SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ ที 1.1
                              เรือง ความรู้ เบืองต้ นเกียวกับอินเตอร์ เน็ต
สาระสํ าคัญ
         อินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสําคัญต่อชีวิตประจําวันของคนเราเป็ นอย่างมาก เพราะทําให้วิถีชีวิตเรา
ทันสมัยและทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื องจากอินเทอร์ เน็ตจะมีการเสนอข้อมูลข่าวปั จจุบน สารสนเทศทีเสนอใน
                                                                                   ั
อินเทอร์ เน็ตจะมีมากมายหลายรู ปแบบ เพือสนองความสนใจและความต้องการของผูใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ น
                                                                                 ้
แหล่งสารสนเทศสําคัญสําหรับทุกคน เพราะสามารถค้นหาสิ งทีตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ตองเสี ยเวลาเดินทางไป
                                                                                        ้
ค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่การรับรู ้ขาวสารทัวโลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์ เน็ตจากเว็บไซต์ต่างๆ ดังนัน
                                        ่
อินเทอร์ เน็ตจึงมีความสําคัญกับวิถีชีวตของคนเราในปั จจุบนเป็ นอย่างมากในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็ นบุคคลทีอยูใน
                                      ิ                 ั                                               ่
วงการธุ รกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์ เน็ตด้วยกันทังนัน

ผลการเรียนรู้ ทีคาดหวัง
         - มีความรู ้พนฐานเกียวกับระบบอินเตอร์เน็ต
                      ื

สาระการเรี ยนรู้
       1. ความหมาย ความเป็ นมาของอินเตอร์เน็ต
       2. รู ปแบบการให้บริ การในอินเตอร์ เน็ต
       3. มาตรฐานการสื อสารข้อมูลในอินเตอร์เน็ต
       4. ความหมายและการใช้งานโดเมนเนม (DNS)
       5. การใช้งานอินเตอร์ เน็ตในการค้นหาข้อมูล
       6. การส่ งข้อมูลทางอินเตอร์ เน็ต
       7. ข้อควรระวังและข้อปฏิบติในการใช้อินเตอร์ เน็ต
                                  ั
1. ความรู้ พืนฐานเกียวกับอินเทอร์ เน็ต
           อินเทอร์ เน็ต(Internet)เป็ นระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ทีครอบคลุมไปทัวโลกเป็ นการนําเครื อข่าย
ระดับแวนหลาย ๆ เครื อข่ายมารวมเข้าด้วยกัน เพืออํานวยความสะดวกในการให้บริ การข้อมูลข่าวสารInternet เป็ น
คําย่อของ Inter connection network หมายถึงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทีใหญ่ทีสุ ดในโลก การทํางานของอินเทอร์เน็ต
       ่
จะอยูภายใต้กฎมาตรฐานหรื อโปรโตคอลเดียวกันทัวโลก 3 มาตรฐาน คือ อินเทอร์ เน็ตโปรโตคอล (Internet Protocol
:IP) ซิ มเปิ ลเมล์ทรานซ์เฟอร์ โปรโตคอล (Simple Mail Transfer Protocol:SMTP) และ โดเมนเนมซีสเต็ม(Doman
Name System:DNS) ทําให้เครื องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อเข้าระบบทุกระบบสามารถติดต่อรับ-ส่ ง
ข้อมูลกันได้
การแสดงข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศต่าง ๆ ในเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตทีแสดงทางจอคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์แสดงผล
อืน ๆ เชน โทรศัพท์มือถือ แฟกซ์ ฯลฯ เป็ นข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิ กส์ ทีอาจมีทงข้อมูลทีเป็ นข้อความ รู ปภาพ
                                                                                      ั
เสี ยง หรื อวิดีโอ เราเรี ยกชือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์นีว่าเอกสารเว็บ โดยจะ เรี ยกสัน ๆ ว่า“เว็บเพจ” ด้วยเหตุทีเว็บเพจ
เหล่านี ต้องนําไปแสดงในอินเทอร์เน็ต ทีผูชมทัวทังโลกสามารถเข้าชมได้ อีกทังต้องมี ข้อความ รู ปภาพ เสี ยง วิดีโอ
                                            ้
นอกจากนี ยังต้องสามารถติดต่อสื อสารระหว่างก้นได้อีกด้วย การสร้างหน้าเว็บเพจจึงต้องใช้ความรู ้ ความสามารถ
มากกว่าการสร้างหน้าเอกสารธรรมดาทัวไปและการทีมีความต้องการใช้งานมาก การสร้างคอนข้างยาก อาชีพการ
สร้างเว็บจึงเป็ นอาชีพทีสร้างรายได้สูงจึงเป็ นอาชีพทีน่ าเรี ยนรู ้ทีสําคัญอาชีพหนึ งในโลกไอทียคปั จจุบน
                                                                                               ุ       ั
(ทีมา http://www.rtc.ac.th/www_km/02/0218/021807/data/unit1new.pdf)

1.1 ประวัติความเป็ นมาของอินเตอร์ เน็ต
     อินเทอร์ เน็ต(Internet) คืออะไร
           อินเทอร์ เน็ต(Internet)คือ เครื อข่ายนานาชาติ ทีเกิดจากเครื อข่ายเล็ก ๆ มากมาย รวมเป็ นเครื อข่าย เดียวกัน
  ทังโลก หรื อทังจักรวาลอินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครื อข่ายสื อสาร ซึ งเชือมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์ ทงหมด ที
                                                                                                             ั
  ต้องการเข้ามา ในเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต(Internet)คือ การเชือมต่อกันระหว่างเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต(Internet)คือ
  เครื อข่ายของเครื อข่าย (A network of network) สําหรับคําว่า internet หากแยกศัพท์จะได้ออกมา 2 คํา คือ คําว่า
  Inter และคําว่า net ซึง Inter หมายถึงระหว่าง หรื อท่ามกลาง และคําว่า Net มาจากคําว่า Network หรื อเครื อข่าย เมือ
  นําความหมาย ของทัง 2 คํามารวมกัน จึงแปลได้ว่า การเชือมต่อกันระหว่างเครื อข่าย
ภาพจาก : http://school.obec.go.th/borkruwitt/inter/internet_h.htm

ประวัติความเป็ นมา
         - อินเทอร์ เน็ต ซึ งเป็ นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึงเป็ น
หน่ วยงานทีสังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตัง เมือประมาณ ปี ค.ศ.
1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื อยมา

           - ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่ าย ซึ งหนึงในผูสนับสนุ นก็คือ Edward
                                                                                  ้
Kenedy และเปลียนชือจาก ARPA เป็ น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปลียนแปลง
นโยบายบางอย่าง และในปี ค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นีเองทีได้ทดลองการเชือมต่อคอมพิวเตอร์ คนละชนิด จาก 4 แห่ ง เข้า
หากันเป็ นครังแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนี ย สถาบันวิจยสแตนฟอร์ ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนี ย และ
                                                            ั
มหาวิทยาลัยยูทาห์ เครื อข่ายทดลองประสบความสําเร็ จอย่างมาก ดังนันในปี ค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลียนจาก
เครื อข่ายทดลอง เป็ นเครื อข่ายทีใช้งานจริ ง ซึ ง DARPA ได้โอนหน้าทีรับผิดชอบ โดยตรง ให้แก่ หน่วยการสื อสาร
ของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปั จจุบนคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ใน
                                                            ั
ปั จจุบน Internet มีคณะทํางานทีรับผิดชอบบริ หาร เครื อข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์
       ั
หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุ มติมาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task
                                                     ั
                             ั
Force) พัฒนามาตรฐานทีใช้กบ Internet ซึ งเป็ นการทํางานโดยอาสาสมัคร ทังสิ น

           - ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสิ นใจนํา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มา
     ั
ใช้กบคอมพิวเตอร์ ทุกเครื องในระบบ ทําให้เป็ นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครื อข่าย Internet จนกระทัง
ปั จจุบน จึงสังเกตุได้ว่า ในเครื องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื องทีจะต่อ internet ได้จะต้องเพิม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ
       ั
TCP/IP คือข้อกําหนดทีทําให้คอมพิวเตอร์ ทวโลก ทุก platform คุยกันรู ้เรื อง และสื อสารกันได้อย่างถูกต้อง
                                            ั

        - การกําหนดชือโดเมน (Domain Name System) มีขนเมือ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพือสร้างฐานข้อมูล แบบ
                                                            ึ
                                  ่
กระจาย (Distribution database) อยูในแต่ละเครื อข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทําฐานข้อมูล
ของตนเอง จึงไม่จาเป็ นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรี ยกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที
                 ํ
ตรวจสอบว่ามีชือนี หรื อไม่ ที www.thnic.co.th ซึ งมีฐานข้อมูล ของเว็บทีลงท้ายด้วย th ทังหมด เป็ นต้น

        - DARPA ได้ทาหน้าทีรับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให้ มูลนิ ธิ
                       ํ
วิทยาศาสตร์แห่ งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่ วม กับอีกหลายหน่วยงาน

        - ในความเป็ นจริ ง ไม่มีใครเป็ นเจ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผูเ้ ดียว ในการกําหนด
มาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผูติดสิ นว่าสิ งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผูใช้ ทีกระจายอยูทวทุกมุมโลก ทีได้
                        ้                                                       ้                 ่ ั
ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านัน และจะใช้ต่อไปหรื อไม่เท่านัน ส่ วนมาตรฐานเดิมทีเป็ นพืนฐานของระบบ เช่น TCP/IP
หรื อ Domain name ก็จะต้องยึดตามนันต่อไป เพราะ Internet เป็ นระบบกระจายฐานข้อมูล การจะเปลียนแปลงระบบ
พืนฐาน จึงไม่ใช่เรื องง่ายนัก
ภาพจาก : http://www.nectec.or.th/courseware/internet/internet-tech/0001.html

             - ในปั จจุบน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรื อทีเรี ยกกันสันๆ ว่า ไอที (IT) กําลัง
                        ั
ได้รับ ความสนใจเป็ นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็ นตัวทีทําให้ เกิดความรู ้
วิธีการประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรี ยกใช้ขอมูล ตลอดจนการเรี ยกใช้ขอมูล ด้วยวิธีการทาง
                                                        ้                         ้
อิเล็คทรอนิ คส์ เมือเราให้ความสําคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจําเป็ นทีจะต้องมี
เครื องมือในการใช้งานไอที เครื องมือนันก็คือเครื องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื อสารโทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่า
เป็ นเครื องมืออย่างหนึ งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรื อไอที เพราะเรา
สามารถทีจะใช้งาน หาข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงข้อมูล ได้ดวยเวลาอันรวดเร็ ว อินเตอร์เน็ตเปรี ยบเสมือนห้องสมุด
                                                          ้
ขนาดใหญ่ทีมีขอมูลเรื องราวต่างๆ มากมาย ให้เราค้นหา ข่าวสารทีทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ทีเกิดขึนทัวทุกมุมโลก
                 ้
เราสามารถทีจะทราบได้ทนที จึงนับได้ว่า อินเตอร์เน็ตนันเป็ นเครื องมือสําคัญอย่างหนึงในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
                            ั
สารสนเทศ (Information Technology) ทังในระดับองค์กรและในระดับบุคคล
(ทีมา http://www.krujongrak.com/internet/internet.html)

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
rubtumproject.com
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตsombut
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
burin rujjanapan
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตTeerayut43
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์ยิ้ม' เเฉ่ง
 
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตพัน พัน
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
tanongsak
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 

What's hot (16)

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
 
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
Sutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
Jenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต (20)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 
้html
้html้html
้html
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
Unit1new
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 

More from เขมิกา กุลาศรี

คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียนคำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียนเขมิกา กุลาศรี
 
คำแนะนำเกี่ยวกับเว็บบล็อก
คำแนะนำเกี่ยวกับเว็บบล็อกคำแนะนำเกี่ยวกับเว็บบล็อก
คำแนะนำเกี่ยวกับเว็บบล็อกเขมิกา กุลาศรี
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบเขมิกา กุลาศรี
 
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panelกลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panelเขมิกา กุลาศรี
 
ผลงานนักเรียนกลุ่ม 2การจัดการ Widgets
ผลงานนักเรียนกลุ่ม 2การจัดการ  Widgetsผลงานนักเรียนกลุ่ม 2การจัดการ  Widgets
ผลงานนักเรียนกลุ่ม 2การจัดการ Widgetsเขมิกา กุลาศรี
 
คำอธิบายรายวิชาสาระเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาสาระเพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาสาระเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาสาระเพิ่มเติมเขมิกา กุลาศรี
 
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 8
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่  8เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่  8
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 8เขมิกา กุลาศรี
 

More from เขมิกา กุลาศรี (20)

ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียนคำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
คำแนะนำการใช้งานเว็บบล็อกประกอบการเรียน
 
คำแนะนำเกี่ยวกับเว็บบล็อก
คำแนะนำเกี่ยวกับเว็บบล็อกคำแนะนำเกี่ยวกับเว็บบล็อก
คำแนะนำเกี่ยวกับเว็บบล็อก
 
ผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงานผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงาน
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
 
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panelกลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
กลุ่มที่ 9การจัดการ Administration panel
 
กลุ่มที่ 6การตั้งค่า Wordpress
กลุ่มที่ 6การตั้งค่า Wordpressกลุ่มที่ 6การตั้งค่า Wordpress
กลุ่มที่ 6การตั้งค่า Wordpress
 
กลุ่มที่ 5การจัดการสื่อ
กลุ่มที่ 5การจัดการสื่อกลุ่มที่ 5การจัดการสื่อ
กลุ่มที่ 5การจัดการสื่อ
 
ผลงานนักเรียนกลุ่ม 2การจัดการ Widgets
ผลงานนักเรียนกลุ่ม 2การจัดการ  Widgetsผลงานนักเรียนกลุ่ม 2การจัดการ  Widgets
ผลงานนักเรียนกลุ่ม 2การจัดการ Widgets
 
รายชื่อสมาชิกของกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกของกลุ่มรายชื่อสมาชิกของกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกของกลุ่ม
 
ผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงานผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงาน
 
คำอธิบายรายวิชาสาระเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาสาระเพิ่มเติมคำอธิบายรายวิชาสาระเพิ่มเติม
คำอธิบายรายวิชาสาระเพิ่มเติม
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 8
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่  8เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่  8
เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 8
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
แบบฝึกที่ 7
แบบฝึกที่  7แบบฝึกที่  7
แบบฝึกที่ 7
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึก
 

ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต

  • 1. ใบความรู้ ที 1.1 เรือง ความรู้ เบืองต้ นเกียวกับอินเตอร์ เน็ต สาระสํ าคัญ อินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสําคัญต่อชีวิตประจําวันของคนเราเป็ นอย่างมาก เพราะทําให้วิถีชีวิตเรา ทันสมัยและทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื องจากอินเทอร์ เน็ตจะมีการเสนอข้อมูลข่าวปั จจุบน สารสนเทศทีเสนอใน ั อินเทอร์ เน็ตจะมีมากมายหลายรู ปแบบ เพือสนองความสนใจและความต้องการของผูใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ น ้ แหล่งสารสนเทศสําคัญสําหรับทุกคน เพราะสามารถค้นหาสิ งทีตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ตองเสี ยเวลาเดินทางไป ้ ค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่การรับรู ้ขาวสารทัวโลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์ เน็ตจากเว็บไซต์ต่างๆ ดังนัน ่ อินเทอร์ เน็ตจึงมีความสําคัญกับวิถีชีวตของคนเราในปั จจุบนเป็ นอย่างมากในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็ นบุคคลทีอยูใน ิ ั ่ วงการธุ รกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จากอินเทอร์ เน็ตด้วยกันทังนัน ผลการเรียนรู้ ทีคาดหวัง - มีความรู ้พนฐานเกียวกับระบบอินเตอร์เน็ต ื สาระการเรี ยนรู้ 1. ความหมาย ความเป็ นมาของอินเตอร์เน็ต 2. รู ปแบบการให้บริ การในอินเตอร์ เน็ต 3. มาตรฐานการสื อสารข้อมูลในอินเตอร์เน็ต 4. ความหมายและการใช้งานโดเมนเนม (DNS) 5. การใช้งานอินเตอร์ เน็ตในการค้นหาข้อมูล 6. การส่ งข้อมูลทางอินเตอร์ เน็ต 7. ข้อควรระวังและข้อปฏิบติในการใช้อินเตอร์ เน็ต ั
  • 2. 1. ความรู้ พืนฐานเกียวกับอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ต(Internet)เป็ นระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ทีครอบคลุมไปทัวโลกเป็ นการนําเครื อข่าย ระดับแวนหลาย ๆ เครื อข่ายมารวมเข้าด้วยกัน เพืออํานวยความสะดวกในการให้บริ การข้อมูลข่าวสารInternet เป็ น คําย่อของ Inter connection network หมายถึงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทีใหญ่ทีสุ ดในโลก การทํางานของอินเทอร์เน็ต ่ จะอยูภายใต้กฎมาตรฐานหรื อโปรโตคอลเดียวกันทัวโลก 3 มาตรฐาน คือ อินเทอร์ เน็ตโปรโตคอล (Internet Protocol :IP) ซิ มเปิ ลเมล์ทรานซ์เฟอร์ โปรโตคอล (Simple Mail Transfer Protocol:SMTP) และ โดเมนเนมซีสเต็ม(Doman Name System:DNS) ทําให้เครื องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อเข้าระบบทุกระบบสามารถติดต่อรับ-ส่ ง ข้อมูลกันได้ การแสดงข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศต่าง ๆ ในเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตทีแสดงทางจอคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์แสดงผล อืน ๆ เชน โทรศัพท์มือถือ แฟกซ์ ฯลฯ เป็ นข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิ กส์ ทีอาจมีทงข้อมูลทีเป็ นข้อความ รู ปภาพ ั เสี ยง หรื อวิดีโอ เราเรี ยกชือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์นีว่าเอกสารเว็บ โดยจะ เรี ยกสัน ๆ ว่า“เว็บเพจ” ด้วยเหตุทีเว็บเพจ เหล่านี ต้องนําไปแสดงในอินเทอร์เน็ต ทีผูชมทัวทังโลกสามารถเข้าชมได้ อีกทังต้องมี ข้อความ รู ปภาพ เสี ยง วิดีโอ ้ นอกจากนี ยังต้องสามารถติดต่อสื อสารระหว่างก้นได้อีกด้วย การสร้างหน้าเว็บเพจจึงต้องใช้ความรู ้ ความสามารถ มากกว่าการสร้างหน้าเอกสารธรรมดาทัวไปและการทีมีความต้องการใช้งานมาก การสร้างคอนข้างยาก อาชีพการ สร้างเว็บจึงเป็ นอาชีพทีสร้างรายได้สูงจึงเป็ นอาชีพทีน่ าเรี ยนรู ้ทีสําคัญอาชีพหนึ งในโลกไอทียคปั จจุบน ุ ั (ทีมา http://www.rtc.ac.th/www_km/02/0218/021807/data/unit1new.pdf) 1.1 ประวัติความเป็ นมาของอินเตอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ต(Internet) คืออะไร อินเทอร์ เน็ต(Internet)คือ เครื อข่ายนานาชาติ ทีเกิดจากเครื อข่ายเล็ก ๆ มากมาย รวมเป็ นเครื อข่าย เดียวกัน ทังโลก หรื อทังจักรวาลอินเทอร์เน็ต(Internet)คือ เครื อข่ายสื อสาร ซึ งเชือมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์ ทงหมด ที ั ต้องการเข้ามา ในเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต(Internet)คือ การเชือมต่อกันระหว่างเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต(Internet)คือ เครื อข่ายของเครื อข่าย (A network of network) สําหรับคําว่า internet หากแยกศัพท์จะได้ออกมา 2 คํา คือ คําว่า Inter และคําว่า net ซึง Inter หมายถึงระหว่าง หรื อท่ามกลาง และคําว่า Net มาจากคําว่า Network หรื อเครื อข่าย เมือ นําความหมาย ของทัง 2 คํามารวมกัน จึงแปลได้ว่า การเชือมต่อกันระหว่างเครื อข่าย
  • 3. ภาพจาก : http://school.obec.go.th/borkruwitt/inter/internet_h.htm ประวัติความเป็ นมา - อินเทอร์ เน็ต ซึ งเป็ นโครงการของ ARPAnet(Advanced Research Projects Agency Network) ซึงเป็ น หน่ วยงานทีสังกัด กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตัง เมือประมาณ ปี ค.ศ. 1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื อยมา - ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) ARPA ได้รับทุนสนันสนุน จากหลายฝ่ าย ซึ งหนึงในผูสนับสนุ นก็คือ Edward ้ Kenedy และเปลียนชือจาก ARPA เป็ น DARPA(Defense Advanced Research Projects Agency) พร้อมเปลียนแปลง นโยบายบางอย่าง และในปี ค.ศ.1969(พ.ศ.2512)นีเองทีได้ทดลองการเชือมต่อคอมพิวเตอร์ คนละชนิด จาก 4 แห่ ง เข้า หากันเป็ นครังแรก คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนี ย สถาบันวิจยสแตนฟอร์ ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนี ย และ ั มหาวิทยาลัยยูทาห์ เครื อข่ายทดลองประสบความสําเร็ จอย่างมาก ดังนันในปี ค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้เปลียนจาก เครื อข่ายทดลอง เป็ นเครื อข่ายทีใช้งานจริ ง ซึ ง DARPA ได้โอนหน้าทีรับผิดชอบ โดยตรง ให้แก่ หน่วยการสื อสาร
  • 4. ของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency - ปั จจุบนคือ Defense Informations Systems Agency) แต่ใน ั ปั จจุบน Internet มีคณะทํางานทีรับผิดชอบบริ หาร เครื อข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแลวัตถุประสงค์ ั หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุ มติมาตรฐานใหม่ในInternet, IETF (Internet Engineering Task ั ั Force) พัฒนามาตรฐานทีใช้กบ Internet ซึ งเป็ นการทํางานโดยอาสาสมัคร ทังสิ น - ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) DARPA ตัดสิ นใจนํา TCP/IP (Transmission Control Protocal/Internet Protocal) มา ั ใช้กบคอมพิวเตอร์ ทุกเครื องในระบบ ทําให้เป็ นมาตรฐานของวิธีการติดต่อ ในระบบเครื อข่าย Internet จนกระทัง ปั จจุบน จึงสังเกตุได้ว่า ในเครื องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื องทีจะต่อ internet ได้จะต้องเพิม TCP/IP ลงไปเสมอ เพราะ ั TCP/IP คือข้อกําหนดทีทําให้คอมพิวเตอร์ ทวโลก ทุก platform คุยกันรู ้เรื อง และสื อสารกันได้อย่างถูกต้อง ั - การกําหนดชือโดเมน (Domain Name System) มีขนเมือ ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เพือสร้างฐานข้อมูล แบบ ึ ่ กระจาย (Distribution database) อยูในแต่ละเครื อข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทําฐานข้อมูล ของตนเอง จึงไม่จาเป็ นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรี ยกเว็บ www.yonok.ac.th จะไปที ํ ตรวจสอบว่ามีชือนี หรื อไม่ ที www.thnic.co.th ซึ งมีฐานข้อมูล ของเว็บทีลงท้ายด้วย th ทังหมด เป็ นต้น - DARPA ได้ทาหน้าทีรับผิดชอบดูแลระบบ internet เรื อยมาจนถึง ค.ศ.1980(พ.ศ.2533) และให้ มูลนิ ธิ ํ วิทยาศาสตร์แห่ งชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนร่ วม กับอีกหลายหน่วยงาน - ในความเป็ นจริ ง ไม่มีใครเป็ นเจ้าของ internet และไม่มีใครมีสิทธิขาดแต่เพียงผูเ้ ดียว ในการกําหนด มาตรฐานใหม่ต่าง ๆ ผูติดสิ นว่าสิ งไหนดี มาตรฐานไหนจะได้รับการยอมรับ คือ ผูใช้ ทีกระจายอยูทวทุกมุมโลก ทีได้ ้ ้ ่ ั ทดลองใช้มาตรฐานเหล่านัน และจะใช้ต่อไปหรื อไม่เท่านัน ส่ วนมาตรฐานเดิมทีเป็ นพืนฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรื อ Domain name ก็จะต้องยึดตามนันต่อไป เพราะ Internet เป็ นระบบกระจายฐานข้อมูล การจะเปลียนแปลงระบบ พืนฐาน จึงไม่ใช่เรื องง่ายนัก
  • 5. ภาพจาก : http://www.nectec.or.th/courseware/internet/internet-tech/0001.html - ในปั จจุบน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรื อทีเรี ยกกันสันๆ ว่า ไอที (IT) กําลัง ั ได้รับ ความสนใจเป็ นอย่างมาก เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)จะเป็ นตัวทีทําให้ เกิดความรู ้ วิธีการประมวลผล การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การเรี ยกใช้ขอมูล ตลอดจนการเรี ยกใช้ขอมูล ด้วยวิธีการทาง ้ ้ อิเล็คทรอนิ คส์ เมือเราให้ความสําคัญกับเ ทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ความจําเป็ นทีจะต้องมี เครื องมือในการใช้งานไอที เครื องมือนันก็คือเครื องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สื อสารโทรคมนาคม อินเตอร์เน็ตนับว่า เป็ นเครื องมืออย่างหนึ งในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หรื อไอที เพราะเรา สามารถทีจะใช้งาน หาข้อมูลข่าวสาร และเข้าถึงข้อมูล ได้ดวยเวลาอันรวดเร็ ว อินเตอร์เน็ตเปรี ยบเสมือนห้องสมุด ้ ขนาดใหญ่ทีมีขอมูลเรื องราวต่างๆ มากมาย ให้เราค้นหา ข่าวสารทีทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ ทีเกิดขึนทัวทุกมุมโลก ้ เราสามารถทีจะทราบได้ทนที จึงนับได้ว่า อินเตอร์เน็ตนันเป็ นเครื องมือสําคัญอย่างหนึงในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ั สารสนเทศ (Information Technology) ทังในระดับองค์กรและในระดับบุคคล (ทีมา http://www.krujongrak.com/internet/internet.html)