SlideShare a Scribd company logo
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
เรื่อง การประยุกต์ใช้คาสั่งในภาษาซี วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
1. จุดประสงค์การจัดการเรียนรู้ (Objective)
1. นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้คาสั่งในภาษาซีได้
2. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมภาษาซีได้
2. กิจกรรม (Activities)
1. เมื่อครูยกตัวอย่างอธิบายการใช้คาสั่ง ต่างๆ ของคาสั่งภาษาซีและยกตัวอย่าง
2. ครูให้นักเรียน แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน
3. ให้นักเรียนคิด โจทย์ การประยุกต์ใช้ เกี่ยวกับคาสั่งที่ได้เรียน โดยใช้กรณีศึกษาโดยให้ตั้ง
โจทย์เอง /หรือ ประยุกต์การใช้ โดย นาเสนอเป็นวีดีโอดังนี้
3.1 ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ใช้
3.2 ลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงาน
3.3 เขียนโปรแกรมตามที่ออกแบบไว้
4. นาเสนองานโดยใช้โปรแกรมตัดต่อนาเสนอ โดยมีการเรียนรู้ดังต่อไปนี้
บทบาทนักเรียน บทบาทครู
P(plan)
4.1 ให้นักเรียน กาหนดเป้าหมาย
ออกแบบรายงาน
4.2 ให้นักเรียน ออกแบบและวาง
แผนการสร้างชิ้นงาน ดาเนินการ
สืบค้นหาโจทย์ และออกแบบ วาง
แผนการสร้างชิ้นงาน
C สร้าง (Create)
4.3 ให้นักเรียน เลือกใช้เครื่องมือใน
การนาเสนอ เช่น โปรแกรมตัดต่อ
วีดีโอ โปรแกรมจับจอภาพ และอื่น
ๆ ที่ตนเองถนัด
4.4 ให้นักเรียนปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
Know(มีความรู้)
-ตรวจสอบความรู้เดิม
-ให้ข้อมูลพื้นฐาน
-ให้ข้อมูลเสริม
-สอนเพิ่มเติม
Facilitator(อานวยความสะดวก)
-ผู้อานวยความสะดวก
-ส่งเสริมสนับสนุนทาให้งาน
Context จัดบริบทการเรียนรู้
-จัดหา /จัดเตรียมแหล่งเรียนรู้
-จัดหา/จัดเตรียมเครื่องมือการเรียนรู้
-จัดหา/เตรียมสถานที่ทั้งในและนอกชั้น
เรียน
โดยใช้นักเรียนเขียน สคริป การ
ออกแบบ เพื่อที่จะนาเสนอ
4.5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
ทาตามสคริป
4.6 สร้างชิ้นงาน/แก้ปัญหา
R ไตร่ตรอง (Reflect)
4.7 ปรับปรุงชิ้นงานตามข้อเสนอแนะ
4.8 นาเสนอความก้าวหน้าของชิ้นงาน
P เผยแพร่ (Publish)
4.9 นาเสนอชิ้นงาน วิดีโอ ที่เสร็จแล้ว
4.10 แบ่งบัน เผยแพร่ วีดิโอ ผ่าน
ทางการนาเสนอ YouTube
4.11 แลกเปลี่ยน เรียนรู้
3. เครื่องมือไอซีที/วัสดุ/อุปกรณ์
(Tools and Materials)
1. โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ Corel video
studio pro x7/ตามถนัด
2. โปรแกรม Ms PowerPoint
3. โปรแกรม Ms word
4. โปรแกรมอัดเสียง
5. โปรแกรมจับจอภาพ /ตามถนัด
Assessment ประเมิน
-มีการประเมินหลายมิติ
-ใช้วิธีการประเมินหลากหลาย
-ติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน
4. การวัดและประเมินผล
แบบประเมินความสามารถในการประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม
รายการประเมิน
ระดับความสามารถ
4 3 2 1
1
ความสามารถ
ในการเขียนผังงาน
(น้าหนัก 5 คะแนน)
การเขียนผังงาน
ครบตาม
กระบวนการ การ
นาข้อมูลเข้า
(Input) การ
ประมวลผล
(Process) การ
แสดงข้อมูล
(Output) พร้อม
ใช้สัญลักษณ์
Flowchart การ
นาข้อมูลเข้า การ
ประมวลผลข้อมูล
และการแสดง
ข้อมูล ถูกต้องและ
การเขียนอย่างเป็น
ลาดับและชัดเจน
ตามภาระงาน
การเขียนผังงาน
ครบตาม
กระบวนการ การ
นาข้อมูลเข้า
(Input) การ
ประมวลผล
(Process) การ
แสดงข้อมูล
(Output) พร้อม
ใช้สัญลักษณ์
Flowchart การ
นาข้อมูลเข้า การ
ประมวลผลข้อมูล
ถูกต้อง และการ
แสดงข้อมูลถูกต้อง
และเขียนไม่ลาดับ
แต่ยังไม่ชัดเจนใน
ภาระงาน
การเขียนผังงาน
ครบตาม
กระบวนการ การ
นาข้อมูลเข้า
(Input) การ
ประมวลผล
(Process) การ
แสดงข้อมูล
(Output) พร้อม
ใช้สัญลักษณ์
Flowchart การ
นาข้อมูลเข้า
ถูกต้องและการ
ประมวลผลข้อมูล
ไม่ถูกต้องและการ
แสดงข้อมูลไม่
ถูกต้อง และเขียน
ไม่เป็นลาดับขั้น
ไม่ถูกต้องตาม
ภาระงาน
การเขียนผังงาน
ครบตาม
กระบวนการ มี
การนาข้อมูลเข้า
(Input) มีการ
ประมวลผล
(Process) มีการ
แสดงข้อมูล
(Output) พร้อม
ใช้สัญลักษณ์
Flowchart ไม่
ถูกต้องทุก
กระบวนและการ
ประมวลผลข้อมูล
ไม่ถูกต้องและ
เขียนไม่เป็นลาดับ
ไม่ถูกต้องตาม
ภาระงาน
รายการประเมิน
ระดับความสามารถ
4 3 2 1
2
ความสามารถ
ในการเขียนคาสั่ง
(น้าหนัก 5 คะแนน)
มีโครงสร้าง
โปรแกรม
ครบถ้วน และ
กาหนดตัวแปรได้
ถูกต้อง การเขียน
คาสั่งถูกต้องตาม
กระบวนการ การ
นาข้อมูลเข้า
(Input) การ
ประมวลผล
(Process) การ
แสดงข้อมูล
(Output)แสดง
ข้อมูล อย่าง
ถูกต้องและเขียน
คาสั่งอย่างเป็น
ลาดับและชัดเจน
โปรแกรมสามารถ
ทางานได้ ผลลัพธ์
ถูกต้องตามภาระ
งาน
มีโครงสร้าง
โปรแกรม
ครบถ้วนและ
กาหนดตัวแปรได้
ถูกต้องการเขียน
คาสั่งถูกต้องตาม
กระบวนการ การ
นาข้อมูลเข้า
(Input) การ
ประมวลผล
(Process) การ
แสดงข้อมูล
(Output) แสดง
ข้อมูล อย่าง
ถูกต้องและเขียน
คาสั่งโปรแกรม
สามารถทางานได้
ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
ภาระงาน
มีโครงสร้าง
โปรแกรมสมบูรณ์
และกาหนดตัว
แปรได้ถูกต้องการ
เขียนคาสั่งถูกต้อง
ตามกระบวนการ
การนาข้อมูลเข้า
(Input) การ
ประมวลผล
(Process) การ
แสดงข้อมูล
(Output) แสดง
ข้อมูล อย่าง
ถูกต้องและเขียน
คาสั่งไม่เป็นลาดับ
โปรแกรมไม่
สามารถทางานได้
ตามภาระงาน
โครงสร้าง
โปรแกรมครบถ้วน
และกาหนดตัวแปร
ถูกต้อง การเขียน
คาสั่งไม่ถูกต้องตาม
กระบวนการ การ
นาข้อมูลเข้า
(Input) การ
ประมวลผล
(Process) การ
แสดงข้อมูล
(Output)แสดง
ข้อมูล ไม่ถูกต้อง
และแต่เขียนคาสั่ง
ไม่เป็นลาดับและไม่
ชัดเจน โปรแกรม
ไม่สามารถทางาน
ได้ ตามภาระงาน
เกณฑ์การประเมินผลความสามารถในการเขียนโปรแกรม
คะแนนรวม 76 – 100 คะแนน หมายถึง ความสามารถในระดับดีมาก
คะแนนรวม 61 – 75 คะแนน หมายถึง ความสามารถในระดับดี
คะแนนรวม 26 - 50 คะแนน หมายถึง ความสามารถในระดับปานกลาง
คะแนนรวม 0 - 25 คะแนน หมายถึง ความสามารถในระดับน้อย
รายการประเมิน
ระดับความสามารถ
4 3 2 1
3
ความสามารถในการ
ใช้โปรแกรม
(น้าหนัก 5คะแนน)
สามารถเข้า
โปรแกรมภาษาซี
เปิด บันทึก
สามารถคอมไฟล์
โปรแกรม และ
สามารถรัน
โปรแกรมได้
สามารถเข้า
โปรแกรมภาษาซี
เปิด บันทึก
สามารถคอมไพล์
โปรแกรมได้ ไม่
สามารถรัน
โปรแกรมได้
สามารถเข้า
โปรแกรมภาษาซี
เปิด บันทึก ไม่
สามารถคอมไพล์
ไม่สามารถรัน
โปรแกรมได้
สามารถเข้า
โปรแกรมภาษาซี
ไม่สามารถเปิด
บันทึกไม่สามารถ
คอมไพล์
โปรแกรม ไม่
สามารถรัน
โปรแกรมได้
4
ความสามารถในการ
นาเสนอ
(น้าหนัก 5คะแนน)
การใช้สานวนภาษา
ดีถูกต้อง
การสะกดคาและ
ไวยากรณ์ถูกต้อง
รูปแบบน่าสนใจ
ความสวยงาม
การใช้สานวนภาษา
ดีถูกต้อง
การสะกดคาและ
ไวยากรณ์ถูกต้อง
รูปแบบน่าสนใจ
การใช้สานวนภาษา
ดีถูกต้อง
การสะกดคาและ
ไวยากรณ์ถูกต้อง
การใช้สานวนภาษา
ดีถูกต้อง
5 ความรับผิดชอบ
(น้าหนัก 5คะแนน)
สามารถส่งงาน
ทันเวลาตาม
กาหนด
ไม่สามารถส่งงาน
ทันกาหนดระยะ
1วัน
ไม่สามารถส่งงาน
ทันกาหนดระยะ
2-3 วัน
ไม่สามารถส่งงาน
ตามกาหนด4-5
วัน
5. บันทึกอนุทินหลังการจัดการเรียนรู้
จากการแบ่งงานนักเรียนสามารถทางานโดยการแบ่งงานกันและปรึกษาการทางาน โดยนักเรียน
สามารถคัดเลือกโจทย์ออกแบบงาน รวมทั้งสามารถลาดับขั้นตอน เขียนผังงานและเขียนโปรแกรม ได้เป็น
อย่างดี อาจจะเป็นเพราะว่านักเรียนเลือก โจทย์และประยุกต์การใช้คาสั่ง ที่ตนเองถนัด
6. ข้อมูลเพิ่มเติม (สามารถใส่ภาพประกอบ วีดีโอเบื้องหลัง แผนการสอน หรือ อื่น ๆ ประกอบ
เล่าเรื่องให้คณะกรรมการเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดาเนินการได้เข้าใจที่ชัดเจนขึ้น)
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น ม. 4 ภาคเรียนที่ 2/2557
รหัสวิชา ง31102ชื่อรายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 10 การประยุกต์ใช้โปรแกรม จานวน 6 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 10 บูรณาการการใช้โปรแกรม เวลา 6 ชั่วโมง
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลการ
เรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม
ตัวชี้วัด เขียนโปรแกรมภาษา
สาระสาคัญ
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษ าซีนั้นจะมี รูปแบบขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม จึงจาเป็น
จะต้องมีการใช้คาสั่งต่าง ๆ ในการเขียน ควบคุมการทางา น ของโปรแกรมเพื่อให้แสดงผลลัพธ์ที่ต้องการได้อย่าง
ถูกต้อง ดังนั้นดังนั้น จึงต้องเข้าใจ กระบวนการพัฒนาโปรแกรม และรูปแบบในการเขียนเพื่อนาไปใช้ในการเขียน
โปรแกรมภาษาซี ขั้นสูงต่อไป
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้คาสั่งในภาษาซีได้
2. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมภาษาซีได้
สาระการเรียนรู้
1. การประยุกต์ใช้คาสั่งภาษาในซีการเขียนโปรแกรม
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
หลักฐานการเรียนรู้
ชิ้นงาน /ภาระงาน
นักเรียนคิด โจทย์ การประยุกต์ใช้ เกี่ยวกับคาสั่งที่ได้เรียน โดยใช้กรณีศึกษาโดยให้ตั้งโจทย์เอง /หรือ
ประยุกต์การใช้ โดย นาเสนอเป็นวีดีโอดังนี้
1.1 ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ใช้
1.2 ลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงาน
1.3 เขียนโปรแกรมตามที่ออกแบบไว้
การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัดผลและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมเรียนรู้
1.1 ความสามารถในการประยุกต์การเขียนโปรแกรมซี
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมินความสามารถในการประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม
3. การวัดและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนรู้
3.1 คะแนนจากแบบประเมินความสามารถในการประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม
กิจกรรมการเรียนรู้ เวลา 6 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูยกตัวอย่างในการเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ใช้คาสั่งต่าง ๆ
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นสอน
1. ครูยกตัวอย่างการใช้คาสั่ง ต่างๆ ของคาสั่งภาษาซี และการประยุกต์ใช้
2. ครูให้นักเรียน แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน
3. ครูให้นักเรียนคิด โจทย์ การประยุกต์ใช้ เกี่ยวกับคาสั่งที่ได้เรียน โดยใช้กรณีศึกษาโดยให้ตั้งโจทย์เอง
/หรือ ประยุกต์การใช้ โดย นาเสนอเป็นวีดีโอดังนี้
3.1 ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ใช้
3.2 ลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงาน
3.3 เขียนโปรแกรมตามที่ออกแบบไว้
4. นาเสนองานโดยใช้โปรแกรมตัดต่อนาเสนอ โดยมีการเรียนรู้ดังต่อไปนี้โดยแบ่งบทบาทดังนี้
บทบาทนักเรียน บทบาทครู
P(plan)
4.1 ให้นักเรียน กาหนดเป้าหมาย
ออกแบบรายงาน
4.2 ให้นักเรียน ออกแบบและวางแผนการ
สร้างชิ้นงาน ดาเนินการสืบค้นหาโจทย์
และออกแบบ วางแผนการสร้างชิ้นงาน
C สร้าง (Create)
4.3 ให้นักเรียน เลือกใช้เครื่องมือในการ
นาเสนอ เช่น โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
โปรแกรมจับจอภาพ และอื่น ๆ ที่ตนเอง
ถนัด
4.4 ให้นักเรียนปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
โดยใช้นักเรียนเขียน สคริป การ
ออกแบบ เพื่อที่จะนาเสนอ
4.5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ทา
ตามสคริป
4.6 สร้างชิ้นงาน/แก้ปัญหา
R ไตร่ตรอง (Reflect)
4.7 ปรับปรุงชิ้นงานตามข้อเสนอแนะ
4.8 นาเสนอความก้าวหน้าของชิ้นงาน
P เผยแพร่ (Publish)
4.9 นาเสนอชิ้นงาน วิดีโอ ที่เสร็จแล้ว
4.10 แบ่งบัน เผยแพร่ วีดิโอ ผ่านทางการ
นาเสนอ YouTube
4.11 แลกเปลี่ยน เรียนรู้
Know(มีความรู้)
-ตรวจสอบความรู้เดิม
-ให้ข้อมูลพื้นฐาน
-ให้ข้อมูลเสริม
-สอนเพิ่มเติม
Facilitator(อานวยความสะดวก)
-ผู้อานวยความสะดวก
-ส่งเสริมสนับสนุนทาให้งาน
Context จัดบริบทการเรียนรู้
-จัดหา /จัดเตรียมแหล่งเรียนรู้
-จัดหา/จัดเตรียมเครื่องมือการเรียนรู้
-จัดหา/เตรียมสถานที่ทั้งในและนอกชั้นเรียน
Assessment ประเมิน
-มีการประเมินหลายมิติ
-ใช้วิธีการประเมินหลากหลาย
-ติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นสรุป
3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้และตรวจสอบองค์ความรู้ที่ได้รับจาการประยุกต์ใช้คาสั่งภาษาซีใน
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1. เครื่องคอมพิวเตอร์
2. โปรแกรมภาษาซี
3. โปรแกรมสื่อนาเสนอ เช่น PowerPoint , วีดีโอ
แหล่งเรียนรู้
1. เว็บไซต์ต่างๆ ในอินเตอร์เน็ต
7. รายชื่อเจ้าของผลงาน
นายพนภาค ผิวเกลี้ยง ตาแหน่งครูชานาญการ สอนวิชาคอมพิวเตอร์
หมายเลขโทรศัพท์ 0871664787
e-mail panaphak@live.com,panaphak@gmail.com

More Related Content

Similar to การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม

Pdca เขมร
Pdca เขมรPdca เขมร
Pdca เขมร
Itnog Kamix
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
Moo Mild
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
Moo Mild
 
งาน Pbl ที่1
งาน Pbl ที่1งาน Pbl ที่1
งาน Pbl ที่1
Naynoyjolii
 
Projectm6
Projectm6Projectm6
Projectm6
Nat Ty
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
Kutjung Rmuti
 

Similar to การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม (20)

P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
Pdca เขมร
Pdca เขมรPdca เขมร
Pdca เขมร
 
Thesis oral presentaton
Thesis oral presentatonThesis oral presentaton
Thesis oral presentaton
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
งาน Pbl ที่1
งาน Pbl ที่1งาน Pbl ที่1
งาน Pbl ที่1
 
งาน Pbl 1
งาน Pbl 1งาน Pbl 1
งาน Pbl 1
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 
Projectm6
Projectm6Projectm6
Projectm6
 
Tell me more
Tell me moreTell me more
Tell me more
 
1236363
12363631236363
1236363
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Diary
DiaryDiary
Diary
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 

More from พนภาค ผิวเกลี้ยง

More from พนภาค ผิวเกลี้ยง (13)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีครัั้งที่2
 
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรีแบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
แบบฟอร์มส่งผลงานเข้าประกวดครูกนกรดา สมานบุตรี
 
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pblรายละเอียดการเข้าประกวด pbl
รายละเอียดการเข้าประกวด pbl
 
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึมแบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
แบบฟอร์มโครงการตามแนวคอนสตรักชันนิซึม
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
ประกาศผลสอบ ประจำปีการศึกษา 2556
 
ประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตาประกาศผลโควตา
ประกาศผลโควตา
 
การใช้Wordpress
การใช้Wordpressการใช้Wordpress
การใช้Wordpress
 

การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม

  • 1. มัลติมีเดียการใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานตามแนวคอนสตรักชันนิซึม เรื่อง การประยุกต์ใช้คาสั่งในภาษาซี วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1. จุดประสงค์การจัดการเรียนรู้ (Objective) 1. นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้คาสั่งในภาษาซีได้ 2. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมภาษาซีได้ 2. กิจกรรม (Activities) 1. เมื่อครูยกตัวอย่างอธิบายการใช้คาสั่ง ต่างๆ ของคาสั่งภาษาซีและยกตัวอย่าง 2. ครูให้นักเรียน แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน 3. ให้นักเรียนคิด โจทย์ การประยุกต์ใช้ เกี่ยวกับคาสั่งที่ได้เรียน โดยใช้กรณีศึกษาโดยให้ตั้ง โจทย์เอง /หรือ ประยุกต์การใช้ โดย นาเสนอเป็นวีดีโอดังนี้ 3.1 ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ใช้ 3.2 ลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงาน 3.3 เขียนโปรแกรมตามที่ออกแบบไว้ 4. นาเสนองานโดยใช้โปรแกรมตัดต่อนาเสนอ โดยมีการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ บทบาทนักเรียน บทบาทครู P(plan) 4.1 ให้นักเรียน กาหนดเป้าหมาย ออกแบบรายงาน 4.2 ให้นักเรียน ออกแบบและวาง แผนการสร้างชิ้นงาน ดาเนินการ สืบค้นหาโจทย์ และออกแบบ วาง แผนการสร้างชิ้นงาน C สร้าง (Create) 4.3 ให้นักเรียน เลือกใช้เครื่องมือใน การนาเสนอ เช่น โปรแกรมตัดต่อ วีดีโอ โปรแกรมจับจอภาพ และอื่น ๆ ที่ตนเองถนัด 4.4 ให้นักเรียนปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ Know(มีความรู้) -ตรวจสอบความรู้เดิม -ให้ข้อมูลพื้นฐาน -ให้ข้อมูลเสริม -สอนเพิ่มเติม Facilitator(อานวยความสะดวก) -ผู้อานวยความสะดวก -ส่งเสริมสนับสนุนทาให้งาน Context จัดบริบทการเรียนรู้ -จัดหา /จัดเตรียมแหล่งเรียนรู้ -จัดหา/จัดเตรียมเครื่องมือการเรียนรู้ -จัดหา/เตรียมสถานที่ทั้งในและนอกชั้น เรียน
  • 2. โดยใช้นักเรียนเขียน สคริป การ ออกแบบ เพื่อที่จะนาเสนอ 4.5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ทาตามสคริป 4.6 สร้างชิ้นงาน/แก้ปัญหา R ไตร่ตรอง (Reflect) 4.7 ปรับปรุงชิ้นงานตามข้อเสนอแนะ 4.8 นาเสนอความก้าวหน้าของชิ้นงาน P เผยแพร่ (Publish) 4.9 นาเสนอชิ้นงาน วิดีโอ ที่เสร็จแล้ว 4.10 แบ่งบัน เผยแพร่ วีดิโอ ผ่าน ทางการนาเสนอ YouTube 4.11 แลกเปลี่ยน เรียนรู้ 3. เครื่องมือไอซีที/วัสดุ/อุปกรณ์ (Tools and Materials) 1. โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ Corel video studio pro x7/ตามถนัด 2. โปรแกรม Ms PowerPoint 3. โปรแกรม Ms word 4. โปรแกรมอัดเสียง 5. โปรแกรมจับจอภาพ /ตามถนัด Assessment ประเมิน -มีการประเมินหลายมิติ -ใช้วิธีการประเมินหลากหลาย -ติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน
  • 3. 4. การวัดและประเมินผล แบบประเมินความสามารถในการประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม รายการประเมิน ระดับความสามารถ 4 3 2 1 1 ความสามารถ ในการเขียนผังงาน (น้าหนัก 5 คะแนน) การเขียนผังงาน ครบตาม กระบวนการ การ นาข้อมูลเข้า (Input) การ ประมวลผล (Process) การ แสดงข้อมูล (Output) พร้อม ใช้สัญลักษณ์ Flowchart การ นาข้อมูลเข้า การ ประมวลผลข้อมูล และการแสดง ข้อมูล ถูกต้องและ การเขียนอย่างเป็น ลาดับและชัดเจน ตามภาระงาน การเขียนผังงาน ครบตาม กระบวนการ การ นาข้อมูลเข้า (Input) การ ประมวลผล (Process) การ แสดงข้อมูล (Output) พร้อม ใช้สัญลักษณ์ Flowchart การ นาข้อมูลเข้า การ ประมวลผลข้อมูล ถูกต้อง และการ แสดงข้อมูลถูกต้อง และเขียนไม่ลาดับ แต่ยังไม่ชัดเจนใน ภาระงาน การเขียนผังงาน ครบตาม กระบวนการ การ นาข้อมูลเข้า (Input) การ ประมวลผล (Process) การ แสดงข้อมูล (Output) พร้อม ใช้สัญลักษณ์ Flowchart การ นาข้อมูลเข้า ถูกต้องและการ ประมวลผลข้อมูล ไม่ถูกต้องและการ แสดงข้อมูลไม่ ถูกต้อง และเขียน ไม่เป็นลาดับขั้น ไม่ถูกต้องตาม ภาระงาน การเขียนผังงาน ครบตาม กระบวนการ มี การนาข้อมูลเข้า (Input) มีการ ประมวลผล (Process) มีการ แสดงข้อมูล (Output) พร้อม ใช้สัญลักษณ์ Flowchart ไม่ ถูกต้องทุก กระบวนและการ ประมวลผลข้อมูล ไม่ถูกต้องและ เขียนไม่เป็นลาดับ ไม่ถูกต้องตาม ภาระงาน
  • 4. รายการประเมิน ระดับความสามารถ 4 3 2 1 2 ความสามารถ ในการเขียนคาสั่ง (น้าหนัก 5 คะแนน) มีโครงสร้าง โปรแกรม ครบถ้วน และ กาหนดตัวแปรได้ ถูกต้อง การเขียน คาสั่งถูกต้องตาม กระบวนการ การ นาข้อมูลเข้า (Input) การ ประมวลผล (Process) การ แสดงข้อมูล (Output)แสดง ข้อมูล อย่าง ถูกต้องและเขียน คาสั่งอย่างเป็น ลาดับและชัดเจน โปรแกรมสามารถ ทางานได้ ผลลัพธ์ ถูกต้องตามภาระ งาน มีโครงสร้าง โปรแกรม ครบถ้วนและ กาหนดตัวแปรได้ ถูกต้องการเขียน คาสั่งถูกต้องตาม กระบวนการ การ นาข้อมูลเข้า (Input) การ ประมวลผล (Process) การ แสดงข้อมูล (Output) แสดง ข้อมูล อย่าง ถูกต้องและเขียน คาสั่งโปรแกรม สามารถทางานได้ ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ภาระงาน มีโครงสร้าง โปรแกรมสมบูรณ์ และกาหนดตัว แปรได้ถูกต้องการ เขียนคาสั่งถูกต้อง ตามกระบวนการ การนาข้อมูลเข้า (Input) การ ประมวลผล (Process) การ แสดงข้อมูล (Output) แสดง ข้อมูล อย่าง ถูกต้องและเขียน คาสั่งไม่เป็นลาดับ โปรแกรมไม่ สามารถทางานได้ ตามภาระงาน โครงสร้าง โปรแกรมครบถ้วน และกาหนดตัวแปร ถูกต้อง การเขียน คาสั่งไม่ถูกต้องตาม กระบวนการ การ นาข้อมูลเข้า (Input) การ ประมวลผล (Process) การ แสดงข้อมูล (Output)แสดง ข้อมูล ไม่ถูกต้อง และแต่เขียนคาสั่ง ไม่เป็นลาดับและไม่ ชัดเจน โปรแกรม ไม่สามารถทางาน ได้ ตามภาระงาน
  • 5. เกณฑ์การประเมินผลความสามารถในการเขียนโปรแกรม คะแนนรวม 76 – 100 คะแนน หมายถึง ความสามารถในระดับดีมาก คะแนนรวม 61 – 75 คะแนน หมายถึง ความสามารถในระดับดี คะแนนรวม 26 - 50 คะแนน หมายถึง ความสามารถในระดับปานกลาง คะแนนรวม 0 - 25 คะแนน หมายถึง ความสามารถในระดับน้อย รายการประเมิน ระดับความสามารถ 4 3 2 1 3 ความสามารถในการ ใช้โปรแกรม (น้าหนัก 5คะแนน) สามารถเข้า โปรแกรมภาษาซี เปิด บันทึก สามารถคอมไฟล์ โปรแกรม และ สามารถรัน โปรแกรมได้ สามารถเข้า โปรแกรมภาษาซี เปิด บันทึก สามารถคอมไพล์ โปรแกรมได้ ไม่ สามารถรัน โปรแกรมได้ สามารถเข้า โปรแกรมภาษาซี เปิด บันทึก ไม่ สามารถคอมไพล์ ไม่สามารถรัน โปรแกรมได้ สามารถเข้า โปรแกรมภาษาซี ไม่สามารถเปิด บันทึกไม่สามารถ คอมไพล์ โปรแกรม ไม่ สามารถรัน โปรแกรมได้ 4 ความสามารถในการ นาเสนอ (น้าหนัก 5คะแนน) การใช้สานวนภาษา ดีถูกต้อง การสะกดคาและ ไวยากรณ์ถูกต้อง รูปแบบน่าสนใจ ความสวยงาม การใช้สานวนภาษา ดีถูกต้อง การสะกดคาและ ไวยากรณ์ถูกต้อง รูปแบบน่าสนใจ การใช้สานวนภาษา ดีถูกต้อง การสะกดคาและ ไวยากรณ์ถูกต้อง การใช้สานวนภาษา ดีถูกต้อง 5 ความรับผิดชอบ (น้าหนัก 5คะแนน) สามารถส่งงาน ทันเวลาตาม กาหนด ไม่สามารถส่งงาน ทันกาหนดระยะ 1วัน ไม่สามารถส่งงาน ทันกาหนดระยะ 2-3 วัน ไม่สามารถส่งงาน ตามกาหนด4-5 วัน
  • 6. 5. บันทึกอนุทินหลังการจัดการเรียนรู้ จากการแบ่งงานนักเรียนสามารถทางานโดยการแบ่งงานกันและปรึกษาการทางาน โดยนักเรียน สามารถคัดเลือกโจทย์ออกแบบงาน รวมทั้งสามารถลาดับขั้นตอน เขียนผังงานและเขียนโปรแกรม ได้เป็น อย่างดี อาจจะเป็นเพราะว่านักเรียนเลือก โจทย์และประยุกต์การใช้คาสั่ง ที่ตนเองถนัด 6. ข้อมูลเพิ่มเติม (สามารถใส่ภาพประกอบ วีดีโอเบื้องหลัง แผนการสอน หรือ อื่น ๆ ประกอบ เล่าเรื่องให้คณะกรรมการเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดาเนินการได้เข้าใจที่ชัดเจนขึ้น)
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น ม. 4 ภาคเรียนที่ 2/2557 รหัสวิชา ง31102ชื่อรายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 10 การประยุกต์ใช้โปรแกรม จานวน 6 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 10 บูรณาการการใช้โปรแกรม เวลา 6 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลการ เรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม ตัวชี้วัด เขียนโปรแกรมภาษา สาระสาคัญ การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษ าซีนั้นจะมี รูปแบบขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม จึงจาเป็น จะต้องมีการใช้คาสั่งต่าง ๆ ในการเขียน ควบคุมการทางา น ของโปรแกรมเพื่อให้แสดงผลลัพธ์ที่ต้องการได้อย่าง ถูกต้อง ดังนั้นดังนั้น จึงต้องเข้าใจ กระบวนการพัฒนาโปรแกรม และรูปแบบในการเขียนเพื่อนาไปใช้ในการเขียน โปรแกรมภาษาซี ขั้นสูงต่อไป จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้คาสั่งในภาษาซีได้ 2. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมภาษาซีได้ สาระการเรียนรู้ 1. การประยุกต์ใช้คาสั่งภาษาในซีการเขียนโปรแกรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน หลักฐานการเรียนรู้ ชิ้นงาน /ภาระงาน
  • 25. นักเรียนคิด โจทย์ การประยุกต์ใช้ เกี่ยวกับคาสั่งที่ได้เรียน โดยใช้กรณีศึกษาโดยให้ตั้งโจทย์เอง /หรือ ประยุกต์การใช้ โดย นาเสนอเป็นวีดีโอดังนี้ 1.1 ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ใช้ 1.2 ลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงาน 1.3 เขียนโปรแกรมตามที่ออกแบบไว้ การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดผลและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมเรียนรู้ 1.1 ความสามารถในการประยุกต์การเขียนโปรแกรมซี 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล 2.1 แบบประเมินความสามารถในการประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม 3. การวัดและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.1 คะแนนจากแบบประเมินความสามารถในการประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม กิจกรรมการเรียนรู้ เวลา 6 ชั่วโมง ขั้นตอนที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูยกตัวอย่างในการเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อประยุกต์ใช้คาสั่งต่าง ๆ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นสอน 1. ครูยกตัวอย่างการใช้คาสั่ง ต่างๆ ของคาสั่งภาษาซี และการประยุกต์ใช้ 2. ครูให้นักเรียน แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน 3. ครูให้นักเรียนคิด โจทย์ การประยุกต์ใช้ เกี่ยวกับคาสั่งที่ได้เรียน โดยใช้กรณีศึกษาโดยให้ตั้งโจทย์เอง /หรือ ประยุกต์การใช้ โดย นาเสนอเป็นวีดีโอดังนี้ 3.1 ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ใช้ 3.2 ลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงาน 3.3 เขียนโปรแกรมตามที่ออกแบบไว้
  • 26. 4. นาเสนองานโดยใช้โปรแกรมตัดต่อนาเสนอ โดยมีการเรียนรู้ดังต่อไปนี้โดยแบ่งบทบาทดังนี้ บทบาทนักเรียน บทบาทครู P(plan) 4.1 ให้นักเรียน กาหนดเป้าหมาย ออกแบบรายงาน 4.2 ให้นักเรียน ออกแบบและวางแผนการ สร้างชิ้นงาน ดาเนินการสืบค้นหาโจทย์ และออกแบบ วางแผนการสร้างชิ้นงาน C สร้าง (Create) 4.3 ให้นักเรียน เลือกใช้เครื่องมือในการ นาเสนอ เช่น โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ โปรแกรมจับจอภาพ และอื่น ๆ ที่ตนเอง ถนัด 4.4 ให้นักเรียนปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ โดยใช้นักเรียนเขียน สคริป การ ออกแบบ เพื่อที่จะนาเสนอ 4.5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ทา ตามสคริป 4.6 สร้างชิ้นงาน/แก้ปัญหา R ไตร่ตรอง (Reflect) 4.7 ปรับปรุงชิ้นงานตามข้อเสนอแนะ 4.8 นาเสนอความก้าวหน้าของชิ้นงาน P เผยแพร่ (Publish) 4.9 นาเสนอชิ้นงาน วิดีโอ ที่เสร็จแล้ว 4.10 แบ่งบัน เผยแพร่ วีดิโอ ผ่านทางการ นาเสนอ YouTube 4.11 แลกเปลี่ยน เรียนรู้ Know(มีความรู้) -ตรวจสอบความรู้เดิม -ให้ข้อมูลพื้นฐาน -ให้ข้อมูลเสริม -สอนเพิ่มเติม Facilitator(อานวยความสะดวก) -ผู้อานวยความสะดวก -ส่งเสริมสนับสนุนทาให้งาน Context จัดบริบทการเรียนรู้ -จัดหา /จัดเตรียมแหล่งเรียนรู้ -จัดหา/จัดเตรียมเครื่องมือการเรียนรู้ -จัดหา/เตรียมสถานที่ทั้งในและนอกชั้นเรียน Assessment ประเมิน -มีการประเมินหลายมิติ -ใช้วิธีการประเมินหลากหลาย -ติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน ขั้นตอนที่ 3 ขั้นสรุป 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้และตรวจสอบองค์ความรู้ที่ได้รับจาการประยุกต์ใช้คาสั่งภาษาซีใน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  • 27. สื่อการเรียนรู้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ 2. โปรแกรมภาษาซี 3. โปรแกรมสื่อนาเสนอ เช่น PowerPoint , วีดีโอ แหล่งเรียนรู้ 1. เว็บไซต์ต่างๆ ในอินเตอร์เน็ต 7. รายชื่อเจ้าของผลงาน นายพนภาค ผิวเกลี้ยง ตาแหน่งครูชานาญการ สอนวิชาคอมพิวเตอร์ หมายเลขโทรศัพท์ 0871664787 e-mail panaphak@live.com,panaphak@gmail.com