SlideShare a Scribd company logo
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
1 
บทที่ 1 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต 
ระบบอินเตอร์เน็ต 
อินเตอร์เน็ต หมายถึง ระบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมโยงระบบ 
ครอบคลุมทั่วโลก โดยจะต้องต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งที่อยู่ในที่อาศัยหรือบริษัทองค์กรต่าง ๆ 
เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารหรือการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ 
ซึ่งระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงต่อกันทั่วโลกจะเรียกว่าระบบเครือข่าย (Network) เครือข่ายที่เชื่อมโยง 
ระบบการทำงานของอินเตอร์เน็ตจะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมการทำงานของข่ายงานทั่ว 
โลก ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ โมเด็ม เป็นตัวกลางในการแปลงสัญญาณส่งไปทางสายโทรศัพท์ ก็จะ 
ทำให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างง่ายดาย 
ความหมาย อินเตอร์เน็ตคือระบบเครือข่ายของข้อมูลและคอมพิวเตอร์ สาธารณะขนาดใหญ่ 
ที่เกิดจากระบบเครือข่ายขนาดเล็ก ๆ หลาย ๆ เครือข่ายที่อาศัยมาตรฐานการเชื่อมต่อแบบเดียวกัน 
ต่อเชื่อมเข้าหากันเพื่อให้บริการข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการ โดยไม่มีใครเป็นเจ้าของหรือผู้ดูแลอินเตอร์เน็ตแต่ 
เพียงผู้เดียว อาสน์ทิพย์ ภิญโญยิ่ง (2544, 1-24) 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต 
ยุคข้อมูลข่าวสารหรืออาจเรียกว่า ยุคสารสนเทศ มีผลต่อการพัฒนาสังคมในด้านต่าง ๆ 
มากมายและมีเทคโนโลยีทางด้านสารสนเทศทีเกี่ยวข้องกับการสื่อสารข้อมูล จัดเก็บ บันทึก 
ประมวลผลรวมทั้งการเสนอผลข้อมูล เรียกว่าเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีทางการ 
สื่อสารด้านอิเล็กทรอนิคส์ประเภทหนึ่ง ที่มนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นเพื่อใช้ใน การเก็บข้อมูล 
รวมทั้งยังปรับปรุงแก้ไข รวบรวม คำนวณ ออกแบบข้อมูลต่าง ๆ ได้ และยังให้ความสะดวกสบายใน 
การทำงานเพราะสามารถสร้างสรรค์งานได้อย่างรวดเร็ว และ มีประสิทธิภาพตามที่เราต้องการแต่ 
ปัจจัยหนึ่งที่สำคัญคือผู้ใช้งานจะต้องมีความรู้ในการใช้งานเป็นอย่างดีจึงทำให้การทำงานมีคุณภาพ 
มากยิ่งขึ้น 
เมื่อคนเราได้รู้จักการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อทำงานตามความต้องการแล้วยังได้นำเอาเทคโนโลยี 
ทางคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการทำการติดต่อสื่อสาร ที่ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันและ 
กันจาก ซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งที่อยู่หางไกลกันมาก ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการใช้ 
คอมพิวเตอร์ในรูปแบบนี้เราเรียกว่า “อินเตอร์เน็ต” (Internet)
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
2 
ประวัติความเป็นมาของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 
จุดกำเนิดเริ่มแรกของอินเตอร์เน็ตนั้น เกิดขึ้นจากวัตถุประสงค์ทางการทหารและความมั่นคง 
ของประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าหากันแม้จะมีระบบที่ 
แตกต่างกันและสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้แม้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งในระบบ 
ที่ต่ออยู่จะไม่สามารถทำงานได้ และการพัฒนาการของระบบก็มีมาอย่างต่อเนื่องดังนี้ 
พ.ศ.2512 หน่วยงาน ARPA (Advance Research Project Agency) ซึ่งเป็นผู้ที่ดำเนินการวิจัย 
ทางด้านวิทยาศาสตร์ของสหรัฐ ได้ริเริ่มโครงการที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ มีชื่อโครงการว่า 
ARPANet ผู้ที่ทำโครงการนี้ก็คือผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในมหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการ ในระยะแรกใช้ 
สายโทรศัพท์ในการต่อเชื่อมผ่านโปรโตคอล(Protocol) NCP (Network Control Protocol) และ 
จำกัดจำนวนเครื่องที่สามารถต่อเข้าในระบบด้วย 
พ.ศ.2514 มีการสร้างโปรแกรมรับส่ง e-mail เพื่อสื่อสารกันระหว่างระบบเครือข่ายต่าง ๆ 
พ.ศ.2516 ARPANet ได้เชื่อมต่อไปยังประเทศ อังกฤษและนอร์เวย์ 
พ.ศ.2525 ARPANet เปลี่ยนจาก NCP มาเป็น TCP/IP (Transmission Control Protocol/ 
Internet Protocol) 
พ.ศ.2527 มีการเริ่มใช้ระบบ DNS(Domain Name Server) 
พ.ศ.2529 ก่อตั้ง NSFNET (National Science Foundation Network) มีความเร็ว 56 Kbps. เพื่อ 
เชื่อมต่อเครื่อง supercomputer จากสถาบันต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และได้ชื่อว่าเป็น backbone ที่ 
สำคัญของระบบอินเตอร์เน็ต 
พ.ศ.2530 หน่วยงาน Merit Network ได้เข้ามาเป็นผู้ดูแล NSFNET 
พ.ศ.2532 NSFNET เพิ่มความเร็วเครือข่ายเป็น 1.544 Mbps จำนวนเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าสู่ 
อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นเป็น 100,000 เครื่อง 
พ.ศ.2533 ARPANet หยุดดำเนินการ 
พ.ศ.2534 มีการก่อตั้ง NERN (National Research and Education Network) จำนวนเครื่องที่ 
ต่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 376,000 เครื่องในเดือนมกราคม เป็น 
617,000 เครื่องในเดือน ตุลาคม 
พ.ศ.2535 มีการเริ่มใช้ www ที่ CERN (the European Laboratory for Particle Physics) 
NSFNET เพิ่มความเร็วเป็น 44.736 Mbps จำนวนเครื่องที่ต่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตเพิ่มขึ้นถึง 
1,000,000 เครื่อง 
พ.ศ.2536 NSF ก่อตั้ง InterNIC เพื่อเป็นผู้ดำเนินการเรื่องการแจกจ่ายชื่อโดเมน บริษัทและผู้สนใจ 
ต่าง ๆ เริ่มเชื่อมต่อตัวเองเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต 
พ.ศ.2537 NCSC (National Center for Computing at University of Illinois) สร้างโปรแกรม 
Mosaic เป็นโปรแกรม Web browser เริ่มมีการทำการค้าขายผ่านอินเตอร์เน็ต และ มีโปรแกรมที่ 
ช่วยสำหรับค้นหาข้อมูลเกิดขึ้น 
พ.ศ.2538 ยกเลิกโครงการ NSFNET และเปลี่ยนไปลงทุนกับโครงการ vBNS (Very-High-Speed 
Backbone Network Service) เพื่อเป็น backbone ให้แก่อินเตอร์เน็ตในอนาคต
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
3 
พื้นฐานการทำงานของระบบอินเตอร์เน็ต 
ระบบอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันนั้นอาศัยโปรโตคอล TCP/IP เป็นหลัก สิ่งสำคัญที่ควรทราบ 
เกี่ยวกับโปรโตคอล TCP/IP ก็คือ การต่อเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ใดเข้าสู่ระบบเครือข่าย 
ที่เป็น TCP/IP นั้นทุกเครื่องจะต้องมีหมายเลขกำกับเสมอ เพื่อระบุแหล่งที่มาของข้อมูลหมายเลขที่ 
กำกับนี้มีชื่อว่าหมายเลย IP หมายเลขนี้จะเป็นเลขฐาน 2 ขนาด 32 บิตสามารถเขียนได้เป็นเลขฐาน 
2 จำนวน 4 ชุดแยกจากกันโดยใช้จุดคั่นเลขแต่ละชุดสามารถ สามารถเปลี่ยนได้ตั้งแต่ 0-255 เช่น 
192.150.249.11, 64.4.43.7 เป็นต้น 
1111111 
1 
. 1111111 
1 
. 1111111 
1 
. 111111112 
255 . 255 . 255 . 255 
จากหมายเลข IP ขนาด 32 บิตที่ใช้ในปัจจุบันทำให้สามารถมีจำนวนเครื่องที่เข้าใช้ ได้จำนวนหลาย 
พันล้านเครื่องแล้วแต่จำนวนขนาดนี้ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการทำให้ต้องมีโครงการขยาย 
หมายเลข IP ออกไปอีกในปัจจุบัน ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่ทุกเครื่องที่สามารถต่อเข้าสู่ระบบ 
อินเตอร์เน็ตได้ จะต้องมีหมายเลข IP ด้วยเสมอสามารถดูได้จากโปรแกรมที่เตรียมไว้ในเครื่อง เช่นใน 
ระบบ windows จะใช้คำสั่ง winipcfg สามารถเข้าไปที่ Start / Run / winipcfg แล้วกด ok จะมี 
หน้าต่างแสดงข้อมูลเกี่ยวกับหมายเลข IP ปรากฏขึ้นมาดังภาพ 
ถ้าเป็นระบบอื่น ๆ ก็จะใช้คำสั่งที่แตกต่างกันไปสามารถตรวจสอบได้จากคู่มือที่มากับเครื่อง
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
4 
มารยาทการใช้ Internet 
จรรยามารยาทบนอินเตอร์เน็ต (Netiquette) ทุกวันนี้อินเตอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทและ 
ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในแทบทุกด้าน รวมทั้งได้ก่อให้เกิดประเด็นปัญหาขึ้นใน 
สังคม ไม่ว่าในเรื่อง ความเป็นส่วนตัว ความปลอดภัย เสรีภาพของการพูดอ่านเขียน ความซื่อสัตย์ 
รวมถึงความตระหนักในเรื่องพฤติกรรมที่เราปฏิบัติต่อกันและกันในสังคมอินเตอร์เน็ต ในบทความนี้ 
ผู้เขียนขอทบทวนเรื่อง จรรยามารยาทบนอินเตอร์เน็ตหรือที่เรียกกันในกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เน็ตว่า 
“Netiquette” เพื่อให้เป็นของฝากสำหรับสมาชิกใหม่ที่เรียกกันว่า “Net Newbies” และให้เป็นของ 
แถมเพื่อการทบทวนสำหรับนักท่องเน็ตที่เป็น “ขาประจำ” 
Netiquette คืออะไร 
Netiquette เป็นคำที่มาจาก “network etiquette” หมายถึง จรรยามารยาทของการอยู่ 
ร่วมกันในสังคมอินเตอร์เน็ต หรือ cyberspace ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เปิดโอกาสให้ผู้คนเข้ามาแลกเปลี่ยน 
สื่อสาร และทำกิจกรรมรวมกัน ชุมชนใหญ่บ้างเล็กบ้างบนอินเตอร์เน็ตนั้น ก็ไม่ต่างจากสังคมบนโลก 
แห่งความเป็นจริง ที่จำเป็นต้องมีกฎกติกา (codes of conduct) เพื่อใช้เป็นกลไกสำหรับการกำกับ 
ดูแลพฤติกรรมและการปฏิสัมพันธ์ของสมาชิก 
บัญญัติ 10 ประการสำหรับผู้เริ่มต้น 
ถ้าศึกษาค้นคว้าในเรื่อง Netiquette บนเว็บ จะพบการอ้างอิงและกล่าวถึง The Core 
Rules of Netiquette จากหนังสือเรื่อง “Netiquette” เขียนโดย Virginia Shea ซึ่งเธอได้บัญญัติ 
กฎกติกาที่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตพึงตระหนักและยึดเป็นแนวปฏิบัติ 10 ข้อ ดังนี้ 
• Remember the Human 
กฏข้อที่ 1 เป็นข้อเตือนใจสำหรับผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ในขณะที่เรานั่งพิมพ์ข้อความเพื่อ 
ติดต่อสื่อสารผ่านจอคอมพิวเตอร์นั้น ต้องไม่ลืมว่าปลายทางอีกด้านหนึ่งของการสื่อสารนั้นที่จริงแล้วก็ 
คือ “มนุษย์” 
• Adhere to the same standards of behavior online that you follow in real 
life 
กฎข้อที่ 2 เป็นหลักคิดง่าย ๆ ที่อาจจะยึดเป็นแนวปฏิบัติ หากไม่รู้ว่าควรจะทำตัวอย่างไร ก็ 
ให้ยึดกติกามารยาทที่เราถือปฏิบัติในสังคมมาเป็นบรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกันแบบออนไลน์ 
• Know where you are in cyberspace 
กฎข้อที่ 3 เป็นข้อแนะนำให้เราใช้งานอย่างมีสติ รู้ตัวว่าเรากำลังอยู่ ณ ที่ใด เมื่อเข้าในพื้นที่ 
ใหม่ ควรศึกษาและทำความรู้จักกับชุมชนนั้น ก่อนที่จะเข้าร่วมสนทนาหรือทำกิจกรรมใด ๆ
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
5 
• Respect other people's time and bandwidth 
กฎข้อที่ 4 ให้รู้จักเคารพผู้อื่นด้วยการตระหนักในเรื่องเวลา ซึ่งจะสัมพันธ์กับขนาดช่องสัญญาณของ 
การเข้าถึงเครือข่าย นั่นคือ ให้คำนึงถึงสาระเนื้อหาที่จะส่งออกไป ไม่ว่าจะเป็นในกลุ่มสนทนาหรือการ 
ส่งอีเมล เราควรจะ “คิดสักนิดก่อน submit” ใช้เวลาตรึกตรองสักหน่อยว่า ข้อความเหล่านั้น 
เหมาะสมหรือมีสารประโยชน์กับใครมากน้อยเพียงใด 
• Make yourself look good online 
กฎข้อที่ 5 เป็นข้อแนะนำผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเกี่ยวกับการเขียนและการใช้ภาษา เนื่องจาก 
ปัจจุบันวิธีการสื่อสารบนเน็ตใช้การเขียนและข้อความเป็นหลัก การตัดสินว่าคนที่เราติดต่อสื่อสารด้วย 
เป็นคนแบบใด จะอาศัยสาระเนื้อหารวมทั้งคำที่ใช้ ดังนั้น ถ้าจะให้ “ดูดี” ก็ควรใช้ถ้อยคำที่เหมาะสม 
และตรวจสอบคำสะกดให้ถูกต้อง 
• Share expert knowledge 
กฎข้อที่ 6 เป็นข้อแนะนำให้เรารู้จักใช้จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบของอินเตอร์เน็ต นั่นคือ การใช้ 
เครือข่ายเพื่อเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยน ”ความรู้” รวมทั้งประสบการณ์กับผู้คนจำนวนมาก ๆ ซึ่ง 
เป็นแนวคิดที่ถือว่าเป็นจุดกำเนิดของอินเตอร์เน็ตนั่นเอง 
• Help keep flame wars under control 
กฎข้อที่ 7 เป็นข้อคิดที่ต้องการให้ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตได้ร่วมมือกันเพื่อช่วยควบคุมและลดปัญหา 
ที่อาจเกิดขึ้นจากการส่งความคิดเห็นด้วยการใช้คำที่หยาบคาย เติมอารมณ์ความรู้สึกอย่างรุนแรงจน 
เป็นชนวนให้เกิดกรณีทะเลาะวิวาทกันในกลุ่มสมาชิก ซึ่งรู้จักกันในกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เน็ตว่า “flame” 
• Respect other people's privacy 
กฎข้อที่ 8 เป็นคำเตือนให้เรารู้จักเคารพในความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น เช่นไม่อ่านอีเมลของ 
ผู้อื่น เป็นต้น 
• Don't abuse your power 
กฎข้อที่ 9 เป็นคำเตือนสำหรับผู้ที่ได้รับสิทธิพิเศษ เช่น ผู้ดูแลระบบบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งมักจะ 
ได้รับสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่น บุคคลเหล่านี้ก็ไม่ควรใช้อำนาจหรือสิทธิ์ที่ได้รับไปในทางที่ไม่ 
ถูกต้องและเป็นการเอาเปรียบผู้อื่น 
• Be forgiving of other people's mistakes 
กฎข้อที่ 10 เป็นคำแนะนำให้เรารู้จักให้อภัยผู้อื่น โดยเฉพาะพวก newbies ในกรณีที่พบว่า 
เขาทำผิดพลาดหรือไม่เหมาะสม และหากมีโอกาสแนะนำคนเหล่านั้น ก็ควรจะชี้ข้อผิดพลาดและให้ 
คำแนะนำอย่างสุภาพ โดยอาจส่งข้อความแจ้งถึงผู้นั้นโดยตรงผ่านทางอีเมล์
หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 
6 
คำถามท้ายบท 
1. ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของ Internet 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
2. ให้นักศึกษาอธิบายความสำคัญของ Internet 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
3. ให้นักศึกษาอธิบายเกี่ยวกับมารยาทการใช้งาน Internet 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
......................................................................................................................................

More Related Content

What's hot

รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Krittalak Chawat
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
niramon_gam
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)Krusine soyo
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
Theruangsit
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Happy Sara
 
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตหน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
Por Oraya
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4Chutikan Mint
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 

What's hot (19)

รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตหน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
0
00
0
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 

Viewers also liked

เฉลยศิลป์ ดนตรี นาฏ 2
เฉลยศิลป์ ดนตรี นาฏ 2เฉลยศิลป์ ดนตรี นาฏ 2
เฉลยศิลป์ ดนตรี นาฏ 2peter dontoom
 
ภาพคนเหมือน
ภาพคนเหมือนภาพคนเหมือน
ภาพคนเหมือนpeter dontoom
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 
ทักษะการเรียนรู้ กศน
ทักษะการเรียนรู้ กศนทักษะการเรียนรู้ กศน
ทักษะการเรียนรู้ กศน
peter dontoom
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
คำศัพท์ ม.ต้น.ภาค 2
คำศัพท์ ม.ต้น.ภาค 2คำศัพท์ ม.ต้น.ภาค 2
คำศัพท์ ม.ต้น.ภาค 2peter dontoom
 
เทคโนชีวภาพ
เทคโนชีวภาพเทคโนชีวภาพ
เทคโนชีวภาพ
peter dontoom
 
เทคโนให้รู้
เทคโนให้รู้เทคโนให้รู้
เทคโนให้รู้peter dontoom
 
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ กศน ปลาย
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ กศน ปลายข้อสอบปลายภาคศิลป์ กศน ปลาย
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ กศน ปลายpeter dontoom
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อpeter dontoom
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์peter dontoom
 
การเขียนภาพประกอบเรื่อง
การเขียนภาพประกอบเรื่องการเขียนภาพประกอบเรื่อง
การเขียนภาพประกอบเรื่องpeter dontoom
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
peter dontoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
peter dontoom
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
peter dontoom
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 

Viewers also liked (18)

เฉลยศิลป์ ดนตรี นาฏ 2
เฉลยศิลป์ ดนตรี นาฏ 2เฉลยศิลป์ ดนตรี นาฏ 2
เฉลยศิลป์ ดนตรี นาฏ 2
 
ภาพคนเหมือน
ภาพคนเหมือนภาพคนเหมือน
ภาพคนเหมือน
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 
ทักษะการเรียนรู้ กศน
ทักษะการเรียนรู้ กศนทักษะการเรียนรู้ กศน
ทักษะการเรียนรู้ กศน
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คำศัพท์ ม.ต้น.ภาค 2
คำศัพท์ ม.ต้น.ภาค 2คำศัพท์ ม.ต้น.ภาค 2
คำศัพท์ ม.ต้น.ภาค 2
 
Chap7
Chap7Chap7
Chap7
 
เทคโนชีวภาพ
เทคโนชีวภาพเทคโนชีวภาพ
เทคโนชีวภาพ
 
เทคโนให้รู้
เทคโนให้รู้เทคโนให้รู้
เทคโนให้รู้
 
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ กศน ปลาย
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ กศน ปลายข้อสอบปลายภาคศิลป์ กศน ปลาย
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ กศน ปลาย
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
การเขียนภาพประกอบเรื่อง
การเขียนภาพประกอบเรื่องการเขียนภาพประกอบเรื่อง
การเขียนภาพประกอบเรื่อง
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
ทช31003
ทช31003ทช31003
ทช31003
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 

Similar to อินเตอร์เนต1

ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
Sutin Yotyavilai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัยMeaw Sukee
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
burin rujjanapan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 

Similar to อินเตอร์เนต1 (20)

ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
Ch02
Ch02Ch02
Ch02
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 
้html
้html้html
้html
 

More from peter dontoom

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
peter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
peter dontoom
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
peter dontoom
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
peter dontoom
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
peter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
peter dontoom
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
peter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
peter dontoom
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
peter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

อินเตอร์เนต1

  • 1. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 1 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต ระบบอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต หมายถึง ระบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมโยงระบบ ครอบคลุมทั่วโลก โดยจะต้องต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งที่อยู่ในที่อาศัยหรือบริษัทองค์กรต่าง ๆ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกในการให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารหรือการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงต่อกันทั่วโลกจะเรียกว่าระบบเครือข่าย (Network) เครือข่ายที่เชื่อมโยง ระบบการทำงานของอินเตอร์เน็ตจะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมการทำงานของข่ายงานทั่ว โลก ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ โมเด็ม เป็นตัวกลางในการแปลงสัญญาณส่งไปทางสายโทรศัพท์ ก็จะ ทำให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างง่ายดาย ความหมาย อินเตอร์เน็ตคือระบบเครือข่ายของข้อมูลและคอมพิวเตอร์ สาธารณะขนาดใหญ่ ที่เกิดจากระบบเครือข่ายขนาดเล็ก ๆ หลาย ๆ เครือข่ายที่อาศัยมาตรฐานการเชื่อมต่อแบบเดียวกัน ต่อเชื่อมเข้าหากันเพื่อให้บริการข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการ โดยไม่มีใครเป็นเจ้าของหรือผู้ดูแลอินเตอร์เน็ตแต่ เพียงผู้เดียว อาสน์ทิพย์ ภิญโญยิ่ง (2544, 1-24) ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต ยุคข้อมูลข่าวสารหรืออาจเรียกว่า ยุคสารสนเทศ มีผลต่อการพัฒนาสังคมในด้านต่าง ๆ มากมายและมีเทคโนโลยีทางด้านสารสนเทศทีเกี่ยวข้องกับการสื่อสารข้อมูล จัดเก็บ บันทึก ประมวลผลรวมทั้งการเสนอผลข้อมูล เรียกว่าเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีทางการ สื่อสารด้านอิเล็กทรอนิคส์ประเภทหนึ่ง ที่มนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นเพื่อใช้ใน การเก็บข้อมูล รวมทั้งยังปรับปรุงแก้ไข รวบรวม คำนวณ ออกแบบข้อมูลต่าง ๆ ได้ และยังให้ความสะดวกสบายใน การทำงานเพราะสามารถสร้างสรรค์งานได้อย่างรวดเร็ว และ มีประสิทธิภาพตามที่เราต้องการแต่ ปัจจัยหนึ่งที่สำคัญคือผู้ใช้งานจะต้องมีความรู้ในการใช้งานเป็นอย่างดีจึงทำให้การทำงานมีคุณภาพ มากยิ่งขึ้น เมื่อคนเราได้รู้จักการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อทำงานตามความต้องการแล้วยังได้นำเอาเทคโนโลยี ทางคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการทำการติดต่อสื่อสาร ที่ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันและ กันจาก ซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งที่อยู่หางไกลกันมาก ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการใช้ คอมพิวเตอร์ในรูปแบบนี้เราเรียกว่า “อินเตอร์เน็ต” (Internet)
  • 2. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 2 ประวัติความเป็นมาของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จุดกำเนิดเริ่มแรกของอินเตอร์เน็ตนั้น เกิดขึ้นจากวัตถุประสงค์ทางการทหารและความมั่นคง ของประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าหากันแม้จะมีระบบที่ แตกต่างกันและสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้แม้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งในระบบ ที่ต่ออยู่จะไม่สามารถทำงานได้ และการพัฒนาการของระบบก็มีมาอย่างต่อเนื่องดังนี้ พ.ศ.2512 หน่วยงาน ARPA (Advance Research Project Agency) ซึ่งเป็นผู้ที่ดำเนินการวิจัย ทางด้านวิทยาศาสตร์ของสหรัฐ ได้ริเริ่มโครงการที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ มีชื่อโครงการว่า ARPANet ผู้ที่ทำโครงการนี้ก็คือผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในมหาวิทยาลัยที่ร่วมโครงการ ในระยะแรกใช้ สายโทรศัพท์ในการต่อเชื่อมผ่านโปรโตคอล(Protocol) NCP (Network Control Protocol) และ จำกัดจำนวนเครื่องที่สามารถต่อเข้าในระบบด้วย พ.ศ.2514 มีการสร้างโปรแกรมรับส่ง e-mail เพื่อสื่อสารกันระหว่างระบบเครือข่ายต่าง ๆ พ.ศ.2516 ARPANet ได้เชื่อมต่อไปยังประเทศ อังกฤษและนอร์เวย์ พ.ศ.2525 ARPANet เปลี่ยนจาก NCP มาเป็น TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) พ.ศ.2527 มีการเริ่มใช้ระบบ DNS(Domain Name Server) พ.ศ.2529 ก่อตั้ง NSFNET (National Science Foundation Network) มีความเร็ว 56 Kbps. เพื่อ เชื่อมต่อเครื่อง supercomputer จากสถาบันต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และได้ชื่อว่าเป็น backbone ที่ สำคัญของระบบอินเตอร์เน็ต พ.ศ.2530 หน่วยงาน Merit Network ได้เข้ามาเป็นผู้ดูแล NSFNET พ.ศ.2532 NSFNET เพิ่มความเร็วเครือข่ายเป็น 1.544 Mbps จำนวนเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าสู่ อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นเป็น 100,000 เครื่อง พ.ศ.2533 ARPANet หยุดดำเนินการ พ.ศ.2534 มีการก่อตั้ง NERN (National Research and Education Network) จำนวนเครื่องที่ ต่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก 376,000 เครื่องในเดือนมกราคม เป็น 617,000 เครื่องในเดือน ตุลาคม พ.ศ.2535 มีการเริ่มใช้ www ที่ CERN (the European Laboratory for Particle Physics) NSFNET เพิ่มความเร็วเป็น 44.736 Mbps จำนวนเครื่องที่ต่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตเพิ่มขึ้นถึง 1,000,000 เครื่อง พ.ศ.2536 NSF ก่อตั้ง InterNIC เพื่อเป็นผู้ดำเนินการเรื่องการแจกจ่ายชื่อโดเมน บริษัทและผู้สนใจ ต่าง ๆ เริ่มเชื่อมต่อตัวเองเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต พ.ศ.2537 NCSC (National Center for Computing at University of Illinois) สร้างโปรแกรม Mosaic เป็นโปรแกรม Web browser เริ่มมีการทำการค้าขายผ่านอินเตอร์เน็ต และ มีโปรแกรมที่ ช่วยสำหรับค้นหาข้อมูลเกิดขึ้น พ.ศ.2538 ยกเลิกโครงการ NSFNET และเปลี่ยนไปลงทุนกับโครงการ vBNS (Very-High-Speed Backbone Network Service) เพื่อเป็น backbone ให้แก่อินเตอร์เน็ตในอนาคต
  • 3. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 3 พื้นฐานการทำงานของระบบอินเตอร์เน็ต ระบบอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันนั้นอาศัยโปรโตคอล TCP/IP เป็นหลัก สิ่งสำคัญที่ควรทราบ เกี่ยวกับโปรโตคอล TCP/IP ก็คือ การต่อเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ใดเข้าสู่ระบบเครือข่าย ที่เป็น TCP/IP นั้นทุกเครื่องจะต้องมีหมายเลขกำกับเสมอ เพื่อระบุแหล่งที่มาของข้อมูลหมายเลขที่ กำกับนี้มีชื่อว่าหมายเลย IP หมายเลขนี้จะเป็นเลขฐาน 2 ขนาด 32 บิตสามารถเขียนได้เป็นเลขฐาน 2 จำนวน 4 ชุดแยกจากกันโดยใช้จุดคั่นเลขแต่ละชุดสามารถ สามารถเปลี่ยนได้ตั้งแต่ 0-255 เช่น 192.150.249.11, 64.4.43.7 เป็นต้น 1111111 1 . 1111111 1 . 1111111 1 . 111111112 255 . 255 . 255 . 255 จากหมายเลข IP ขนาด 32 บิตที่ใช้ในปัจจุบันทำให้สามารถมีจำนวนเครื่องที่เข้าใช้ ได้จำนวนหลาย พันล้านเครื่องแล้วแต่จำนวนขนาดนี้ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการทำให้ต้องมีโครงการขยาย หมายเลข IP ออกไปอีกในปัจจุบัน ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่ทุกเครื่องที่สามารถต่อเข้าสู่ระบบ อินเตอร์เน็ตได้ จะต้องมีหมายเลข IP ด้วยเสมอสามารถดูได้จากโปรแกรมที่เตรียมไว้ในเครื่อง เช่นใน ระบบ windows จะใช้คำสั่ง winipcfg สามารถเข้าไปที่ Start / Run / winipcfg แล้วกด ok จะมี หน้าต่างแสดงข้อมูลเกี่ยวกับหมายเลข IP ปรากฏขึ้นมาดังภาพ ถ้าเป็นระบบอื่น ๆ ก็จะใช้คำสั่งที่แตกต่างกันไปสามารถตรวจสอบได้จากคู่มือที่มากับเครื่อง
  • 4. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 4 มารยาทการใช้ Internet จรรยามารยาทบนอินเตอร์เน็ต (Netiquette) ทุกวันนี้อินเตอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทและ ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในแทบทุกด้าน รวมทั้งได้ก่อให้เกิดประเด็นปัญหาขึ้นใน สังคม ไม่ว่าในเรื่อง ความเป็นส่วนตัว ความปลอดภัย เสรีภาพของการพูดอ่านเขียน ความซื่อสัตย์ รวมถึงความตระหนักในเรื่องพฤติกรรมที่เราปฏิบัติต่อกันและกันในสังคมอินเตอร์เน็ต ในบทความนี้ ผู้เขียนขอทบทวนเรื่อง จรรยามารยาทบนอินเตอร์เน็ตหรือที่เรียกกันในกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เน็ตว่า “Netiquette” เพื่อให้เป็นของฝากสำหรับสมาชิกใหม่ที่เรียกกันว่า “Net Newbies” และให้เป็นของ แถมเพื่อการทบทวนสำหรับนักท่องเน็ตที่เป็น “ขาประจำ” Netiquette คืออะไร Netiquette เป็นคำที่มาจาก “network etiquette” หมายถึง จรรยามารยาทของการอยู่ ร่วมกันในสังคมอินเตอร์เน็ต หรือ cyberspace ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เปิดโอกาสให้ผู้คนเข้ามาแลกเปลี่ยน สื่อสาร และทำกิจกรรมรวมกัน ชุมชนใหญ่บ้างเล็กบ้างบนอินเตอร์เน็ตนั้น ก็ไม่ต่างจากสังคมบนโลก แห่งความเป็นจริง ที่จำเป็นต้องมีกฎกติกา (codes of conduct) เพื่อใช้เป็นกลไกสำหรับการกำกับ ดูแลพฤติกรรมและการปฏิสัมพันธ์ของสมาชิก บัญญัติ 10 ประการสำหรับผู้เริ่มต้น ถ้าศึกษาค้นคว้าในเรื่อง Netiquette บนเว็บ จะพบการอ้างอิงและกล่าวถึง The Core Rules of Netiquette จากหนังสือเรื่อง “Netiquette” เขียนโดย Virginia Shea ซึ่งเธอได้บัญญัติ กฎกติกาที่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตพึงตระหนักและยึดเป็นแนวปฏิบัติ 10 ข้อ ดังนี้ • Remember the Human กฏข้อที่ 1 เป็นข้อเตือนใจสำหรับผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ในขณะที่เรานั่งพิมพ์ข้อความเพื่อ ติดต่อสื่อสารผ่านจอคอมพิวเตอร์นั้น ต้องไม่ลืมว่าปลายทางอีกด้านหนึ่งของการสื่อสารนั้นที่จริงแล้วก็ คือ “มนุษย์” • Adhere to the same standards of behavior online that you follow in real life กฎข้อที่ 2 เป็นหลักคิดง่าย ๆ ที่อาจจะยึดเป็นแนวปฏิบัติ หากไม่รู้ว่าควรจะทำตัวอย่างไร ก็ ให้ยึดกติกามารยาทที่เราถือปฏิบัติในสังคมมาเป็นบรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกันแบบออนไลน์ • Know where you are in cyberspace กฎข้อที่ 3 เป็นข้อแนะนำให้เราใช้งานอย่างมีสติ รู้ตัวว่าเรากำลังอยู่ ณ ที่ใด เมื่อเข้าในพื้นที่ ใหม่ ควรศึกษาและทำความรู้จักกับชุมชนนั้น ก่อนที่จะเข้าร่วมสนทนาหรือทำกิจกรรมใด ๆ
  • 5. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 5 • Respect other people's time and bandwidth กฎข้อที่ 4 ให้รู้จักเคารพผู้อื่นด้วยการตระหนักในเรื่องเวลา ซึ่งจะสัมพันธ์กับขนาดช่องสัญญาณของ การเข้าถึงเครือข่าย นั่นคือ ให้คำนึงถึงสาระเนื้อหาที่จะส่งออกไป ไม่ว่าจะเป็นในกลุ่มสนทนาหรือการ ส่งอีเมล เราควรจะ “คิดสักนิดก่อน submit” ใช้เวลาตรึกตรองสักหน่อยว่า ข้อความเหล่านั้น เหมาะสมหรือมีสารประโยชน์กับใครมากน้อยเพียงใด • Make yourself look good online กฎข้อที่ 5 เป็นข้อแนะนำผู้ใช้อินเตอร์เน็ตเกี่ยวกับการเขียนและการใช้ภาษา เนื่องจาก ปัจจุบันวิธีการสื่อสารบนเน็ตใช้การเขียนและข้อความเป็นหลัก การตัดสินว่าคนที่เราติดต่อสื่อสารด้วย เป็นคนแบบใด จะอาศัยสาระเนื้อหารวมทั้งคำที่ใช้ ดังนั้น ถ้าจะให้ “ดูดี” ก็ควรใช้ถ้อยคำที่เหมาะสม และตรวจสอบคำสะกดให้ถูกต้อง • Share expert knowledge กฎข้อที่ 6 เป็นข้อแนะนำให้เรารู้จักใช้จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบของอินเตอร์เน็ต นั่นคือ การใช้ เครือข่ายเพื่อเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยน ”ความรู้” รวมทั้งประสบการณ์กับผู้คนจำนวนมาก ๆ ซึ่ง เป็นแนวคิดที่ถือว่าเป็นจุดกำเนิดของอินเตอร์เน็ตนั่นเอง • Help keep flame wars under control กฎข้อที่ 7 เป็นข้อคิดที่ต้องการให้ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตได้ร่วมมือกันเพื่อช่วยควบคุมและลดปัญหา ที่อาจเกิดขึ้นจากการส่งความคิดเห็นด้วยการใช้คำที่หยาบคาย เติมอารมณ์ความรู้สึกอย่างรุนแรงจน เป็นชนวนให้เกิดกรณีทะเลาะวิวาทกันในกลุ่มสมาชิก ซึ่งรู้จักกันในกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เน็ตว่า “flame” • Respect other people's privacy กฎข้อที่ 8 เป็นคำเตือนให้เรารู้จักเคารพในความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น เช่นไม่อ่านอีเมลของ ผู้อื่น เป็นต้น • Don't abuse your power กฎข้อที่ 9 เป็นคำเตือนสำหรับผู้ที่ได้รับสิทธิพิเศษ เช่น ผู้ดูแลระบบบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งมักจะ ได้รับสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่น บุคคลเหล่านี้ก็ไม่ควรใช้อำนาจหรือสิทธิ์ที่ได้รับไปในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็นการเอาเปรียบผู้อื่น • Be forgiving of other people's mistakes กฎข้อที่ 10 เป็นคำแนะนำให้เรารู้จักให้อภัยผู้อื่น โดยเฉพาะพวก newbies ในกรณีที่พบว่า เขาทำผิดพลาดหรือไม่เหมาะสม และหากมีโอกาสแนะนำคนเหล่านั้น ก็ควรจะชี้ข้อผิดพลาดและให้ คำแนะนำอย่างสุภาพ โดยอาจส่งข้อความแจ้งถึงผู้นั้นโดยตรงผ่านทางอีเมล์
  • 6. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชารายวิชา ทร0217 Internet กับการเรียนรู้ไร้พรมแดน 6 คำถามท้ายบท 1. ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของ Internet ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 2. ให้นักศึกษาอธิบายความสำคัญของ Internet ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 3. ให้นักศึกษาอธิบายเกี่ยวกับมารยาทการใช้งาน Internet ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................