไร แนวคาตอบ แผ่นโลหะจะกางออกจากกันมากขึ้น 10. ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สามารถอธิบายด้วยวิชาไฟฟ้าสถิตได้แก่ปรากฏการณ์ ใดบ้าง แนวคาตอบ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง
  • 17. หน้า 17 กระดาษคาตอบ ชื่อ .................................................... นามสกุล ....................................................... เลขที่ ................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/.................... วันที่ .................. เดือน ............................................... พ.ศ. .......................... คาชี้แจง ให้นักเรียนกา x ในช่อง ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน คะแนนที่ได้ ............. คะแนน
  • 18. หน้า 18 บรรณานุกรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2548. ชัยณรงค์ วิเศษศักดิ์วิชัย. สนามไฟฟ้าและแม่เหล็ก. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี, 2545. เฉลิมชัย มอญสุขา. หนังสือเสริมสาระการเรียนรู้ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์, 2551. เฉลียว มณีเลิศ . ไฟฟ้า แม่เหล็ก. ปทุมธานี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต, 2543 ทวี ฉิมอ้อย, มนู เฟื่องฟุ้ง. ฟิสิกส์พื้นฐานระดับมหาวิทยาลัย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. โทลา, โจ๊ด. ฟิสิกส์และเคมี. กรุงเทพฯ : สุวีริยสาสน์, 2549. นรินทร์ เนาวประทีป. ฟิสิกส์ ม.6. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2542. นิยม ทองอุดม. ฟิสิกส์ 1. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏจอมบึง, 2548. บุชเซ, เฟรคเดอริค เจ. ทฤษฎีตัวอย่างโจทย์ฟิสิกส์. กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิว, 2546. ปรเมษฐ์ ปัญญาเหล็ก. ฟิสิกส์ 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548. พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ. ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์, 2549. สมโภชน์ อิ่มเอม. ฟิสิกส์มหาลัยวิทยาลัยไม่ยากเล่ม 1. กรุงเทพฯ : เบรน สตอร์ม, 2545. สุวิทย์ โมนะตระกูล. ฟิสิกส์ยุคใหม่. มหาสารคาม : ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป สถาบันราชภัฏมหาสารคาม , 2542. อ้างอิงเว็บไซต์ 1. http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=388.0 [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555] 2. https://sites.google.com/site/learningsanook/fifasthit [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555] 3. http://weerajit14.blogspot.com/ [ออนไลน์ วันที่ 24 ตุลาคม 2555]