SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ใบความรู้ ที 3.1 พัฒนาการของอินเทอร์ เน็ต
ความหมายของอินเทอร์ เน็ต

        อินเทอร์ เน็ต ( Internet ) เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ทีเชื อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ทัวโลกเข้าด้วยกัน เรี ยกอีกอย่างหนึงว่า ไซเบอร์ สเปซ ( Cyberspace )




        อินเทอร์ เน็ต ทําให้การเคลือนย้ายและส่ งผ่านข่าวสารข้อมูลจากทีหนึ งไปอีกทีหนึ งกระทําได้
โดยง่าย โดยไม่จากัดเรื องระยะทางและเวลา สามารถส่ งข้อมูลได้หลากหลายรู ปแบบ เช่น ส่ งเป็ นแบบ
               ํ
ข้อความ ภาพนิง ภาพเคลือนไหว เสี ยง โดยอาศัยเครื อข่ายโทรคมนาคมเป็ นตัวเชือมต่อเครื อข่าย

       การเชือมโยงเครื อข่ายจะใช้เครื อข่ายสื อสารโทรคมนาคม เช่น สายสัญญาณโทรศัพท์ ใยแก้วนํา
แสง (Fiber Optic) สัญญาณไมโครเวฟ สัญญาณจากดาวเทียม ทําให้การส่ งผ่านข้อมูลจากทีหนึ งไปยัง
อีกทีหนึ งเป็ นไปด้วยความรวดเร็ ว อินเทอร์ เน็ตเป็ น แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่งใหญ่ทีสุ ดของโลก และ
เป็ นทีรวมทังบริ การและเครื องมื อสื บค้นข้อมูลหลายประเภท จนกระทังกล่ าวได้ว่าอิ นเทอร์ เน็ตเป็ น
เครื องมือสําคัญอย่างหนึงในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทังในระดับบุคคลและองค์กร

       การเชื อมต่อเข้าเป็ นอินเทอร์ เน็ ตอาศัยการบริ หารแบบกระจายอํานาจอิ นเทอร์ เน็ต จึงไม่มีใคร
เป็ นเจ้าของหรื อควบคุ มดูแลอย่างแท้จริ ง เครื อข่ายแต่ละส่ วนในอินเทอร์ เน็ตต่างบริ หารเครื อข่ายของ
ตนเองอย่างเป็ นอิ สระโดยรั บผิดชอบค่า ใช้จ่ายติ ดตังระบบและการเช่ าวงจรสื อสารเพื อต่อเชื อมเข้า
ด้วยกัน แต่ในทางปฏิบติแล้วอินเทอร์ เน็ตมีองค์กรระหว่างประเทศทีจัดตังขึนเพือประสานความร่ วมมือ
                    ั
ระหว่างสมาชิกองค์การนีได้แก่ สมาคมอินเทอร์ เน็ต ISOC ( Internet Society )

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                    พีรญา ดุนขุนทด
ISOC เป็ นองค์กรเพือความร่ วมมือและประสานงานของสมาชิ กอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ
เป็ นองค์กรทีไม่แสวงผลกําไร และมีนโยบายสนับสนุ นการใช้อินเทอร์ เน็ตเป็ นโครงสร้างพืนฐานอย่าง
หนึ งสําหรับการศึกษาและงานวิจย และทําหน้าทีส่ งเสริ มและเผยแพร่ ความรู ้ ให้แก่ ผู ้ ใช้อินเทอร์ เน็ ต
                             ั
ทัวไป ISOC ยังทําหน้าที พัฒนามาตรฐานและเทคโนโลยีเพือใช้ในอิ นเทอร์ เน็ ต ภายใน ISOC มี
คณะทํางานอาสาสมัครร่ วมวางแนวทางพัฒนาอินเทอร์ เน็ต ให้สมาชิ กถือปฏิบติ แต่ไม่มีหน้าทีดูแลหรื อ
                                                                    ั
ควบคุมการบริ หารเครื อข่ายแต่อย่างใด

ประวัติความเป็ นมา

        อิ น เทอร์ เน็ ต (Internet) เป็ นเครื อข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ซึ งเริ มก่ อ ตังโดยกระทรวงกลาโหม
สหรัฐอเมริ กา อินเทอร์ เน็ตในยุคแรกๆ ประมาณปี พ.ศ. 2512 เป็ นเพียงการนําคอมพิวเตอร์ จานวนไม่กี
                                                                                             ํ
เครื องมาเชื อมต่อกัน โดยสายส่ งสัญญาณเพือแลกเปลียนข้อมูลระหว่างเครื องคอมพิวเตอร์ ภารกิจหลัก
เพือใช้ในงานวิจยทางทหาร โดยใช้ชือว่า "อาร์ ปา" (ARPA : Advanced Research Project Agency)
                   ั
รู ปแบบเครื อข่ายอาร์ พาเน็ตไม่ได้ต่อเชื อมโฮสต์ ( Host ) คอมพิวเตอร์ เข้าถึ งกันโดยตรง หากแต่ใช้
คอมพิวเตอร์ เรี ยกว่า IMP ( Interface Message Processors ) ต่อเชื อมถึงกันทางสายโทรศัพท์เพือทํา
หน้าทีด้านสื อสารโดยเฉพาะ ซึ งแต่ละIMP สามารถเชือมได้หลายโฮสต์




       กําเนิดอาร์ พาเน็ต วันที 2 กันยายน พ.ศ. 2512 ได้มีการทดลองเชือมโยง IMP ระหว่าง
มหาวิทยาลัย 4 แห่งโดยมีโฮสต์ต่างชนิดกันทีใช้ในระบบปฏิบติการต่างกัน คือ
                                                            ั


วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                    พีรญา ดุนขุนทด
1. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย แห่ง ลอส แอนเจลิส ใช้เครื อง SDS Sigma 7 ภายใต้ระบบ
                ปฏิบติ การ SEX ( Sigma EXecutive )
                    ั
             2. สถาบันวิจยสแตนฟอร์ ด ใช้เครื อง SDS 940และระบบปฏิบติการ Genie
                          ั                                               ั
             3. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย แห่ง ซานตา บาร์ บารา มีเครื อง IBM 360/75ทํางานภายใต้
                ระบบปฏิบติการ OS/MVT
                            ั
             4. มหาวิทยาลัยยูทาห์ ทีซอลต์เลคซิ ตี ใช้เครื อง DEC PDP-10ภายใต้ระบบปฏิบติการ
                                                                                        ั
                Tenex

         ปี 2515 หลังจากทีเครื อข่ายทดลองอาร์ พา ประสบความสําเร็ จ ก็ได้มีการปรับปรุ งหน่วยงานจาก
อาร์ ปา มาเป็ น ดาร์ พา DARPA (Defense Advanced Research Projects Agency) ตอนหลังเปลียนเป็ น
Defence Communication Agency ปั จจุบนคือ Defense Informations Systems Agency
                                          ั
         ในปี 2526 อาร์ ปาเน็ตได้แบ่งเป็ น 2 เครื อข่าย ด้านงานวิจยใช้ชือว่า อาร์ ปาเน็ต เหมือนเดิม ส่ วน
                                                                  ั
เครื อข่ายของกองทัพใช้ชือ มิลเน็ต (MILNET: Military Network) ซึ งมีการเชือมต่อโดยใช้โปรโตคอล
TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) เป็ นครังแรก
         ในปี 2528 มูลนิธิวทยาศาสตร์ แห่งชาติอเมริ กา (NSF) ได้ให้เงินทุนในการสร้างศูนย์ซูเปอร์
                           ิ
คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ชือว่า NSFNET
         และในปี 2533 อาร์ ปาเนตไม่สามารถทีจะรองรับภาระทีเป็ นเครื อข่ายหลัก (Backbone) ของ
ระบบได้ อาร์ ปาเน็ตจึงได้ยุติลงและเปลียนไปใช้ NSFNET และเครื อข่ายอืนๆ แทน มาจนเป็ นเครื อข่าย
ขนาดใหญ่ จนกระทังถึงทุกวันนี โดยเรี ยกเครื อข่ายว่า อินเทอร์ เน็ต (Internet) โดยเครื อข่าย ส่ วนใหญ่
      ่
จะอยูในอเมริ กา และปั จจุบนนีมีเครื อข่ายย่อยมากมายทัวโลก
                             ั

        กํา เนิ ดอาร์ พ าเน็ ต วันที 2 กันยายน พ.ศ. 2512 ได้มี ก ารทดลองเชื อมโยง IMP ระหว่า ง
มหาวิ ท ยาลัย 4 แห่ ง โดยมี โ ฮสต์ ต่ า งชนิ ด กัน ที ใช้ ใ นระบบปฏิ บ ัติ ก ารต่ า งกัน คื อ มหาวิ ท ยาลัย
แคลิฟอร์ เนี ย แห่ ง ลอส แอนเจลิส ใช้เครื อง SDS Sigma 7 ภายใต้ระบบปฏิบติ การ SEX ( Sigma
                                                                                   ั
EXecutive ) สถาบันวิจยสแตนฟอร์ ด ใช้เครื อง SDS 940และระบบปฏิ บติการ Genie มหาวิทยาลัย
                             ั                                                   ั
แคลิ ฟอร์ เนี ย แห่ ง ซานตา บาร์ บารา มีเครื อง IBM 360/75ทํางานภายใต้ระบบปฏิ บติการ OS/MVT  ั
มหาวิทยาลัยยูทาห์ ทีซอลต์เลคซิ ตี ใช้เครื อง DEC PDP-10ภายใต้ระบบปฏิบติการ Tenex
                                                                               ั

        ปี 2515 หลังจากทีเครื อข่ายทดลองอาร์ พา ประสบความสําเร็ จ ก็ได้มีการปรับปรุ งหน่วยงานจาก
อาร์ ปา มาเป็ น ดาร์ พา DARPA (Defense Advanced Research Projects Agency) ตอนหลังเปลียนเป็ น
Defence Communication Agency ปั จจุบนคือ Defense Informations Systems Agency
                                       ั



วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                         พีรญา ดุนขุนทด
ในปี 2526 อาร์ ปาเน็ตได้แบ่งเป็ น 2 เครื อข่าย ด้านงานวิจยใช้ชือว่า อาร์ ปาเน็ต เหมือนเดิม ส่ วน
                                                                  ั
เครื อข่ายของกองทัพใช้ชือ มิลเน็ต (MILNET: Military Network) ซึ งมีการเชือมต่อโดยใช้โปรโตคอล
TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) เป็ นครังแรก

      ในปี 2528 มูลนิ ธิวิทยาศาสตร์ แห่ งชาติ อเมริ กา (NSF) ได้ให้เงิ นทุนในการสร้ างศูนย์ซูเปอร์
คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ชือว่า NSFNET

       และในปี 2533 อาร์ ปาเนตไม่สามารถทีจะรองรับภาระทีเป็ นเครื อข่ายหลัก (Backbone) ของ
ระบบได้ อาร์ ปาเน็ตจึงได้ยุติลงและเปลียนไปใช้ NSFNET และเครื อข่ายอืนๆ แทน มาจนเป็ นเครื อข่าย
ขนาดใหญ่ จนกระทังถึงทุกวันนี โดยเรี ยกเครื อข่ายว่า อินเทอร์ เน็ต (Internet) โดยเครื อข่าย ส่ วนใหญ่จะ
   ่
อยูในอเมริ กา และปั จจุบนนีมีเครื อข่ายย่อยมากมายทัวโลก
                        ั

อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย

      อิ นเทอร์ เน็ ตในประเทศไทยเริ มขึ นเมื อปี พ.ศ. 2530 โดยการเชื อมต่ อมิ นิ ค อมพิ วเตอร์ ข อง
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่ งเอเชี ย (AIT) ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น
ประเทศออสเตรเลีย แต่ในครังนันยังเป็ นการเชื อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ ซึ งสามารถส่ งข้อมูลได้ช้า
และไม่เป็ นการถาวร

           จนกระทังในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ (NECTEC)
ได้ท า การเชื อมต่ อคอมพิวเตอร์ ก ับ มหาวิทยาลัย 6 แห่ ง ได้แก่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย , สถาบัน
      ํ
เทคโนโลยีแห่ งเอเชี ย (AIT), มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ , ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ ก ส์ และ
คอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกัน
เรี ยกว่า "เครื อข่ายไทยสาร" โดยสํานักวิทยบริ การ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจร สื อสารความเร็ ว
9600 บิ ต ต่ อ วิ น าที จากการสื อสารแห่ ง ประเทศไทยเพื อเชื อมเข้า สู่ อิ น เทอร์ เ น็ ต ที "บริ ษ ัท ยูยูเ น็ ต
เทคโนโลยี ประเทศสหรัฐอเมริ กา"

          ในปี พ.ศ. 2536 NECTEC ได้ เ ช่ า วงจรสื อสารความเร็ ว 64 กิ โ ลบิ ต ต่ อ วิ น าที จ าก
การสื อสารแห่งประเทศไทยเพือ เพิมความสามารถในการขนส่ งข้อมูล ทําให้ประเทศไทยมีวงจรสื อสาร
ระดับ ที ให้บริ การแก่ ผูใช้ไทยสารอิ นเทอร์ เน็ ต 2 วงจร ในปั จจุบนวงจรเชื อมต่อไปยังต่างประเทศที
                         ้                                        ั
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ NECTEC ได้รับการปรับปรุ งให้มีความ เร็ วสู งขึนตามลําดับ นับตังแต่นน ั
มาเครื อข่ายไทยสารได้ขยายตัวกว้างขึน และมีหน่ วยงานอืนเชื อมเข้ากับ ไทยสารอีกหลายแห่ งในช่ วง
ต่อมาเครื อข่ายไทยสารเติบโตอย่างต่อเนื อง โดยมีมหาวิทยาลัยและหน่วยงานราชการเข้ามาเชื อมต่อกับ
                                          ่                                         ่
เครื อข่ายนีเพิมขึนอีกจํานวนมาก จะเห็นได้วาอินเทอร์ เน็ตในประเทศขณะนันยังจํากัดอยูในวงการศึกษา

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                              พีรญา ดุนขุนทด
และการวิ จ ัย เท่ า นัน ไม่ ไ ด้เ ป็ นเครื อ ข่ า ยที ให้ บ ริ ก ารในรู ป ของธุ ร กิ จ แต่ ท างสถาบัน นัน ๆ จะเป็ น
ผูรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง
  ้




          ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2537 ความต้ อ งการในการใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต จากภาคเอกชนมี ม ากขึ น
การสื อสารแห่ งประเทศไทย (กสท.) จึงได้ร่วมมือกับบริ ษทเอกชน เปิ ดบริ การอินเทอร์ เน็ตให้แก่บุคล
                                                                ั
ผูส นใจทัวไปได้ส มัค รเป็ นสมาชิ ก ตังขึ นในรู ป แบบของบริ ษ ทผูให้บริ การอิ นเทอร์ เน็ ตเชิ งพาณิ ช ย์
  ้                                                                  ั ้
เรี ยกว่า "ผูให้บริ การอินเทอร์ เน็ต" หรื อ ISP (Internet Service Provider)
              ้

       ข้อมูลบนอินเทอร์ เน็ตจะถูกส่ งผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และระบบการสื อสารซึ งในแต่ละพืนที
หรื อแต่ละประเทศซึ งจะต้องรับผิดชอบกันเอง เพือเชื อมต่อกับระบบใหญ่ของโลกให้ได้ ดังนันจึงเป็ น
หน้าทีของผูให้บริ การอินเทอร์ เน็ต (ISP) ซึ งได้แก่ องค์กรทีทําหน้าทีให้บริ การเชื อมต่อสายสัญญาณจาก
            ้
แหล่งต่างๆ ของผูใช้บริ การ เช่ น จากทีบ้าน สํานักงาน สถานบริ การ และแหล่งอืนๆ เพือเชื อมต่อกับ
                  ้
ระบบใหญ่ออกไปนอกประเทศได้

อินเตอร์ เน็ตทํางานอย่ างไร

         รู้ จักกับ TCP/IP

         โปรโตคอล TCP/IP หรื อ Transmission Control Protocol/Internet Protocol เป็ นระเบียบวิธีการ
                                ั
สื อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ทีใช้กนมาแต่เดิมในระบบปฏิบติการ Unix ซึ งมีการใช้งานอย่าง กว้างขวาง
                                                    ั
มาก จนถื อ เป็ นมาตรฐานได้ จุ ด กํา เนิ ด ของโปรโตคอล TCP/IP                    นี เริ มขึ นในราว พ.ศ. 2512 ที
กระทรวงกลาโหมของสหรัฐ เมือพบปั ญหาในการเชื อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในหน่ วยงานต่างๆ
ของตน ซึ งจะต้องมี ก ารส่ งข้อมู ลระหว่างกัน และไปยัง หน่ วยงานภายนอกอื นๆ เช่ น มหาวิท ยาลัย
ห้องทดลองต่างๆ (ส่ วนใหญ่มีเครื องทีใช้ระบบ Unix อยู่เป็ นจํานวนมาก) เนื องจากแต่ละแห่ งก็จะมี
ระบบคอมพิวเตอร์ ของตนเองทีแตกต่างกันไป การต่อเชื อมกันก็เป็ นไปในลักษณะต่างคนต่างทําไม
เหมื อนกัน ดังนันข่าวสารข้อมูลทังหลาย จึ งถ่ ายเทไปมาได้อย่างยากลําบากมาก กระทรวงกลาโหม
สหรัฐได้ จัดตังหน่ วยงาน Advanced Research Projects Agencies (ARPA) ขึนมา เพือหาทางแก้ไข
ปั ญหาทีเกิดขึนนี ผลลัพธ์ทีหน่วยงาน ARPA ได้จดทําขึนคือ การกําหนดมาตรฐานในการสื อสารข้อมูล
                                             ั
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                พีรญา ดุนขุนทด
และได้จดตังเครื อข่าย ARPANET ขึนโดยใช้โปรโตคอล TCP/IP ต่อมาก็กลายมาเป็ นมาตรฐานจริ งจัง
       ั
ในราวปี พ.ศ. 2525 ความสัม พันธ์ ระหว่า ง TCP/IP กับ ระบบปฏิ บ ติก าร Unix เกิ ดขึ น เนื องจาก
                                                              ั
มหาวิ ท ยาลัย แคลิ ฟ อร์ เ นี ย ที เบอร์ ค เลย์ ได้พ ฒ นาระบบปฏิ บ ัติ ก าร Unix ซึ งมี ก ารผนวกเข้า กับ
                                                     ั
โปรโตคอล TCP/IP สําหรับใช้ในการสื อสารระหว่างระบบออกมา และเผยแพร่ ต่อไปยังหน่ วยงาน
ต่างๆ ทําให้การสื อสารกันของเครื องทีใช้ระบบปฏิบติการ Unix มักจะต้อง ใช้โปรโตคอล TCP/IP เสมอ
                                                ั
และมีบทบาทเป็ นสิ งทีคู่กนต่อมาถึงปั จจุบน
                         ั               ั

        ในปั จ จุ บ ัน นี ไม่ ว่ า คอมพิ ว เตอร์ ส่ ว นบุ ค คลของผูใ ช้ จ ะเป็ นแบบใดก็ ต าม เช่ น พี ซี ห รื อ
                                                                   ้
แมคอินทอช ก็สามารถใช้งานโปรโตคอล TCP/IP เพือต่อเชื อมเข้าสู่ อินเตอร์ เน็ตได้ วิธีการก็คือเพียงแต่
ติดตังใช้งานซอฟต์แวร์ โปรโตคอล TCP/IP เท่านัน ส่ วนวิธีการและโปรแกรมทีติดตัง จะแตกต่างกัน
ขึนกับระบบที ใช้ ซึ งจะกล่าวต่อไป หมายเลข IP (IP Address) การสื อสารกันในระบบเครื อข่าย
อินเตอร์ เน็ตทีมีโปรโตคอล TCP/IP เป็ นมาตรฐานนี เครื องอมพิวเตอร์ ทุกเครื องทีเชื อมต่ออยู่ จะต้องมี
หมายเลขประจําตัวเอาไว้อางอิงให้เครื องคอมพิวเตอร์ อืนๆ ได้ทราบเหมือนกับคนทุกคนต้องมีชือให้คน
                       ้
อืนเรี ยก หมายเลขอ้างอิงดังกล่าวเราเรี ยกว่า IP Address หรื อหมายเลข IP หรื อบางทีก็เรี ยกว่า "แอดเดรส
IP" (IP ในทีนีก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นันเอง) ซึ งถูกจัดเป็ นตัวเลขชุ ดหนึ งขนาด
32 บิต ใน 1 ชุ ดนี จะมี ตวเลขถูกแบ่งออกเป็ น 4 ส่ วน ส่ วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็ น
                         ั
เลขฐานสิ บ ก่อนเพือความง่ายแล้วเขียนโดยคันแต่ละส่ วนด้วยจุด ดังนันในตัวเลขแต่ละส่ วนนี จึงมีค่าได้
ตังแต่ 0 จนถึง 28 -1 = 255 เท่านัน เช่น 192.10.1.101 เป็ นต้น ตัวเลข IP Address ชุ ดนีจะเป็ นสิ งทีสําคัญ
คล้ายเบอร์ โทรศัพท์ทีเรามี ใช้อยู่และไม่ซํากัน เพราะสามารถกําหนดเป็ นตัวเลขได้รวมทังสิ นกว่า 4
พันล้านเลขหมาย แต่การกําหนดให้คอมพิวเตอร์ มีเลขหมาย IP Address นีไม่ได้เริ มต้นจากหมายเลข 1
และนับขึนไปเรื อยๆ หากแต่จะมีการจัด แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ

        - ส่ วนแรกเป็ นหมายเลขของเครือข่ าย (Network Number)

        - ส่ วนทีสองเรียกว่ าหมายเลขของคอมพิวเตอร์ ทอยู่ในเครือข่ ายนัน (Host Number) เพราะ
                                                    ี
                                                                  ่                          ่
             ในเครื อข่ายใดๆ อาจจะมีเครื องคอมพิวเตอร์ เชือมต่ออยูได้มากมาย ในเครื อข่ายทีอยูคนละ
             ระบบอาจมีหมายเลข Host ซํากันก็ได้ แต่เมือรวมกับหมายเลข Network แล้ว จะได้เป็ น IP
             Address ทีไม่ซากันเลย
                           ํ



วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                            พีรญา ดุนขุนทด
ในการจัดตังหรื อกําหนดหมายเลข IP Address นีก็มีวิธีการกําหนดทีชัดเจน และมีกฎเกณฑ์ที
รัดกุม ผูใช้ทีอยากจัดตังโฮสต์คอมพิวเตอร์ เพือเชือมต่อเข้าอินเตอร์ เน็ต และให้บริ การต่างๆ สามารถขอ
         ้
หมายเลข IP Address ได้ทีหน่วยงาน Internet Network Information Center (InterNIC) ขององค์กร
Network Solution Incorporated (NSI) ทีรัฐเวอร์ จิเนี ย สหรัฐอเมริ กา แต่ถาผูใช้สมัครเข้าเป็ นสมาชิ กขอ
                                                                         ้ ้
ใช้บริ การอินเตอร์ เน็ตจากบริ ษทผูให้บริ การ (Internet Service Provider) เรี ยกย่อๆ ว่าหน่วยงาน ISPราย
                               ั ้
ใดก็แล้วแต่ ก็ไม่ตองติดต่อขอ IP Address เนื องจากหน่วยงาน ISP เหล่านันจะกําหนดหมายเลข IP ให้
                  ้
                                                ่ ั
ใช้ หรื อส่ งค่า IP ชัวคราวให้ใช้งาน ทังนีขึนอยูกบแบบการขอใช้บริ การ

        โครงสร้างของแอดเดรสทีใช้ใน classต่างๆของเครื อข่าย ซึ งทังหมด ยาว 32 บิต IP Address นีมี
การจัดแบ่งออกเป็ นทังหมด 5 ระดับ (Class) แต่ทีใช้งานในทัวไปจะมีเพียง 3 ระดับคือ Class A, Class
B, Class C ซึ งก็แบ่ง ตามขนาดความใหญ่ ของเครื อข่ ายนันเอง ถ้า เครื อข่า ยใดมี จา นวนเครื อง
                                                                                ํ
                        ่                   ่                                 ่
คอมพิวเตอร์ เชื อมต่ออยูมาก ก็จะมีหมายเลขอยูใน Class A ถ้ามีจานวนเครื องต่ออยูลดหลันกันลงมาก็
                                                             ํ
     ่
จะอยูใน Class B และ Class C ตามลําดับ หมายเลข IP ของ Class A มีตวแรกเป็ น 0 และหมายเลขของ
                                                                ั
เครื อข่าย (Network Number) ขนาด 7 บิต และ มีหมายเลขของเครื องคอมพิวเตอร์ (Host Number) ขนาด
                                                                         ่
24 บิต ทําให้ในหนึงเครื อข่ายของ Class A สามารถมีคอมพิวเตอร์ เชื อมต่ออยูในเครื อข่ายได้ถึง 224= 16
ล้านเครื อง เหมาะสําหรับองค์กร หรื อบริ ษทยักษ์ใหญ่ แต่ใน Class A นี จะมีหมายเลข เครื อข่ายได้ 128
                                         ั
ตัวเท่านันทัวโลก ซึ งหมายความว่าจะมีเครื อข่ายยักษ์ใหญ่แบบนี ได้เพียง 128 เครื อข่ายเท่านัน สําหรับ
Class B จะมีหมายเลขเครื อข่ายแบบ 14 บิต และหมายเลขเครื องคอมพิวเตอร์ แบบ 16 บิต (ส่ วนอีก 2 บิต
                                                                          ่
ทีเหลื อบังคับว่าต้องขึนต้นด้วย 102) ดังนันจึงสามารถมีจานวนเครื อข่ายทีอยูใน Class B ได้มากกว่า
                                                       ํ
Class A คือมีได้ถึง 214 = กว่า 16,000 เครื อข่าย และก็สามารถมีเครื องคอมพิวเตอร์ เชื อมต่อกันใน
เครื อข่าย Class B แต่ละเครื อข่ายได้ถึง 216 หรื อมากกว่า 65,000 เครื อง สุ ดท้ายคื อ Class C ซึ งมี
หมายเลขเครื องคอมพิวเตอร์ แบบ 8 บิตและมีหมายเลขเครื อข่ายแบบ 21 บิต ส่ วนสามบิตแรกบังคับว่า
ต้องเป็ น 1102 ดังนันใน แต่ละเครื อข่าย Class C จะมีจานวนเครื องต่อเชื อมได้เพียงไม่เกิน 254 เครื องใน
                                                     ํ
แต่ละเครื อข่าย (28 = 256 แต่หมายเลข 0 และ 255 จะไม่ถูกใช้งาน จึงเหลื อเพียง 254) ดังนันวิธีการ
สังเกตได้ง่ายๆ ว่าเราเชื อมต่ออยูทีเครื อข่าย Class ใดก็สามารถดูได้จาก IP Address ในส่ วนหน้า (ส่ วน
                                 ่
Network Address) โดย


วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                    พีรญา ดุนขุนทด
Class A จะมี Network address ตังแต่ 0 ถึง 127 (บิตแรกเป็ น 0 เสมอ)

        Class B จะมี Network address ตังแต่ 128 ถึง 191 (เพราะขึนต้นด้วย 102 เท่านัน)

        Class C จะมี Network address ตังแต่ 192 ถึง 223 (เพราะขึนต้นด้วย 1102 เท่านัน)

        เช่น ถ้าเครื องคอมพิวเตอร์ ในอินเตอร์ เน็ตมีหมายเลข IP ดังนี 181.11.82.22 ตัวเลข 181.11
แสดงว่าเป็ นเครื อข่ายใน Class B ซึ งหมายเลขเครื อข่ายเต็มๆ จะใช้ 2 ส่ วนแรกคือ 181.11 และมี
หมายเลขคอมพิวเตอร์ คือ 82.22 หรื อถ้ามี IP Address เป็ น 192.131.10.101 ทําให้ทราบว่าเครื อง
                         ่
คอมพิวเตอร์ นนเชือมต่ออยูใน Class C มีหมายเลขเครื อข่ายคือ 3 ส่ วนแรก ได้แก่ 192.131.10 และ
             ั
หมายเลขประจํา เครื องคือ 101 เป็ นต้น

        Domain Name System (DNS)

        เราทราบแล้วว่าการติดต่อกันในอิ นเตอร์ เน็ตซึ งใช้โปรโตคอล TCP/IP คุ ยกัน โดยจะต้องมี
หมายเลข IP ในการอ้างอิงเสมอ แต่หมายเลข IP นีถึงแม้จะจัดแบ่งเป็ นส่ วนๆ แล้วก็ยงมีอุปสรรคในการ
                                                                              ั
                           ่
ทีต้องจดจํา ถ้าเครื องทีอยูในเครื อข่ายมีจานวนมากขึน การจดจําหมายเลข IP ดูจะเป็ นเรื องยาก และอาจ
                                          ํ
สับสนจําผิดได้ แนวทางแก้ปัญหาคือการตังชื อหรื อตัวอักษรขึนมาแทนทีหมายเลข IP น่าจะสะดวกใน
การจดจํามากกว่า เช่ น หมายเลข IP คื อ 203.78.105.4 แทนทีด้วยชื อ thaigoodview.com ผูใช้บริ การ
                                                                                    ้
สามารถ จดจํา ชื อ thaigoodview.com ได้แ ม่ นยํา กว่า นอกจากนี ในกรณี เ ครื องเสี ย หรื อต้อ งการ
เปลียนแปลงเครื อง คอมพิวเตอร์ ทีให้บริ การ จากเครื องทีมีหมายเลข IP 203.78.105.4 เป็ น 203.78.104.9
ผูดูแลระบบจะจัดการ แก้ไขฐานข้อมูลให้เครื องใหม่มีชือแทนทีเครื อง เดิมได้ทนที โดยไม่ตองโยกย้าย
  ้                                                                      ั          ้
ฮาร์ ดแวร์ แต่ อย่า งใด ส่ ว นในมุ ม มองของผูใ ช้ ก็ ไ ม่ ต้องแก้ไ ขอะไรทังสิ น ยัง คงสามารถใช้ง านได้
                                             ้
เหมือนเดิม

        สําหรับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ได้มีการพัฒนากลไกการแทนทีชื อเครื องคอมพิวเตอร์ ทีให้บริ การ
กับหมายเลข IP หรื อ name-to-IP Address ขึนมาใช้งานและเรี ยกกลไกนี ว่า Domain Name System
                                                                                         ่
(DNS) โดยมีการจัดเก็บฐานข้อมูลชือและหมายเลข IP เป็ นลําดับชัน (hierachical structure) อยูในเครื อง
คอมพิวเตอร์ ทาหน้าทีพิเศษทีเรี ยกว่า Domain Name Server หรื อ Name Server โครงสร้ างของ
             ํ
ฐานข้อมูล Domain Name นี ในระดับบนสุ ดจะมีความหมายบอกถึ ง ประเภทขององค์กร หรื อชื อ

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                    พีรญา ดุนขุนทด
ประเทศทีเครื อข่ายตังอยู่ ชื อ Domain ในชันบนสุ ดเหล่านี จะใช้ตวอักษรเล็กหรื อใหญ่ก็ได้ แต่นิยมใช้
                                                               ั
อักษรตัวเล็ก โดยมีการกําหนดมาจากหน่ วยงานทีเรี ยกว่า InterNIC (Internet Network Information
Center) จากระดับบนสุ ดก็จะมีระดับล่างๆ ลงมาซึ งใช้แทนความหมายต่างๆ แล้วแต่ผจดตังจะ กําหนด
                                                                           ู้ ั
ขึน เช่น ตังตามชื อคณะ หรื อภาควิชาในมหาวิทยาลัย ตังตามชื อฝ่ ายหรื อแผนกในบริ ษท เป็ นต้น แต่ละ
                                                                                ั
ระดับจะถูกแบ่งคันด้วยเครื องหมายจุดเสมอ การดูระดับจากบนลงล่างให้ดูจากด้านขวามาซ้าย เช่ นชื อ
                                    ่
Domain คือ support.skynet.com จะได้วา com จะเป็ นชื อ Domain ในระดับบนสุ ด ถัดจากจุดตังต้น หรื อ
รากของโครงสร้าง (root) ระดับทีสองคือชื อ skynet และระดับล่างสุ ดคือ support หมายความว่า ชื อ
Domain นี แทนทีหน่วยงาน support ของบริ ษทชื อ skynet และเป็ นบริ ษทเอกชน ดังแสดงโครงสร้าง
                                        ั                         ั
ลําดับชันของ Domian Name ทีชือ Support.skynet.com

        ในการกําหนดหรื อตังชือแทนหมายเลข IP นีจะต้องลงทะเบียนและขอใช้ทีหน่วยงาน InterNIC
เสี ย ก่ อน ถ้า ได้รับ อนุ ญาตและลงทะเบี ย นเรี ย บร้ อ ยแล้ว จะมี ก ารจัดเก็ บ เพิ มฐานข้อมู ล name-to-IP
address เพือให้ผใช้บริ การอินเตอร์ เน็ตสามารถ อ้างอิงเข้ามาใช้บริ การได้ เหมือนกับการขอจดทะเบียน
                ู้
ตังชื อบริ ษท ทีต้องมีผูรับผิดชอบในการเก็บข้อมูลเป็ นนายทะเบียนและคอยตรวจ ดูว่าชื อนันจะซํากับ
            ั           ้
คนอืนหรื อไม่ ถ้าไม่มีปัญหาก็อนุ ญาตให้ใช้ได้ ชื อ Domain Name นี จะมีความยาวทังหมดไม่เกิน 255
ตัวอักษร แต่ไม่มีขอจํากัดในเรื องระดับชัน ดังนันในชื อหนึ งๆ อาจมีหลายระดับได้ตามต้องการ และ
                  ้
ข้อสั งเกตที สํา คัญก็ คื อชื อ และจุ ดเหล่ า นี ไม่ เกี ยวกับจุ ดใน ตัวเลขที เป็ น IP Address แต่ อย่า งใด
                                                                                  ่
ขบวนการหรื อกลไกในการแปลงชื อ Domain กลับเป็ นหมายเลข IP หรื อ Name Mapping นี อยูทีการ
จัดการฐานข้อมูล Domain Name แบบกระจาย โดยจะเริ มจากเมือมีโปรแกรมอ้างถึงชื อโดเมนบนเครื อง
หนึ ง ก็จะมีการสอบถามไปที ฐานข้อมูล ในเครื องที ทําหน้าทีเป็ น Name Server (ซึ งอาจเป็ นเครื อง
เดียวกันนันเองหรื อคนละเครื องก็ได้ และอาจมี Name Server ได้หลายเครื องด้วย ขึนกับว่าจะตังไว้ให้
รู ้จก Name Server เครื องใดบ้าง) เครื องทีเป็ น Name Server ก็จะเรี ยกดูในฐานข้อมูลและถ้าพบชื อที
     ั
ต้องการก็จะจัดการแปลงชื อ Domain เป็ นหมายเลข IP ทีถูกต้องให้ ระบบ Name Server นีจะมีติดตัง
กระจายไปในหลายเครื องบนระบบเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต เนื องจากอย่างน้อยหน่ วยงาน ISP หนึ งๆ ก็
จะต้องจัดตังระบบดังกล่าวขึนมา เพือคอยดูแลจัดการฐานข้อมูล Domain Name ของเครื อข่ายตนเอง
ดังนันถ้า Name Server เครื องหนึ งไม่มีขอมูลหรื อไม่รู้จก Domain Name ทีถูกถามมาก็อาจจะไปขอ
                                        ้               ั
ข้อมูลจาก Name Server เครื องอืนๆ ทีตนรู ้จกจนกว่าจะพบ หรื อจนกว่าจะทัวแล้วไม่ปรากฏว่ามีเครื อง
                                           ั



วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                         พีรญา ดุนขุนทด
ไหนรู ้จกเลย กรณี นีก็จะตอบไปว่าไม่รู้จก (หรื อถ้ามี Name Server บางเครื องทีรู ้ จกชื อนันแต่ขณะนัน
        ั                              ั                                           ั
เกิดขัดข้องอยูก็จะได้คาตอบว่าไม่มีเครื องใดรู ้จกเช่นกัน)
              ่       ํ                         ั

        การกําหนดชื อผู้ใช้ และชื อ Domain

        ความสามารถของ Domain Name System ทีทําหน้าทีแปลงระบบชื อให้เป็ นหมายเลข IP นี ได้
ถูกนํามาใช้กว้างขวางมากขึน โดยรวมไปถึ งการกําหนดชื อผูใช้ในระบบได้อีกด้วย กฎเกณฑ์ในการ
                                                      ้
             ่
กําหนดก็ไม่ยุงยาก โดยชื อผูใช้จะมีรูปแบบดังนี ชื อ_user @ ชื อ_subdomain. ชื อ_Subdomain... [...] .
                           ้
ชื อ_Domain ชื อ_user จะเป็ นตัวอักษรแทนชื อเฉพาะใดๆ เช่น ชื อผูใช้คนหนึ งทีจะรับหรื อส่ ง E-mail
                                                                ้
                                                                  ่
ท้ายชื อ user นี จะมีเครื องหมาย @ ซึ งอ่านว่า "แอท" หมายถึ ง "อยูทีเครื อง..." แบ่งคันออกจากส่ วนที
เหลื อ ชื อ_Subdomain เป็ นส่ วนย่อยทีจะใช้ขยายให้ทราบถึ งกลุ่มต่างๆ ใน domain นัน เช่ น กรณี ที
บริ ษทมี หลายหน่ วยงาน จึ งจัดเป็ นกลุ่ มๆ ตังชื อไว้อยู่ใน subdomain ต่างๆ ซึ งในที หนึ งๆ อาจจะมี
     ั
subdomain หลายระดับก็ได้ และชือ subdomain ตัวสุ ดท้ายมักเป็ นชือโฮสต์คอมพิวเตอร์ ทีผูใช้รายนันใช้
                                                                                     ้
   ่ ั                                      ่
อยูนนเอง ชื อ_Domain ตามปกติชือ domain จะอยูทางด้านขวาสุ ดของชื อ DNS ใช้สําหรับระบุประเภท
ของกิจกรรมของเครื อข่ายนันๆ เวลาทีมีการติดต่อกัน เช่ น ในการส่ ง E-mail ชื อดังกล่าวนี ก็จะใช้เป็ น
                           ่
ตัวอ้างอิงเสมือนชือและทีอยูของผูใช้รายนันๆ หรื อเรี ยกว่าเป็ น E-mail address นันเอง
                                ้

        อินเตอร์ เน็ตประกอบไปด้วยเครื อข่ายย่อยจํานวนมากต่อเชื อมเข้าด้วยกันจนกลายเป็ นเครื อข่าย
ขนาดมหึ มา เครื อข่ายย่อยในอินเตอร์ เน็ตมักเป็ นเครื อข่ายเฉพาะบริ เวณ (Local Area Network)ทีอาจใช้
เทคโนโลยี ทางฮาร์ ดแวร์ ในเครื อข่ายแตกต่างกันไปแต่ซอฟต์แวร์ ในเครื อข่ายจะทํางานภายใต้หลัก
สากลทําให้ทุกเครื อข่ายสามารถ แลกเปลี ยนและส่ งผ่านข้อมูลระหว่างกันได้ การส่ งข้อมูลระหว่า ง
เครื องต้องมีการกําหนดชื อผูรับผูส่งในทํานองเดี ยวกับ การส่ งจดหมายทางไปรษณี ย ์ คอมพิวเตอร์ ทุก
                            ้ ้
เครื องในอินเตอร์ เน็ตต้องมีหมายเลขประจําตัวผูใช้อินเตอร์ เน็ตจึงจําเป็ นต้อง ทราบถึ งวิธีการเรี ยกชื อ
                                              ้
เครื องดังทีจะกล่าวนี

        1. หมายเลขอินเตอร์ เน็ต (IP Address)

        หมายเลขอินเตอร์ เน็ตหรื อ IP Address จะเป็ นรหัสประจําตัวของคอมพิวเตอร์ ที ต่อเข้ากับ
อินเตอร์ เน็ต โดยหมายเลขนี จะมีรหัสไม่ซากัน ประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุ ด ทีคันด้วยเครื องหมายจุด (.)
                                       ํ
ตัวอย่างเช่น 203.146.188.5 จะเป็ น IP Address ของเครื อง enet.moe.go.th


วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                     พีรญา ดุนขุนทด
2. ชื อเครืองอินเตอร์ เน็ต (Domain Name)

        ชือเครื องอินเตอร์ เน็ต (DNS:Domain Name Server) จะเป็ นชื อทีอ้างถึงคอมพิวเตอร์ ทีต่อเข้ากับ
เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต เนื องจาก IP Address เป็ นตัวเลข 4 ชุ ด ทียากในการจดจําไม่สะดวกต่อผูใช้ ซึ ง
                                                                                            ้
DNS นี จะทําให้จดจําได้ง่ายขึน เป็ น enet.moe.go.th (enet คือชื อคอมพิวเตอร์ , moe คือชื อเครื อข่าย
กระทรวงศึกษาธิ การ, go คือหน่วยงาน, th คือชือประเทศไทย)

        3. ทีอยู่บนอินเตอร์ เน็ตหรืออิเล็คทรอนิคส์ เมล์ (E-Mail)

        ทีอยู่บนอินเตอร์ เน็ต หรื อ Internet Address จะประกอบด้วยชื อของผูใช้ คอมพิวเตอร์ (User)
                                                                          ้
และชือของอินเตอร์ เน็ต (Internet Name) มีรูปแบบคือ ชือบัญชีผใช้@ชื อเครื องอินเตอร์ เน็ต ตัวอย่างเช่น
                                                            ู้
bumrung@enet.moe.go.th จะหมายถึ งผูใช้ชือ bumrung เป็ นสมาชิ กของศูนย์บริ การ (enet) ที ศูนย์
                                   ้
คอมพิวเตอร์ กระทรวงศึกษาธิ การทีมีชือเป็ น moe.go.th

        4. ความหมายของโดเมน

        com กลุ่มองค์การค้า (commercial)
        edu กลุ่มการการศึกษา (educational)
        gov กลุ่มองค์การรัฐบาล (govermental)
        mit กลุ่มองค์การทหาร (military)
        net กลุ่มองค์การบริ การเครื อข่าย (network Services)
        org กลุ่มองค์กรอืนๆ (Organizations)
        ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นว่าในอเมริ กาเท่านันทีจะมีโดเมนเป็ นตัวอักษร 3 ตัว microsoft.com ในกรณี
ที ประเทศอื นๆ เช่ นบ้า นเรา จะมี เพี ยงแค่ส องตัวเช่ น moe.go.th โดเมนที เป็ นชื อย่อของประเทศที
น่าสนใจ เช่น enet.moe.go.th

        au ออสเตรเลีย (Australia)
        fr ฝรังเศส (France)
        hk ฮ่องกง (Hong Kong)
        jp ญีปุ่ น (Japan)
        th ไทย (Thailand)

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                   พีรญา ดุนขุนทด
sg สิ งค์โปร์ (Singapore)
         uk อังกฤษ (United Kingdom)
         5. ความหมายของซับโดเมน

         เช่น enet.moe.go.th

         go หน่วยงานรัฐบาล (govermental)
         ac สถาบันการศึกษา (acadamic)
         co องค์กรธุ รกิจ (commercial)
         or องค์กรอืนๆ (organizations)

การเชื อมต่ ออินเตอร์ เน็ต

         การเชื อมต่อเข้าสู่ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ ตนันสามารถทําได้หลายแบบ ซึ งแต่ละแบบจะต้องใช้
อุปกรณ์ทีแตกต่างกันไป ดังนี

         การเชื อมต่ อแบบบุคคล เป็ นการเชื อมต่อของบุคคลธรรมดาทัวไป ซึ งสามารถขอเชื อมต่อเข้าสู่
ระบบอินเทอร์ เน็ตได้โดยใช้เครื องคอมพิวเตอร์ ทีใช้อยู่ อาจจะเป็ นทีบ้านหรื อทีทํางาน เชื อมต่อผ่านทาง
สายโทรศัพท์ ผ่านอุปกรณ์ ทีเรี ยกว่า โมเด็ม (Modem) ซึ งค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก เรามักเรี ยกการเชื อมต่อ
แบบนี ว่า การเชื อมต่อแบบ Dial-Up โดยผูใช้ตองสมัครเป็ นสมาชิ กของ ISP เพือขอเชื อมต่อผ่านทาง
                                       ้ ้
SLIP หรื อ PPP account

                                                                                           ่
         การเชื อมต่ อแบบองค์ กร เป็ นองค์กรทีมีการจัดตังระบบเครื อข่ายใช้งานภายในองค์กรอยูแล้ว จะ
สามารถนําเครื องแม่ข่าย (Server) ของเครื อข่ายนันเข้าเชื อมต่อกับ ISP เพือเชื อมโยง เข้าสู่ ระบบ
อินเทอร์ เน็ตได้เลย โดยผ่านอุปกรณ์ชีเส้นทาง Router และสายสัญญาณเช่า (ตลอด 24 ชัวโมง)

อุปกรณ์ สําหรับการเชื อมต่ ออินเทอร์ เน็ต

         1. คอมพิวเตอร์ ควรเป็ นคอมพิวเตอร์ ทีมีความเร็ วสัญญาณนาฬิกาของหน่วยประมวลผลตังแต่
166 MHz มีหน่วยความจําหลัก RAM ตังแต่ 16 MB ขึนไป




วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                    พีรญา ดุนขุนทด
2. โมเด็ม (Modulator Demodulator Machine) คืออุปกรณ์ซึงทําหน้าทีแปลงข้อมูลทีได้จาก
เครื องคอมพิวเตอร์ ไปเป็ นสัญญาณไฟฟ้ ารู ปแบบหนึ ง (Impulse) ซึ งสามารถส่ งผ่านสายโทรศัพท์ทวไป
                                                                                           ั
ได้ซึงสัญญาณโทรศัพท์นนจะเป็ นสัญญาณอนาล็อก ส่ วนสัญญาณข้อมูลทีมาจากคอมพิวเตอร์ จะเป็ น
                     ั
สัญญาณดิจิตอล ทําให้ตองใช้โมเด็มในการแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็ นดิจิตอลและดิจิตอลเป็ นอนาล็อก
                     ้
ซะก่อน โมเด็มสามารถแยกได้เป็ น 3 ชนิด แต่ละชนิดก็มีขอดีขอเสี ยแตกต่างกันไปดังนี
                                                    ้ ้

         โมเด็มแบบติดตังภายใน โมเด็มชนิ ดนีจะมีลกษณะเป็ นแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ นามาติดตังเข้า
                                                ั                                 ํ
กับ ภายในตัวเครื องคอมพิ วเตอร์ โดยตรง รู ป ร่ า งจะแตกต่ า งกัน ตามที ผูผ ลิ ตจะออกแบบมาสํา หรั บ
                                                                         ้
คอมพิวเตอร์ ชนิ ดนันๆ โมเด็มชนิ ดนี จะใช้ไฟฟ้ าจากสล็อตบนเมนบอร์ ดทําให้เราไม่ตองต่อไฟหม้อ
                                                                               ้
แปลงต่างหากจากภายนอก ส่ วนมากโมเด็มติดตังภายในจะทําการติดตัง ผ่านทาง Port อนุ กรม RS-232C
รวมอยู่ดวย ทําให้ไม่มีปัญหาในเรื อง port อนุ กรมรุ่ นเก่าทีติ ดมากับเครื องคอมพิวเตอร์ การเชื อมต่อ
        ้
โมเด็มกับเครื องคอมพิวเตอร์ จะต่อทาง slot มาตรฐานในเครื องคอมพิวเตอร์ และเมือติดตังแล้วจะไม่
เปลือง เนือทีภายนอกใดๆ เลย และโมเด็มสําหรับติดตังภายในจะมี จุดให้ผใช้เสี ยบสายโทรศัพท์เข้ากับ
                                                                  ู้
โมเด็มโดยใช้ปลักโทรศัพท์ธรรมดา แบบ RJ-11 และมีลาโพงประกอบด้วย
                                               ํ

         โมเด็ม แบบติ ดตังภายนอก จะมี ล ักษณะเป็ นกล่ องสี เหลี ยมแบนๆ ภายในมี วงจรโมเด็ม ไฟ
สถานะ และลําโพง เนื องจากต่อภายนอกจึงต้องมี adapter แปลงสัญญาณไฟเลียงวงจร และจะมีสายต่อ
แบบ 25 ขา DB25 เอาไว้ใช้เชือมต่อผ่านทาง port อนุกรม RS - 232C

        PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Asociation) จะเป็ นโมเด็มทีมีขนาด
เล็ทีสุ ดคือ มีขนาดเท่าบัตรเครดิตรและหนาเพียง 5 มิลลิเมตรเท่านัน ซึ งโมเด็มชนิ ดนีออกแบบมาโดยให้
คอมพิ ว เตอร์ โน๊ ต บุ ค โดยเฉพาะ ซึ งในปั จ จุ บ น โมเด็ ม ชนิ ดนี จะมี ค วามเร็ ว พอๆ กับ โมเด็ ม ที ติ ต ตัง
                                                  ั
ภายนอกและภายใน ในปั จจุบนนีโมเด็มมีความเร็ วสู งสุ ดที 56 Kbps (Kilobyte per second) โดยจะใช้
                        ั
มาตรฐาน V.90 เป็ นตัวกําหนด




วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                            พีรญา ดุนขุนทด
3. คู่สายโทรศัพท์ (Dial line) เป็ นคู่สายโทรศัพท์บานสําหรับเชื อมต่อกับโมเด็ม
                                                         ้

       4. บัญชี ผ้ ใช้ งาน (Account) จากผูให้บริ การเอกชน ISP หรื อขององค์กร/หน่วยงานต่างๆ เช่น
                   ู                      ้
SchoolNet 1509 ซึ งจะกําหนดหมายเลขโทรศัพท์สาหรับการเชือมต่อ ชื อผูใช้งาน (Username) และ
                                           ํ                      ้
รหัสผ่าน (Password)

ลักษณะการเชื อมต่ อแบบบุคคล




       การเชื อมต่อเริ มจากผูใช้งาน (User) หมุนโมเด็มไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผูให้บริ การทีมี
                             ้                                                ้
โมเด็มต่ออยูเ่ ช่นกัน สัญญาณจากเครื องคอมพิวเตอร์ ผใช้จะถูกเปลียนจากสัญญาณดิจิตอลเป็ นอนาล็อก
                                                   ู้
ผ่านคู่สายโทรศัพท์ไปยังโมเด็มฝังตรงข้ามเพือเปลียนกลับสัญญาณอนาล็อกเป็ นดิจิตอลอีกครัง



วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                 พีรญา ดุนขุนทด
สัญญาณขอเข้าเชือมเครื อข่ายจะถูกส่ งมายังเครื องคอมพิวเตอร์ ผให้บริ การเพือตรวจสอบสิ ทธิ การ
                                                                   ู้
ใช้งานจาก Username และ Password ว่าถูกต้องหรื อไม่? ถ้าถูกต้องก็จะได้รับอนุ ญาตให้เชื อมต่อได้
สามารถจะทําการรับ-ส่ งไฟล์ รับ-ส่ งอีเมล์ สนทนาผ่านเครื อข่ายออนไลน์ และท่องโลกกว้างไซเบอร์
สเปซทาง WWW ได้ทนที
                ั

        ADSL : การเชื อมต่ ออินเทอร์ เน็ตความเร็วสู ง

        ในปั จจุ บนเทคโนโลยีของการเชื อมต่ออิ นเทอร์ เน็ ตมี การเปลี ยนแปลงไปมาก ทําให้มีความ
                  ั
ต้อ งการในการใช้ ง านที ความเร็ ว สู ง ขึ นเพื อตอบสนองต่ อ การให้ บ ริ การมัล ติ มี เ ดี ย เช่ น การดู
                                                      ่
ภาพเคลือนไหวผ่านเครื อข่าย การฟังวิทยุหรื อดูโทรทัศน์ผานเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เครื อข่ายความเร็ วสู ง
ทีว่านีเรี ยกว่า บรอดแบนด์ ทีส่ งผ่านสัญญาณความเร็ วสู งผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา

        ADSL : (Asymmetric Digital Subscriber Line) คือ บรอดแบนด์ หรื ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง
โดยผ่านเทคโนโลยีของ ADSL Modem ซึ งสามารถเปลี ยนสายโทรศัพท์ธรรมดา ให้กลายเป็ นสาย
ดิจิตอลทีมีความเร็ วในการรับ-ส่ งข้อมูลสู ง และมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าการสื อสารด้วยโมเด็มธรรมดา
5-10 เท่า และที สํา คัญเรายังสามารถใช้ป ระโยชน์จากระบบนี ได้สองทางพร้ อมกัน นันคื อ สามารถ
สนทนาด้วยเสี ยงแบบธรรมดาในขณะทีสามารถเชื อมต่ออินเทอร์ เน็ตได้พร้ อมกันในเวลาเดี ยวกันได้
ด้วย (โมเด็มอนาล็อกเดิมต้องวางสายการสนทนาก่อนจึงจะเชือมต่ออินเทอร์ เน็ตได้)

        ข้ อดีของ ADSL

        1. เป็ นอินเทอร์ เน็ตพร้อมใช้ตลอดเวลา "always on" เพียงคลิกบราวเซอร์ ก็สามารถเชือมต่อกับ
โลกอินเทอร์ เน็ตได้

        2. หมดปั ญหาสายหลุด ไม่ตองจ่ายค่าหมุนโมเด็มต่อครัง ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านการใช้งาน
                                ้
โทรศัพท์

        3. ดาวน์โหลดและอัพโหลดได้ทนใจ ไวกว่าเดิม 5-10 เท่า ดาวน์โหลดไฟล์ใหญ่ๆ ได้สบายใจ
                                  ั

        4. ดูขอมูลประเภทมัลติมีเดียได้รวดเร็ ว เช่น ดูหนัง/ฟังเพลงจากอินเทอร์ เน็ต วีดิโอ
              ้
คอนเฟอเรนซ์ การเรี ยนการสอนผ่านอินเทอร์ เน็ต

        5. เล่นเกมออนไลน์ได้สนุกสนาน (จนอาจเสี ยคนได้ ถ้าแบ่งเวลาไม่ถูก)

วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                      พีรญา ดุนขุนทด
6. ให้ความเร็ วสู งสุ ดตังแต่ 64 Kbps ถึง 8 Mbps

         ข้ อเสี ยของ ADSL

         1. ค่าบริ การและอุปกรณ์ใช้งานยังราคาแพง

         2. พืนทีบริ การยังไม่ครอบคลุม (แม้แต่เมืองใหญ่ๆ ในต่างจังหวัดก็ยงมีนอยมาก)
                                                                         ั ้

         3. จ่ายเงินสองต่อ ค่าสายสัญญาณโทรศัพท์และค่าเชื อมต่ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง

         อย่างไรก็ตามนโยบายของรัฐบาลโดยกระทรวงไอซี ที ก็มีส่วนผลักดันให้โครงการนี เดิ นหน้า
ต่อไป หากสามารถทําให้แพร่ หลาย ราคาอุปกรณ์ถูกลง ค่าใช้จ่ายไม่เกิน 1,000 บาทต่อเดือน ก็จะทําให้
ความฝั นในการให้บ ริ ก ารข่ าวสาร การจัดการความรู ้ สู่ ชุ มชนในรู ป แบบออนไลน์เป็ นจริ ง ขึนมาได้
แน่นอน

การเชื อมต่ อแบบองค์ กร

         จะเป็ นการเชื อมต่อเพือการใช้งานด้วยเครื องคอมพิวเตอร์ จานวนมากทีถูกต่อเข้าด้วยกันเป็ น
                                                                 ํ
เครื อข่าย มีเครื องคอมพิวเตอร์ ทีทําหน้าทีเป็ นเครื องให้บริ การ (Server) ด้านต่างๆ และมีการเชื อมต่อกับ
                          ่
เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตอยูตลอดเวลา ซึ งมีอุปกรณ์ทีสําคัญดังนี




         1. คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย (Server) ควรเป็ นคอมพิวเตอร์ ทีมีความเร็ วสัญญาณนาฬิ กาของหน่วย
                                                                                     ่ ั
ประมวลผลตังแต่ 500 MHz มีหน่วยความจําหลัก RAM ตังแต่ 512 MB ขึนไป จํานวนเครื องขึนอยูกบ
ความต้องการและปริ มาณการใช้งานขององค์กร

         2. ดิจิตอลโมเด็ม (NTU) และอุปกรณ์ชีเส้นทาง (Router) คืออุปกรณ์ซึงทําหน้าทีแปลงสัญญาณ
ดิจิตอลและกําหนดเส้นทางในการเชือมต่อด้วยหมายเลข IP Address ไปยังเครื อข่ายอืนๆ


วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                       พีรญา ดุนขุนทด
2.
        3. คู่สายเช่า (Lease line) เป็ นคู่สายสัญญาณเช่าสําหรับการเชือมต่อแบบตลอดเวลา ไม่ตองมี
                                                                                          ้
การหมุนหมายเลขโทรศัพท์ในการเชื อมต่อ

        4. สิ ทธิ การใช้งานเชือมต่อ (Air time) จากผูให้บริ การเอกชน ISP หรื อขององค์กร/หน่วยงาน
                                                    ้
ต่างๆ เช่น School Net 1509 ซึ งจะกําหนดหมายเลข IP Address ของกลุ่มเครื องในเครื อข่ายจํานวนหนึง
มาให้สาหรับใช้กบอุปกรณ์ชีเส้นทางและเครื องแม่ข่าย
      ํ        ั




ข้อมูลอ้างอิง: http://www.lms.dmw.ac.th/internet/




วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                 พีรญา ดุนขุนทด

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internetSamorn Tara
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตburin rujjanapan
 

What's hot (17)

ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บZzzzทที่1
บZzzzทที่1บZzzzทที่1
บZzzzทที่1
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 

Similar to 3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตpatchu0625
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 

Similar to 3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต (20)

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
Ch02
Ch02Ch02
Ch02
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from Meaw Sukee (20)

Pix2
Pix2Pix2
Pix2
 
Pix
PixPix
Pix
 
Report
ReportReport
Report
 
Google classroom
Google classroomGoogle classroom
Google classroom
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
Plan9
Plan9Plan9
Plan9
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Edit
EditEdit
Edit
 
Problem
ProblemProblem
Problem
 
Peeraya
PeerayaPeeraya
Peeraya
 
ตัวอย่างเล่ม
ตัวอย่างเล่มตัวอย่างเล่ม
ตัวอย่างเล่ม
 
Cal 190856
Cal 190856Cal 190856
Cal 190856
 
Total pub
Total pubTotal pub
Total pub
 
Public
PublicPublic
Public
 
Total pub
Total pubTotal pub
Total pub
 
Bro
BroBro
Bro
 
Training_edmodo
Training_edmodoTraining_edmodo
Training_edmodo
 
Frame
FrameFrame
Frame
 
Frame
FrameFrame
Frame
 
Table
TableTable
Table
 

3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต

  • 1. ใบความรู้ ที 3.1 พัฒนาการของอินเทอร์ เน็ต ความหมายของอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ต ( Internet ) เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ทีเชื อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทัวโลกเข้าด้วยกัน เรี ยกอีกอย่างหนึงว่า ไซเบอร์ สเปซ ( Cyberspace ) อินเทอร์ เน็ต ทําให้การเคลือนย้ายและส่ งผ่านข่าวสารข้อมูลจากทีหนึ งไปอีกทีหนึ งกระทําได้ โดยง่าย โดยไม่จากัดเรื องระยะทางและเวลา สามารถส่ งข้อมูลได้หลากหลายรู ปแบบ เช่น ส่ งเป็ นแบบ ํ ข้อความ ภาพนิง ภาพเคลือนไหว เสี ยง โดยอาศัยเครื อข่ายโทรคมนาคมเป็ นตัวเชือมต่อเครื อข่าย การเชือมโยงเครื อข่ายจะใช้เครื อข่ายสื อสารโทรคมนาคม เช่น สายสัญญาณโทรศัพท์ ใยแก้วนํา แสง (Fiber Optic) สัญญาณไมโครเวฟ สัญญาณจากดาวเทียม ทําให้การส่ งผ่านข้อมูลจากทีหนึ งไปยัง อีกทีหนึ งเป็ นไปด้วยความรวดเร็ ว อินเทอร์ เน็ตเป็ น แหล่งรวบรวมข้อมูลแหล่งใหญ่ทีสุ ดของโลก และ เป็ นทีรวมทังบริ การและเครื องมื อสื บค้นข้อมูลหลายประเภท จนกระทังกล่ าวได้ว่าอิ นเทอร์ เน็ตเป็ น เครื องมือสําคัญอย่างหนึงในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทังในระดับบุคคลและองค์กร การเชื อมต่อเข้าเป็ นอินเทอร์ เน็ ตอาศัยการบริ หารแบบกระจายอํานาจอิ นเทอร์ เน็ต จึงไม่มีใคร เป็ นเจ้าของหรื อควบคุ มดูแลอย่างแท้จริ ง เครื อข่ายแต่ละส่ วนในอินเทอร์ เน็ตต่างบริ หารเครื อข่ายของ ตนเองอย่างเป็ นอิ สระโดยรั บผิดชอบค่า ใช้จ่ายติ ดตังระบบและการเช่ าวงจรสื อสารเพื อต่อเชื อมเข้า ด้วยกัน แต่ในทางปฏิบติแล้วอินเทอร์ เน็ตมีองค์กรระหว่างประเทศทีจัดตังขึนเพือประสานความร่ วมมือ ั ระหว่างสมาชิกองค์การนีได้แก่ สมาคมอินเทอร์ เน็ต ISOC ( Internet Society ) วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 2. ISOC เป็ นองค์กรเพือความร่ วมมือและประสานงานของสมาชิ กอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ เป็ นองค์กรทีไม่แสวงผลกําไร และมีนโยบายสนับสนุ นการใช้อินเทอร์ เน็ตเป็ นโครงสร้างพืนฐานอย่าง หนึ งสําหรับการศึกษาและงานวิจย และทําหน้าทีส่ งเสริ มและเผยแพร่ ความรู ้ ให้แก่ ผู ้ ใช้อินเทอร์ เน็ ต ั ทัวไป ISOC ยังทําหน้าที พัฒนามาตรฐานและเทคโนโลยีเพือใช้ในอิ นเทอร์ เน็ ต ภายใน ISOC มี คณะทํางานอาสาสมัครร่ วมวางแนวทางพัฒนาอินเทอร์ เน็ต ให้สมาชิ กถือปฏิบติ แต่ไม่มีหน้าทีดูแลหรื อ ั ควบคุมการบริ หารเครื อข่ายแต่อย่างใด ประวัติความเป็ นมา อิ น เทอร์ เน็ ต (Internet) เป็ นเครื อข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ซึ งเริ มก่ อ ตังโดยกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริ กา อินเทอร์ เน็ตในยุคแรกๆ ประมาณปี พ.ศ. 2512 เป็ นเพียงการนําคอมพิวเตอร์ จานวนไม่กี ํ เครื องมาเชื อมต่อกัน โดยสายส่ งสัญญาณเพือแลกเปลียนข้อมูลระหว่างเครื องคอมพิวเตอร์ ภารกิจหลัก เพือใช้ในงานวิจยทางทหาร โดยใช้ชือว่า "อาร์ ปา" (ARPA : Advanced Research Project Agency) ั รู ปแบบเครื อข่ายอาร์ พาเน็ตไม่ได้ต่อเชื อมโฮสต์ ( Host ) คอมพิวเตอร์ เข้าถึ งกันโดยตรง หากแต่ใช้ คอมพิวเตอร์ เรี ยกว่า IMP ( Interface Message Processors ) ต่อเชื อมถึงกันทางสายโทรศัพท์เพือทํา หน้าทีด้านสื อสารโดยเฉพาะ ซึ งแต่ละIMP สามารถเชือมได้หลายโฮสต์ กําเนิดอาร์ พาเน็ต วันที 2 กันยายน พ.ศ. 2512 ได้มีการทดลองเชือมโยง IMP ระหว่าง มหาวิทยาลัย 4 แห่งโดยมีโฮสต์ต่างชนิดกันทีใช้ในระบบปฏิบติการต่างกัน คือ ั วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 3. 1. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย แห่ง ลอส แอนเจลิส ใช้เครื อง SDS Sigma 7 ภายใต้ระบบ ปฏิบติ การ SEX ( Sigma EXecutive ) ั 2. สถาบันวิจยสแตนฟอร์ ด ใช้เครื อง SDS 940และระบบปฏิบติการ Genie ั ั 3. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย แห่ง ซานตา บาร์ บารา มีเครื อง IBM 360/75ทํางานภายใต้ ระบบปฏิบติการ OS/MVT ั 4. มหาวิทยาลัยยูทาห์ ทีซอลต์เลคซิ ตี ใช้เครื อง DEC PDP-10ภายใต้ระบบปฏิบติการ ั Tenex ปี 2515 หลังจากทีเครื อข่ายทดลองอาร์ พา ประสบความสําเร็ จ ก็ได้มีการปรับปรุ งหน่วยงานจาก อาร์ ปา มาเป็ น ดาร์ พา DARPA (Defense Advanced Research Projects Agency) ตอนหลังเปลียนเป็ น Defence Communication Agency ปั จจุบนคือ Defense Informations Systems Agency ั ในปี 2526 อาร์ ปาเน็ตได้แบ่งเป็ น 2 เครื อข่าย ด้านงานวิจยใช้ชือว่า อาร์ ปาเน็ต เหมือนเดิม ส่ วน ั เครื อข่ายของกองทัพใช้ชือ มิลเน็ต (MILNET: Military Network) ซึ งมีการเชือมต่อโดยใช้โปรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) เป็ นครังแรก ในปี 2528 มูลนิธิวทยาศาสตร์ แห่งชาติอเมริ กา (NSF) ได้ให้เงินทุนในการสร้างศูนย์ซูเปอร์ ิ คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ชือว่า NSFNET และในปี 2533 อาร์ ปาเนตไม่สามารถทีจะรองรับภาระทีเป็ นเครื อข่ายหลัก (Backbone) ของ ระบบได้ อาร์ ปาเน็ตจึงได้ยุติลงและเปลียนไปใช้ NSFNET และเครื อข่ายอืนๆ แทน มาจนเป็ นเครื อข่าย ขนาดใหญ่ จนกระทังถึงทุกวันนี โดยเรี ยกเครื อข่ายว่า อินเทอร์ เน็ต (Internet) โดยเครื อข่าย ส่ วนใหญ่ ่ จะอยูในอเมริ กา และปั จจุบนนีมีเครื อข่ายย่อยมากมายทัวโลก ั กํา เนิ ดอาร์ พ าเน็ ต วันที 2 กันยายน พ.ศ. 2512 ได้มี ก ารทดลองเชื อมโยง IMP ระหว่า ง มหาวิ ท ยาลัย 4 แห่ ง โดยมี โ ฮสต์ ต่ า งชนิ ด กัน ที ใช้ ใ นระบบปฏิ บ ัติ ก ารต่ า งกัน คื อ มหาวิ ท ยาลัย แคลิฟอร์ เนี ย แห่ ง ลอส แอนเจลิส ใช้เครื อง SDS Sigma 7 ภายใต้ระบบปฏิบติ การ SEX ( Sigma ั EXecutive ) สถาบันวิจยสแตนฟอร์ ด ใช้เครื อง SDS 940และระบบปฏิ บติการ Genie มหาวิทยาลัย ั ั แคลิ ฟอร์ เนี ย แห่ ง ซานตา บาร์ บารา มีเครื อง IBM 360/75ทํางานภายใต้ระบบปฏิ บติการ OS/MVT ั มหาวิทยาลัยยูทาห์ ทีซอลต์เลคซิ ตี ใช้เครื อง DEC PDP-10ภายใต้ระบบปฏิบติการ Tenex ั ปี 2515 หลังจากทีเครื อข่ายทดลองอาร์ พา ประสบความสําเร็ จ ก็ได้มีการปรับปรุ งหน่วยงานจาก อาร์ ปา มาเป็ น ดาร์ พา DARPA (Defense Advanced Research Projects Agency) ตอนหลังเปลียนเป็ น Defence Communication Agency ปั จจุบนคือ Defense Informations Systems Agency ั วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 4. ในปี 2526 อาร์ ปาเน็ตได้แบ่งเป็ น 2 เครื อข่าย ด้านงานวิจยใช้ชือว่า อาร์ ปาเน็ต เหมือนเดิม ส่ วน ั เครื อข่ายของกองทัพใช้ชือ มิลเน็ต (MILNET: Military Network) ซึ งมีการเชือมต่อโดยใช้โปรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) เป็ นครังแรก ในปี 2528 มูลนิ ธิวิทยาศาสตร์ แห่ งชาติ อเมริ กา (NSF) ได้ให้เงิ นทุนในการสร้ างศูนย์ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ชือว่า NSFNET และในปี 2533 อาร์ ปาเนตไม่สามารถทีจะรองรับภาระทีเป็ นเครื อข่ายหลัก (Backbone) ของ ระบบได้ อาร์ ปาเน็ตจึงได้ยุติลงและเปลียนไปใช้ NSFNET และเครื อข่ายอืนๆ แทน มาจนเป็ นเครื อข่าย ขนาดใหญ่ จนกระทังถึงทุกวันนี โดยเรี ยกเครื อข่ายว่า อินเทอร์ เน็ต (Internet) โดยเครื อข่าย ส่ วนใหญ่จะ ่ อยูในอเมริ กา และปั จจุบนนีมีเครื อข่ายย่อยมากมายทัวโลก ั อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย อิ นเทอร์ เน็ ตในประเทศไทยเริ มขึ นเมื อปี พ.ศ. 2530 โดยการเชื อมต่ อมิ นิ ค อมพิ วเตอร์ ข อง มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่ งเอเชี ย (AIT) ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แต่ในครังนันยังเป็ นการเชื อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ ซึ งสามารถส่ งข้อมูลได้ช้า และไม่เป็ นการถาวร จนกระทังในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ กส์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ (NECTEC) ได้ท า การเชื อมต่ อคอมพิวเตอร์ ก ับ มหาวิทยาลัย 6 แห่ ง ได้แก่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย , สถาบัน ํ เทคโนโลยีแห่ งเอเชี ย (AIT), มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ , ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิ ก ส์ และ คอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกัน เรี ยกว่า "เครื อข่ายไทยสาร" โดยสํานักวิทยบริ การ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจร สื อสารความเร็ ว 9600 บิ ต ต่ อ วิ น าที จากการสื อสารแห่ ง ประเทศไทยเพื อเชื อมเข้า สู่ อิ น เทอร์ เ น็ ต ที "บริ ษ ัท ยูยูเ น็ ต เทคโนโลยี ประเทศสหรัฐอเมริ กา" ในปี พ.ศ. 2536 NECTEC ได้ เ ช่ า วงจรสื อสารความเร็ ว 64 กิ โ ลบิ ต ต่ อ วิ น าที จ าก การสื อสารแห่งประเทศไทยเพือ เพิมความสามารถในการขนส่ งข้อมูล ทําให้ประเทศไทยมีวงจรสื อสาร ระดับ ที ให้บริ การแก่ ผูใช้ไทยสารอิ นเทอร์ เน็ ต 2 วงจร ในปั จจุบนวงจรเชื อมต่อไปยังต่างประเทศที ้ ั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ NECTEC ได้รับการปรับปรุ งให้มีความ เร็ วสู งขึนตามลําดับ นับตังแต่นน ั มาเครื อข่ายไทยสารได้ขยายตัวกว้างขึน และมีหน่ วยงานอืนเชื อมเข้ากับ ไทยสารอีกหลายแห่ งในช่ วง ต่อมาเครื อข่ายไทยสารเติบโตอย่างต่อเนื อง โดยมีมหาวิทยาลัยและหน่วยงานราชการเข้ามาเชื อมต่อกับ ่ ่ เครื อข่ายนีเพิมขึนอีกจํานวนมาก จะเห็นได้วาอินเทอร์ เน็ตในประเทศขณะนันยังจํากัดอยูในวงการศึกษา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 5. และการวิ จ ัย เท่ า นัน ไม่ ไ ด้เ ป็ นเครื อ ข่ า ยที ให้ บ ริ ก ารในรู ป ของธุ ร กิ จ แต่ ท างสถาบัน นัน ๆ จะเป็ น ผูรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง ้ ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2537 ความต้ อ งการในการใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต จากภาคเอกชนมี ม ากขึ น การสื อสารแห่ งประเทศไทย (กสท.) จึงได้ร่วมมือกับบริ ษทเอกชน เปิ ดบริ การอินเทอร์ เน็ตให้แก่บุคล ั ผูส นใจทัวไปได้ส มัค รเป็ นสมาชิ ก ตังขึ นในรู ป แบบของบริ ษ ทผูให้บริ การอิ นเทอร์ เน็ ตเชิ งพาณิ ช ย์ ้ ั ้ เรี ยกว่า "ผูให้บริ การอินเทอร์ เน็ต" หรื อ ISP (Internet Service Provider) ้ ข้อมูลบนอินเทอร์ เน็ตจะถูกส่ งผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และระบบการสื อสารซึ งในแต่ละพืนที หรื อแต่ละประเทศซึ งจะต้องรับผิดชอบกันเอง เพือเชื อมต่อกับระบบใหญ่ของโลกให้ได้ ดังนันจึงเป็ น หน้าทีของผูให้บริ การอินเทอร์ เน็ต (ISP) ซึ งได้แก่ องค์กรทีทําหน้าทีให้บริ การเชื อมต่อสายสัญญาณจาก ้ แหล่งต่างๆ ของผูใช้บริ การ เช่ น จากทีบ้าน สํานักงาน สถานบริ การ และแหล่งอืนๆ เพือเชื อมต่อกับ ้ ระบบใหญ่ออกไปนอกประเทศได้ อินเตอร์ เน็ตทํางานอย่ างไร รู้ จักกับ TCP/IP โปรโตคอล TCP/IP หรื อ Transmission Control Protocol/Internet Protocol เป็ นระเบียบวิธีการ ั สื อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ ทีใช้กนมาแต่เดิมในระบบปฏิบติการ Unix ซึ งมีการใช้งานอย่าง กว้างขวาง ั มาก จนถื อ เป็ นมาตรฐานได้ จุ ด กํา เนิ ด ของโปรโตคอล TCP/IP นี เริ มขึ นในราว พ.ศ. 2512 ที กระทรวงกลาโหมของสหรัฐ เมือพบปั ญหาในการเชื อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในหน่ วยงานต่างๆ ของตน ซึ งจะต้องมี ก ารส่ งข้อมู ลระหว่างกัน และไปยัง หน่ วยงานภายนอกอื นๆ เช่ น มหาวิท ยาลัย ห้องทดลองต่างๆ (ส่ วนใหญ่มีเครื องทีใช้ระบบ Unix อยู่เป็ นจํานวนมาก) เนื องจากแต่ละแห่ งก็จะมี ระบบคอมพิวเตอร์ ของตนเองทีแตกต่างกันไป การต่อเชื อมกันก็เป็ นไปในลักษณะต่างคนต่างทําไม เหมื อนกัน ดังนันข่าวสารข้อมูลทังหลาย จึ งถ่ ายเทไปมาได้อย่างยากลําบากมาก กระทรวงกลาโหม สหรัฐได้ จัดตังหน่ วยงาน Advanced Research Projects Agencies (ARPA) ขึนมา เพือหาทางแก้ไข ปั ญหาทีเกิดขึนนี ผลลัพธ์ทีหน่วยงาน ARPA ได้จดทําขึนคือ การกําหนดมาตรฐานในการสื อสารข้อมูล ั วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 6. และได้จดตังเครื อข่าย ARPANET ขึนโดยใช้โปรโตคอล TCP/IP ต่อมาก็กลายมาเป็ นมาตรฐานจริ งจัง ั ในราวปี พ.ศ. 2525 ความสัม พันธ์ ระหว่า ง TCP/IP กับ ระบบปฏิ บ ติก าร Unix เกิ ดขึ น เนื องจาก ั มหาวิ ท ยาลัย แคลิ ฟ อร์ เ นี ย ที เบอร์ ค เลย์ ได้พ ฒ นาระบบปฏิ บ ัติ ก าร Unix ซึ งมี ก ารผนวกเข้า กับ ั โปรโตคอล TCP/IP สําหรับใช้ในการสื อสารระหว่างระบบออกมา และเผยแพร่ ต่อไปยังหน่ วยงาน ต่างๆ ทําให้การสื อสารกันของเครื องทีใช้ระบบปฏิบติการ Unix มักจะต้อง ใช้โปรโตคอล TCP/IP เสมอ ั และมีบทบาทเป็ นสิ งทีคู่กนต่อมาถึงปั จจุบน ั ั ในปั จ จุ บ ัน นี ไม่ ว่ า คอมพิ ว เตอร์ ส่ ว นบุ ค คลของผูใ ช้ จ ะเป็ นแบบใดก็ ต าม เช่ น พี ซี ห รื อ ้ แมคอินทอช ก็สามารถใช้งานโปรโตคอล TCP/IP เพือต่อเชื อมเข้าสู่ อินเตอร์ เน็ตได้ วิธีการก็คือเพียงแต่ ติดตังใช้งานซอฟต์แวร์ โปรโตคอล TCP/IP เท่านัน ส่ วนวิธีการและโปรแกรมทีติดตัง จะแตกต่างกัน ขึนกับระบบที ใช้ ซึ งจะกล่าวต่อไป หมายเลข IP (IP Address) การสื อสารกันในระบบเครื อข่าย อินเตอร์ เน็ตทีมีโปรโตคอล TCP/IP เป็ นมาตรฐานนี เครื องอมพิวเตอร์ ทุกเครื องทีเชื อมต่ออยู่ จะต้องมี หมายเลขประจําตัวเอาไว้อางอิงให้เครื องคอมพิวเตอร์ อืนๆ ได้ทราบเหมือนกับคนทุกคนต้องมีชือให้คน ้ อืนเรี ยก หมายเลขอ้างอิงดังกล่าวเราเรี ยกว่า IP Address หรื อหมายเลข IP หรื อบางทีก็เรี ยกว่า "แอดเดรส IP" (IP ในทีนีก็คือ Internet Protocol ตัวเดียวกับใน TCP/IP นันเอง) ซึ งถูกจัดเป็ นตัวเลขชุ ดหนึ งขนาด 32 บิต ใน 1 ชุ ดนี จะมี ตวเลขถูกแบ่งออกเป็ น 4 ส่ วน ส่ วนละ 8 บิตเท่าๆ กัน เวลาเขียนก็แปลงให้เป็ น ั เลขฐานสิ บ ก่อนเพือความง่ายแล้วเขียนโดยคันแต่ละส่ วนด้วยจุด ดังนันในตัวเลขแต่ละส่ วนนี จึงมีค่าได้ ตังแต่ 0 จนถึง 28 -1 = 255 เท่านัน เช่น 192.10.1.101 เป็ นต้น ตัวเลข IP Address ชุ ดนีจะเป็ นสิ งทีสําคัญ คล้ายเบอร์ โทรศัพท์ทีเรามี ใช้อยู่และไม่ซํากัน เพราะสามารถกําหนดเป็ นตัวเลขได้รวมทังสิ นกว่า 4 พันล้านเลขหมาย แต่การกําหนดให้คอมพิวเตอร์ มีเลขหมาย IP Address นีไม่ได้เริ มต้นจากหมายเลข 1 และนับขึนไปเรื อยๆ หากแต่จะมีการจัด แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ - ส่ วนแรกเป็ นหมายเลขของเครือข่ าย (Network Number) - ส่ วนทีสองเรียกว่ าหมายเลขของคอมพิวเตอร์ ทอยู่ในเครือข่ ายนัน (Host Number) เพราะ ี ่ ่ ในเครื อข่ายใดๆ อาจจะมีเครื องคอมพิวเตอร์ เชือมต่ออยูได้มากมาย ในเครื อข่ายทีอยูคนละ ระบบอาจมีหมายเลข Host ซํากันก็ได้ แต่เมือรวมกับหมายเลข Network แล้ว จะได้เป็ น IP Address ทีไม่ซากันเลย ํ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 7. ในการจัดตังหรื อกําหนดหมายเลข IP Address นีก็มีวิธีการกําหนดทีชัดเจน และมีกฎเกณฑ์ที รัดกุม ผูใช้ทีอยากจัดตังโฮสต์คอมพิวเตอร์ เพือเชือมต่อเข้าอินเตอร์ เน็ต และให้บริ การต่างๆ สามารถขอ ้ หมายเลข IP Address ได้ทีหน่วยงาน Internet Network Information Center (InterNIC) ขององค์กร Network Solution Incorporated (NSI) ทีรัฐเวอร์ จิเนี ย สหรัฐอเมริ กา แต่ถาผูใช้สมัครเข้าเป็ นสมาชิ กขอ ้ ้ ใช้บริ การอินเตอร์ เน็ตจากบริ ษทผูให้บริ การ (Internet Service Provider) เรี ยกย่อๆ ว่าหน่วยงาน ISPราย ั ้ ใดก็แล้วแต่ ก็ไม่ตองติดต่อขอ IP Address เนื องจากหน่วยงาน ISP เหล่านันจะกําหนดหมายเลข IP ให้ ้ ่ ั ใช้ หรื อส่ งค่า IP ชัวคราวให้ใช้งาน ทังนีขึนอยูกบแบบการขอใช้บริ การ โครงสร้างของแอดเดรสทีใช้ใน classต่างๆของเครื อข่าย ซึ งทังหมด ยาว 32 บิต IP Address นีมี การจัดแบ่งออกเป็ นทังหมด 5 ระดับ (Class) แต่ทีใช้งานในทัวไปจะมีเพียง 3 ระดับคือ Class A, Class B, Class C ซึ งก็แบ่ง ตามขนาดความใหญ่ ของเครื อข่ ายนันเอง ถ้า เครื อข่า ยใดมี จา นวนเครื อง ํ ่ ่ ่ คอมพิวเตอร์ เชื อมต่ออยูมาก ก็จะมีหมายเลขอยูใน Class A ถ้ามีจานวนเครื องต่ออยูลดหลันกันลงมาก็ ํ ่ จะอยูใน Class B และ Class C ตามลําดับ หมายเลข IP ของ Class A มีตวแรกเป็ น 0 และหมายเลขของ ั เครื อข่าย (Network Number) ขนาด 7 บิต และ มีหมายเลขของเครื องคอมพิวเตอร์ (Host Number) ขนาด ่ 24 บิต ทําให้ในหนึงเครื อข่ายของ Class A สามารถมีคอมพิวเตอร์ เชื อมต่ออยูในเครื อข่ายได้ถึง 224= 16 ล้านเครื อง เหมาะสําหรับองค์กร หรื อบริ ษทยักษ์ใหญ่ แต่ใน Class A นี จะมีหมายเลข เครื อข่ายได้ 128 ั ตัวเท่านันทัวโลก ซึ งหมายความว่าจะมีเครื อข่ายยักษ์ใหญ่แบบนี ได้เพียง 128 เครื อข่ายเท่านัน สําหรับ Class B จะมีหมายเลขเครื อข่ายแบบ 14 บิต และหมายเลขเครื องคอมพิวเตอร์ แบบ 16 บิต (ส่ วนอีก 2 บิต ่ ทีเหลื อบังคับว่าต้องขึนต้นด้วย 102) ดังนันจึงสามารถมีจานวนเครื อข่ายทีอยูใน Class B ได้มากกว่า ํ Class A คือมีได้ถึง 214 = กว่า 16,000 เครื อข่าย และก็สามารถมีเครื องคอมพิวเตอร์ เชื อมต่อกันใน เครื อข่าย Class B แต่ละเครื อข่ายได้ถึง 216 หรื อมากกว่า 65,000 เครื อง สุ ดท้ายคื อ Class C ซึ งมี หมายเลขเครื องคอมพิวเตอร์ แบบ 8 บิตและมีหมายเลขเครื อข่ายแบบ 21 บิต ส่ วนสามบิตแรกบังคับว่า ต้องเป็ น 1102 ดังนันใน แต่ละเครื อข่าย Class C จะมีจานวนเครื องต่อเชื อมได้เพียงไม่เกิน 254 เครื องใน ํ แต่ละเครื อข่าย (28 = 256 แต่หมายเลข 0 และ 255 จะไม่ถูกใช้งาน จึงเหลื อเพียง 254) ดังนันวิธีการ สังเกตได้ง่ายๆ ว่าเราเชื อมต่ออยูทีเครื อข่าย Class ใดก็สามารถดูได้จาก IP Address ในส่ วนหน้า (ส่ วน ่ Network Address) โดย วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 8. Class A จะมี Network address ตังแต่ 0 ถึง 127 (บิตแรกเป็ น 0 เสมอ) Class B จะมี Network address ตังแต่ 128 ถึง 191 (เพราะขึนต้นด้วย 102 เท่านัน) Class C จะมี Network address ตังแต่ 192 ถึง 223 (เพราะขึนต้นด้วย 1102 เท่านัน) เช่น ถ้าเครื องคอมพิวเตอร์ ในอินเตอร์ เน็ตมีหมายเลข IP ดังนี 181.11.82.22 ตัวเลข 181.11 แสดงว่าเป็ นเครื อข่ายใน Class B ซึ งหมายเลขเครื อข่ายเต็มๆ จะใช้ 2 ส่ วนแรกคือ 181.11 และมี หมายเลขคอมพิวเตอร์ คือ 82.22 หรื อถ้ามี IP Address เป็ น 192.131.10.101 ทําให้ทราบว่าเครื อง ่ คอมพิวเตอร์ นนเชือมต่ออยูใน Class C มีหมายเลขเครื อข่ายคือ 3 ส่ วนแรก ได้แก่ 192.131.10 และ ั หมายเลขประจํา เครื องคือ 101 เป็ นต้น Domain Name System (DNS) เราทราบแล้วว่าการติดต่อกันในอิ นเตอร์ เน็ตซึ งใช้โปรโตคอล TCP/IP คุ ยกัน โดยจะต้องมี หมายเลข IP ในการอ้างอิงเสมอ แต่หมายเลข IP นีถึงแม้จะจัดแบ่งเป็ นส่ วนๆ แล้วก็ยงมีอุปสรรคในการ ั ่ ทีต้องจดจํา ถ้าเครื องทีอยูในเครื อข่ายมีจานวนมากขึน การจดจําหมายเลข IP ดูจะเป็ นเรื องยาก และอาจ ํ สับสนจําผิดได้ แนวทางแก้ปัญหาคือการตังชื อหรื อตัวอักษรขึนมาแทนทีหมายเลข IP น่าจะสะดวกใน การจดจํามากกว่า เช่ น หมายเลข IP คื อ 203.78.105.4 แทนทีด้วยชื อ thaigoodview.com ผูใช้บริ การ ้ สามารถ จดจํา ชื อ thaigoodview.com ได้แ ม่ นยํา กว่า นอกจากนี ในกรณี เ ครื องเสี ย หรื อต้อ งการ เปลียนแปลงเครื อง คอมพิวเตอร์ ทีให้บริ การ จากเครื องทีมีหมายเลข IP 203.78.105.4 เป็ น 203.78.104.9 ผูดูแลระบบจะจัดการ แก้ไขฐานข้อมูลให้เครื องใหม่มีชือแทนทีเครื อง เดิมได้ทนที โดยไม่ตองโยกย้าย ้ ั ้ ฮาร์ ดแวร์ แต่ อย่า งใด ส่ ว นในมุ ม มองของผูใ ช้ ก็ ไ ม่ ต้องแก้ไ ขอะไรทังสิ น ยัง คงสามารถใช้ง านได้ ้ เหมือนเดิม สําหรับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ได้มีการพัฒนากลไกการแทนทีชื อเครื องคอมพิวเตอร์ ทีให้บริ การ กับหมายเลข IP หรื อ name-to-IP Address ขึนมาใช้งานและเรี ยกกลไกนี ว่า Domain Name System ่ (DNS) โดยมีการจัดเก็บฐานข้อมูลชือและหมายเลข IP เป็ นลําดับชัน (hierachical structure) อยูในเครื อง คอมพิวเตอร์ ทาหน้าทีพิเศษทีเรี ยกว่า Domain Name Server หรื อ Name Server โครงสร้ างของ ํ ฐานข้อมูล Domain Name นี ในระดับบนสุ ดจะมีความหมายบอกถึ ง ประเภทขององค์กร หรื อชื อ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 9. ประเทศทีเครื อข่ายตังอยู่ ชื อ Domain ในชันบนสุ ดเหล่านี จะใช้ตวอักษรเล็กหรื อใหญ่ก็ได้ แต่นิยมใช้ ั อักษรตัวเล็ก โดยมีการกําหนดมาจากหน่ วยงานทีเรี ยกว่า InterNIC (Internet Network Information Center) จากระดับบนสุ ดก็จะมีระดับล่างๆ ลงมาซึ งใช้แทนความหมายต่างๆ แล้วแต่ผจดตังจะ กําหนด ู้ ั ขึน เช่น ตังตามชื อคณะ หรื อภาควิชาในมหาวิทยาลัย ตังตามชื อฝ่ ายหรื อแผนกในบริ ษท เป็ นต้น แต่ละ ั ระดับจะถูกแบ่งคันด้วยเครื องหมายจุดเสมอ การดูระดับจากบนลงล่างให้ดูจากด้านขวามาซ้าย เช่ นชื อ ่ Domain คือ support.skynet.com จะได้วา com จะเป็ นชื อ Domain ในระดับบนสุ ด ถัดจากจุดตังต้น หรื อ รากของโครงสร้าง (root) ระดับทีสองคือชื อ skynet และระดับล่างสุ ดคือ support หมายความว่า ชื อ Domain นี แทนทีหน่วยงาน support ของบริ ษทชื อ skynet และเป็ นบริ ษทเอกชน ดังแสดงโครงสร้าง ั ั ลําดับชันของ Domian Name ทีชือ Support.skynet.com ในการกําหนดหรื อตังชือแทนหมายเลข IP นีจะต้องลงทะเบียนและขอใช้ทีหน่วยงาน InterNIC เสี ย ก่ อน ถ้า ได้รับ อนุ ญาตและลงทะเบี ย นเรี ย บร้ อ ยแล้ว จะมี ก ารจัดเก็ บ เพิ มฐานข้อมู ล name-to-IP address เพือให้ผใช้บริ การอินเตอร์ เน็ตสามารถ อ้างอิงเข้ามาใช้บริ การได้ เหมือนกับการขอจดทะเบียน ู้ ตังชื อบริ ษท ทีต้องมีผูรับผิดชอบในการเก็บข้อมูลเป็ นนายทะเบียนและคอยตรวจ ดูว่าชื อนันจะซํากับ ั ้ คนอืนหรื อไม่ ถ้าไม่มีปัญหาก็อนุ ญาตให้ใช้ได้ ชื อ Domain Name นี จะมีความยาวทังหมดไม่เกิน 255 ตัวอักษร แต่ไม่มีขอจํากัดในเรื องระดับชัน ดังนันในชื อหนึ งๆ อาจมีหลายระดับได้ตามต้องการ และ ้ ข้อสั งเกตที สํา คัญก็ คื อชื อ และจุ ดเหล่ า นี ไม่ เกี ยวกับจุ ดใน ตัวเลขที เป็ น IP Address แต่ อย่า งใด ่ ขบวนการหรื อกลไกในการแปลงชื อ Domain กลับเป็ นหมายเลข IP หรื อ Name Mapping นี อยูทีการ จัดการฐานข้อมูล Domain Name แบบกระจาย โดยจะเริ มจากเมือมีโปรแกรมอ้างถึงชื อโดเมนบนเครื อง หนึ ง ก็จะมีการสอบถามไปที ฐานข้อมูล ในเครื องที ทําหน้าทีเป็ น Name Server (ซึ งอาจเป็ นเครื อง เดียวกันนันเองหรื อคนละเครื องก็ได้ และอาจมี Name Server ได้หลายเครื องด้วย ขึนกับว่าจะตังไว้ให้ รู ้จก Name Server เครื องใดบ้าง) เครื องทีเป็ น Name Server ก็จะเรี ยกดูในฐานข้อมูลและถ้าพบชื อที ั ต้องการก็จะจัดการแปลงชื อ Domain เป็ นหมายเลข IP ทีถูกต้องให้ ระบบ Name Server นีจะมีติดตัง กระจายไปในหลายเครื องบนระบบเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต เนื องจากอย่างน้อยหน่ วยงาน ISP หนึ งๆ ก็ จะต้องจัดตังระบบดังกล่าวขึนมา เพือคอยดูแลจัดการฐานข้อมูล Domain Name ของเครื อข่ายตนเอง ดังนันถ้า Name Server เครื องหนึ งไม่มีขอมูลหรื อไม่รู้จก Domain Name ทีถูกถามมาก็อาจจะไปขอ ้ ั ข้อมูลจาก Name Server เครื องอืนๆ ทีตนรู ้จกจนกว่าจะพบ หรื อจนกว่าจะทัวแล้วไม่ปรากฏว่ามีเครื อง ั วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 10. ไหนรู ้จกเลย กรณี นีก็จะตอบไปว่าไม่รู้จก (หรื อถ้ามี Name Server บางเครื องทีรู ้ จกชื อนันแต่ขณะนัน ั ั ั เกิดขัดข้องอยูก็จะได้คาตอบว่าไม่มีเครื องใดรู ้จกเช่นกัน) ่ ํ ั การกําหนดชื อผู้ใช้ และชื อ Domain ความสามารถของ Domain Name System ทีทําหน้าทีแปลงระบบชื อให้เป็ นหมายเลข IP นี ได้ ถูกนํามาใช้กว้างขวางมากขึน โดยรวมไปถึ งการกําหนดชื อผูใช้ในระบบได้อีกด้วย กฎเกณฑ์ในการ ้ ่ กําหนดก็ไม่ยุงยาก โดยชื อผูใช้จะมีรูปแบบดังนี ชื อ_user @ ชื อ_subdomain. ชื อ_Subdomain... [...] . ้ ชื อ_Domain ชื อ_user จะเป็ นตัวอักษรแทนชื อเฉพาะใดๆ เช่น ชื อผูใช้คนหนึ งทีจะรับหรื อส่ ง E-mail ้ ่ ท้ายชื อ user นี จะมีเครื องหมาย @ ซึ งอ่านว่า "แอท" หมายถึ ง "อยูทีเครื อง..." แบ่งคันออกจากส่ วนที เหลื อ ชื อ_Subdomain เป็ นส่ วนย่อยทีจะใช้ขยายให้ทราบถึ งกลุ่มต่างๆ ใน domain นัน เช่ น กรณี ที บริ ษทมี หลายหน่ วยงาน จึ งจัดเป็ นกลุ่ มๆ ตังชื อไว้อยู่ใน subdomain ต่างๆ ซึ งในที หนึ งๆ อาจจะมี ั subdomain หลายระดับก็ได้ และชือ subdomain ตัวสุ ดท้ายมักเป็ นชือโฮสต์คอมพิวเตอร์ ทีผูใช้รายนันใช้ ้ ่ ั ่ อยูนนเอง ชื อ_Domain ตามปกติชือ domain จะอยูทางด้านขวาสุ ดของชื อ DNS ใช้สําหรับระบุประเภท ของกิจกรรมของเครื อข่ายนันๆ เวลาทีมีการติดต่อกัน เช่ น ในการส่ ง E-mail ชื อดังกล่าวนี ก็จะใช้เป็ น ่ ตัวอ้างอิงเสมือนชือและทีอยูของผูใช้รายนันๆ หรื อเรี ยกว่าเป็ น E-mail address นันเอง ้ อินเตอร์ เน็ตประกอบไปด้วยเครื อข่ายย่อยจํานวนมากต่อเชื อมเข้าด้วยกันจนกลายเป็ นเครื อข่าย ขนาดมหึ มา เครื อข่ายย่อยในอินเตอร์ เน็ตมักเป็ นเครื อข่ายเฉพาะบริ เวณ (Local Area Network)ทีอาจใช้ เทคโนโลยี ทางฮาร์ ดแวร์ ในเครื อข่ายแตกต่างกันไปแต่ซอฟต์แวร์ ในเครื อข่ายจะทํางานภายใต้หลัก สากลทําให้ทุกเครื อข่ายสามารถ แลกเปลี ยนและส่ งผ่านข้อมูลระหว่างกันได้ การส่ งข้อมูลระหว่า ง เครื องต้องมีการกําหนดชื อผูรับผูส่งในทํานองเดี ยวกับ การส่ งจดหมายทางไปรษณี ย ์ คอมพิวเตอร์ ทุก ้ ้ เครื องในอินเตอร์ เน็ตต้องมีหมายเลขประจําตัวผูใช้อินเตอร์ เน็ตจึงจําเป็ นต้อง ทราบถึ งวิธีการเรี ยกชื อ ้ เครื องดังทีจะกล่าวนี 1. หมายเลขอินเตอร์ เน็ต (IP Address) หมายเลขอินเตอร์ เน็ตหรื อ IP Address จะเป็ นรหัสประจําตัวของคอมพิวเตอร์ ที ต่อเข้ากับ อินเตอร์ เน็ต โดยหมายเลขนี จะมีรหัสไม่ซากัน ประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุ ด ทีคันด้วยเครื องหมายจุด (.) ํ ตัวอย่างเช่น 203.146.188.5 จะเป็ น IP Address ของเครื อง enet.moe.go.th วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 11. 2. ชื อเครืองอินเตอร์ เน็ต (Domain Name) ชือเครื องอินเตอร์ เน็ต (DNS:Domain Name Server) จะเป็ นชื อทีอ้างถึงคอมพิวเตอร์ ทีต่อเข้ากับ เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต เนื องจาก IP Address เป็ นตัวเลข 4 ชุ ด ทียากในการจดจําไม่สะดวกต่อผูใช้ ซึ ง ้ DNS นี จะทําให้จดจําได้ง่ายขึน เป็ น enet.moe.go.th (enet คือชื อคอมพิวเตอร์ , moe คือชื อเครื อข่าย กระทรวงศึกษาธิ การ, go คือหน่วยงาน, th คือชือประเทศไทย) 3. ทีอยู่บนอินเตอร์ เน็ตหรืออิเล็คทรอนิคส์ เมล์ (E-Mail) ทีอยู่บนอินเตอร์ เน็ต หรื อ Internet Address จะประกอบด้วยชื อของผูใช้ คอมพิวเตอร์ (User) ้ และชือของอินเตอร์ เน็ต (Internet Name) มีรูปแบบคือ ชือบัญชีผใช้@ชื อเครื องอินเตอร์ เน็ต ตัวอย่างเช่น ู้ bumrung@enet.moe.go.th จะหมายถึ งผูใช้ชือ bumrung เป็ นสมาชิ กของศูนย์บริ การ (enet) ที ศูนย์ ้ คอมพิวเตอร์ กระทรวงศึกษาธิ การทีมีชือเป็ น moe.go.th 4. ความหมายของโดเมน com กลุ่มองค์การค้า (commercial) edu กลุ่มการการศึกษา (educational) gov กลุ่มองค์การรัฐบาล (govermental) mit กลุ่มองค์การทหาร (military) net กลุ่มองค์การบริ การเครื อข่าย (network Services) org กลุ่มองค์กรอืนๆ (Organizations) ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นว่าในอเมริ กาเท่านันทีจะมีโดเมนเป็ นตัวอักษร 3 ตัว microsoft.com ในกรณี ที ประเทศอื นๆ เช่ นบ้า นเรา จะมี เพี ยงแค่ส องตัวเช่ น moe.go.th โดเมนที เป็ นชื อย่อของประเทศที น่าสนใจ เช่น enet.moe.go.th au ออสเตรเลีย (Australia) fr ฝรังเศส (France) hk ฮ่องกง (Hong Kong) jp ญีปุ่ น (Japan) th ไทย (Thailand) วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 12. sg สิ งค์โปร์ (Singapore) uk อังกฤษ (United Kingdom) 5. ความหมายของซับโดเมน เช่น enet.moe.go.th go หน่วยงานรัฐบาล (govermental) ac สถาบันการศึกษา (acadamic) co องค์กรธุ รกิจ (commercial) or องค์กรอืนๆ (organizations) การเชื อมต่ ออินเตอร์ เน็ต การเชื อมต่อเข้าสู่ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ ตนันสามารถทําได้หลายแบบ ซึ งแต่ละแบบจะต้องใช้ อุปกรณ์ทีแตกต่างกันไป ดังนี การเชื อมต่ อแบบบุคคล เป็ นการเชื อมต่อของบุคคลธรรมดาทัวไป ซึ งสามารถขอเชื อมต่อเข้าสู่ ระบบอินเทอร์ เน็ตได้โดยใช้เครื องคอมพิวเตอร์ ทีใช้อยู่ อาจจะเป็ นทีบ้านหรื อทีทํางาน เชื อมต่อผ่านทาง สายโทรศัพท์ ผ่านอุปกรณ์ ทีเรี ยกว่า โมเด็ม (Modem) ซึ งค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก เรามักเรี ยกการเชื อมต่อ แบบนี ว่า การเชื อมต่อแบบ Dial-Up โดยผูใช้ตองสมัครเป็ นสมาชิ กของ ISP เพือขอเชื อมต่อผ่านทาง ้ ้ SLIP หรื อ PPP account ่ การเชื อมต่ อแบบองค์ กร เป็ นองค์กรทีมีการจัดตังระบบเครื อข่ายใช้งานภายในองค์กรอยูแล้ว จะ สามารถนําเครื องแม่ข่าย (Server) ของเครื อข่ายนันเข้าเชื อมต่อกับ ISP เพือเชื อมโยง เข้าสู่ ระบบ อินเทอร์ เน็ตได้เลย โดยผ่านอุปกรณ์ชีเส้นทาง Router และสายสัญญาณเช่า (ตลอด 24 ชัวโมง) อุปกรณ์ สําหรับการเชื อมต่ ออินเทอร์ เน็ต 1. คอมพิวเตอร์ ควรเป็ นคอมพิวเตอร์ ทีมีความเร็ วสัญญาณนาฬิกาของหน่วยประมวลผลตังแต่ 166 MHz มีหน่วยความจําหลัก RAM ตังแต่ 16 MB ขึนไป วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 13. 2. โมเด็ม (Modulator Demodulator Machine) คืออุปกรณ์ซึงทําหน้าทีแปลงข้อมูลทีได้จาก เครื องคอมพิวเตอร์ ไปเป็ นสัญญาณไฟฟ้ ารู ปแบบหนึ ง (Impulse) ซึ งสามารถส่ งผ่านสายโทรศัพท์ทวไป ั ได้ซึงสัญญาณโทรศัพท์นนจะเป็ นสัญญาณอนาล็อก ส่ วนสัญญาณข้อมูลทีมาจากคอมพิวเตอร์ จะเป็ น ั สัญญาณดิจิตอล ทําให้ตองใช้โมเด็มในการแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็ นดิจิตอลและดิจิตอลเป็ นอนาล็อก ้ ซะก่อน โมเด็มสามารถแยกได้เป็ น 3 ชนิด แต่ละชนิดก็มีขอดีขอเสี ยแตกต่างกันไปดังนี ้ ้ โมเด็มแบบติดตังภายใน โมเด็มชนิ ดนีจะมีลกษณะเป็ นแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ นามาติดตังเข้า ั ํ กับ ภายในตัวเครื องคอมพิ วเตอร์ โดยตรง รู ป ร่ า งจะแตกต่ า งกัน ตามที ผูผ ลิ ตจะออกแบบมาสํา หรั บ ้ คอมพิวเตอร์ ชนิ ดนันๆ โมเด็มชนิ ดนี จะใช้ไฟฟ้ าจากสล็อตบนเมนบอร์ ดทําให้เราไม่ตองต่อไฟหม้อ ้ แปลงต่างหากจากภายนอก ส่ วนมากโมเด็มติดตังภายในจะทําการติดตัง ผ่านทาง Port อนุ กรม RS-232C รวมอยู่ดวย ทําให้ไม่มีปัญหาในเรื อง port อนุ กรมรุ่ นเก่าทีติ ดมากับเครื องคอมพิวเตอร์ การเชื อมต่อ ้ โมเด็มกับเครื องคอมพิวเตอร์ จะต่อทาง slot มาตรฐานในเครื องคอมพิวเตอร์ และเมือติดตังแล้วจะไม่ เปลือง เนือทีภายนอกใดๆ เลย และโมเด็มสําหรับติดตังภายในจะมี จุดให้ผใช้เสี ยบสายโทรศัพท์เข้ากับ ู้ โมเด็มโดยใช้ปลักโทรศัพท์ธรรมดา แบบ RJ-11 และมีลาโพงประกอบด้วย ํ โมเด็ม แบบติ ดตังภายนอก จะมี ล ักษณะเป็ นกล่ องสี เหลี ยมแบนๆ ภายในมี วงจรโมเด็ม ไฟ สถานะ และลําโพง เนื องจากต่อภายนอกจึงต้องมี adapter แปลงสัญญาณไฟเลียงวงจร และจะมีสายต่อ แบบ 25 ขา DB25 เอาไว้ใช้เชือมต่อผ่านทาง port อนุกรม RS - 232C PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Asociation) จะเป็ นโมเด็มทีมีขนาด เล็ทีสุ ดคือ มีขนาดเท่าบัตรเครดิตรและหนาเพียง 5 มิลลิเมตรเท่านัน ซึ งโมเด็มชนิ ดนีออกแบบมาโดยให้ คอมพิ ว เตอร์ โน๊ ต บุ ค โดยเฉพาะ ซึ งในปั จ จุ บ น โมเด็ ม ชนิ ดนี จะมี ค วามเร็ ว พอๆ กับ โมเด็ ม ที ติ ต ตัง ั ภายนอกและภายใน ในปั จจุบนนีโมเด็มมีความเร็ วสู งสุ ดที 56 Kbps (Kilobyte per second) โดยจะใช้ ั มาตรฐาน V.90 เป็ นตัวกําหนด วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 14. 3. คู่สายโทรศัพท์ (Dial line) เป็ นคู่สายโทรศัพท์บานสําหรับเชื อมต่อกับโมเด็ม ้ 4. บัญชี ผ้ ใช้ งาน (Account) จากผูให้บริ การเอกชน ISP หรื อขององค์กร/หน่วยงานต่างๆ เช่น ู ้ SchoolNet 1509 ซึ งจะกําหนดหมายเลขโทรศัพท์สาหรับการเชือมต่อ ชื อผูใช้งาน (Username) และ ํ ้ รหัสผ่าน (Password) ลักษณะการเชื อมต่ อแบบบุคคล การเชื อมต่อเริ มจากผูใช้งาน (User) หมุนโมเด็มไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผูให้บริ การทีมี ้ ้ โมเด็มต่ออยูเ่ ช่นกัน สัญญาณจากเครื องคอมพิวเตอร์ ผใช้จะถูกเปลียนจากสัญญาณดิจิตอลเป็ นอนาล็อก ู้ ผ่านคู่สายโทรศัพท์ไปยังโมเด็มฝังตรงข้ามเพือเปลียนกลับสัญญาณอนาล็อกเป็ นดิจิตอลอีกครัง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 15. สัญญาณขอเข้าเชือมเครื อข่ายจะถูกส่ งมายังเครื องคอมพิวเตอร์ ผให้บริ การเพือตรวจสอบสิ ทธิ การ ู้ ใช้งานจาก Username และ Password ว่าถูกต้องหรื อไม่? ถ้าถูกต้องก็จะได้รับอนุ ญาตให้เชื อมต่อได้ สามารถจะทําการรับ-ส่ งไฟล์ รับ-ส่ งอีเมล์ สนทนาผ่านเครื อข่ายออนไลน์ และท่องโลกกว้างไซเบอร์ สเปซทาง WWW ได้ทนที ั ADSL : การเชื อมต่ ออินเทอร์ เน็ตความเร็วสู ง ในปั จจุ บนเทคโนโลยีของการเชื อมต่ออิ นเทอร์ เน็ ตมี การเปลี ยนแปลงไปมาก ทําให้มีความ ั ต้อ งการในการใช้ ง านที ความเร็ ว สู ง ขึ นเพื อตอบสนองต่ อ การให้ บ ริ การมัล ติ มี เ ดี ย เช่ น การดู ่ ภาพเคลือนไหวผ่านเครื อข่าย การฟังวิทยุหรื อดูโทรทัศน์ผานเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เครื อข่ายความเร็ วสู ง ทีว่านีเรี ยกว่า บรอดแบนด์ ทีส่ งผ่านสัญญาณความเร็ วสู งผ่านสายโทรศัพท์ธรรมดา ADSL : (Asymmetric Digital Subscriber Line) คือ บรอดแบนด์ หรื ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง โดยผ่านเทคโนโลยีของ ADSL Modem ซึ งสามารถเปลี ยนสายโทรศัพท์ธรรมดา ให้กลายเป็ นสาย ดิจิตอลทีมีความเร็ วในการรับ-ส่ งข้อมูลสู ง และมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าการสื อสารด้วยโมเด็มธรรมดา 5-10 เท่า และที สํา คัญเรายังสามารถใช้ป ระโยชน์จากระบบนี ได้สองทางพร้ อมกัน นันคื อ สามารถ สนทนาด้วยเสี ยงแบบธรรมดาในขณะทีสามารถเชื อมต่ออินเทอร์ เน็ตได้พร้ อมกันในเวลาเดี ยวกันได้ ด้วย (โมเด็มอนาล็อกเดิมต้องวางสายการสนทนาก่อนจึงจะเชือมต่ออินเทอร์ เน็ตได้) ข้ อดีของ ADSL 1. เป็ นอินเทอร์ เน็ตพร้อมใช้ตลอดเวลา "always on" เพียงคลิกบราวเซอร์ ก็สามารถเชือมต่อกับ โลกอินเทอร์ เน็ตได้ 2. หมดปั ญหาสายหลุด ไม่ตองจ่ายค่าหมุนโมเด็มต่อครัง ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านการใช้งาน ้ โทรศัพท์ 3. ดาวน์โหลดและอัพโหลดได้ทนใจ ไวกว่าเดิม 5-10 เท่า ดาวน์โหลดไฟล์ใหญ่ๆ ได้สบายใจ ั 4. ดูขอมูลประเภทมัลติมีเดียได้รวดเร็ ว เช่น ดูหนัง/ฟังเพลงจากอินเทอร์ เน็ต วีดิโอ ้ คอนเฟอเรนซ์ การเรี ยนการสอนผ่านอินเทอร์ เน็ต 5. เล่นเกมออนไลน์ได้สนุกสนาน (จนอาจเสี ยคนได้ ถ้าแบ่งเวลาไม่ถูก) วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 16. 6. ให้ความเร็ วสู งสุ ดตังแต่ 64 Kbps ถึง 8 Mbps ข้ อเสี ยของ ADSL 1. ค่าบริ การและอุปกรณ์ใช้งานยังราคาแพง 2. พืนทีบริ การยังไม่ครอบคลุม (แม้แต่เมืองใหญ่ๆ ในต่างจังหวัดก็ยงมีนอยมาก) ั ้ 3. จ่ายเงินสองต่อ ค่าสายสัญญาณโทรศัพท์และค่าเชื อมต่ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง อย่างไรก็ตามนโยบายของรัฐบาลโดยกระทรวงไอซี ที ก็มีส่วนผลักดันให้โครงการนี เดิ นหน้า ต่อไป หากสามารถทําให้แพร่ หลาย ราคาอุปกรณ์ถูกลง ค่าใช้จ่ายไม่เกิน 1,000 บาทต่อเดือน ก็จะทําให้ ความฝั นในการให้บ ริ ก ารข่ าวสาร การจัดการความรู ้ สู่ ชุ มชนในรู ป แบบออนไลน์เป็ นจริ ง ขึนมาได้ แน่นอน การเชื อมต่ อแบบองค์ กร จะเป็ นการเชื อมต่อเพือการใช้งานด้วยเครื องคอมพิวเตอร์ จานวนมากทีถูกต่อเข้าด้วยกันเป็ น ํ เครื อข่าย มีเครื องคอมพิวเตอร์ ทีทําหน้าทีเป็ นเครื องให้บริ การ (Server) ด้านต่างๆ และมีการเชื อมต่อกับ ่ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตอยูตลอดเวลา ซึ งมีอุปกรณ์ทีสําคัญดังนี 1. คอมพิวเตอร์ แม่ข่าย (Server) ควรเป็ นคอมพิวเตอร์ ทีมีความเร็ วสัญญาณนาฬิ กาของหน่วย ่ ั ประมวลผลตังแต่ 500 MHz มีหน่วยความจําหลัก RAM ตังแต่ 512 MB ขึนไป จํานวนเครื องขึนอยูกบ ความต้องการและปริ มาณการใช้งานขององค์กร 2. ดิจิตอลโมเด็ม (NTU) และอุปกรณ์ชีเส้นทาง (Router) คืออุปกรณ์ซึงทําหน้าทีแปลงสัญญาณ ดิจิตอลและกําหนดเส้นทางในการเชือมต่อด้วยหมายเลข IP Address ไปยังเครื อข่ายอืนๆ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด
  • 17. 2. 3. คู่สายเช่า (Lease line) เป็ นคู่สายสัญญาณเช่าสําหรับการเชือมต่อแบบตลอดเวลา ไม่ตองมี ้ การหมุนหมายเลขโทรศัพท์ในการเชื อมต่อ 4. สิ ทธิ การใช้งานเชือมต่อ (Air time) จากผูให้บริ การเอกชน ISP หรื อขององค์กร/หน่วยงาน ้ ต่างๆ เช่น School Net 1509 ซึ งจะกําหนดหมายเลข IP Address ของกลุ่มเครื องในเครื อข่ายจํานวนหนึง มาให้สาหรับใช้กบอุปกรณ์ชีเส้นทางและเครื องแม่ข่าย ํ ั ข้อมูลอ้างอิง: http://www.lms.dmw.ac.th/internet/ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ พีรญา ดุนขุนทด