SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
หน่วยที่ 1

         หลัก การของ
         การสำา รวจ
นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
รายการเรีย นการสอน
     1. ความหมายของการสำารวจ
     2. จุดมุ่งหมายของการสำารวจ
     3. ประโยชน์และความสำาคัญของการ
      สำารวจ
     4. ประวัติของการสำารวจ
     5. ชนิดของการสำารวจ
     6. หลักการของการสำารวจทางภาคพื้นดิน

นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
จุด ประสงค์
    1. อธิบายความหมายของการสำารวจได้
     อย่างถูกต้อง
    2. บอกจุดมุ่งหมายของการสำารวจได้อย่าง
     ถูกต้อง
    3. บอกประโยชน์และความสำาคัญของการ
     สำารวจได้อย่างถูกต้อง
    4. อธิบายประวัติของการสำารวจได้อย่างถูก
     ต้อง
นายมานัส อธิบายชนิดของการสำารวจได้องสำารวจ
    5. ยอดทอง     อาจารย์แผนกวิชาช่า ย่างถูก
ความหมายของการสำา รวจ
    พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ (2530 : 535)
     ได้ให้ความหมายของคำาว่า สำารวจ หมายถึง ตรวจ
     สอบ, ตรวจค้น ซึ่งมีความหมายทีรู้ทั่วกันไป แต่ใน
                                    ่
     พจนานุกรมศัพท์ภาษาอังกฤษของลองค์แมน (Dic
     tionary of Contemporary English, 1993 :
     1065) ได้ให้ความหมายเพิ่มเติมว่าเป็นความรู้
     เกี่ยวกับการวัดและการบันทึกรายละเอียดลงบน
     แผนที่
    เจิมศักดิ์ หัวเพชร (2525 : 1) ได้ให้ความหมาย
     ของการสำารวจว่า เป็นวิทยาศาสตร์และศิลปะของ
     การหาความสัมพันธ์ของตำาแหน่งของจุดต่างๆ ที่
     อยูบน เหนือ หรือใต้ผิวพิภพ หรือเป็นการสร้างจุด
         ่
     บังคับโดยการวัดระยะทิศทางและความสูง ทังทาง้
นายมานัส ยอดทอง อม แล้วนำารายละเอีชาช่างสำารวจ
     ตรงและทางอ้ อาจารย์แผนกวิ ยดในการวัดใน
ความหมายของการสำา รวจ
    จากความหมายของการสำารวจตามที่กล่าว
     มานี้ จึงอาจสรุปความหมายของการสำารวจ
     ได้ว่า หมายถึง การตรวจสอบหรือการ
     ปฏิบติงานเพื่อหาความสัมพันธ์เกี่ยวกับ
            ั
     ตำาแหน่งที่แน่นอนของจุดต่าง ๆ ที่อยู่บน อยู่
     ใต้ผวโลก หรืออยู่ในอวกาศ โดยมีพิกัด
          ิ
     กำากับ เพื่อกำาหนดจุดบังคับแผนที่ การตรวจ
     สอบหรือการปฏิบัติงานนี้ เป็นการวัดระยะ
     ทางราบ (Distance) ระยะทางดิ่ง
     (Elevation) และการวัดทิศทาง (Directio
นายมานัส แล้วนำาผลที่ได้มาสร้างเป็นแผนที่หรวจ
     n) ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำา รือ
จุด มุ่ง หมายของการสำา รวจ
    1. เนือที่ (Area) ของบริเวณหรือพืนทีทต้องการ
            ้                            ้ ่ ี่
     ทราบ
    2. ขอบเขต (Boundary) หรือแนวเขตของพื้นที่

    3. รูปร่าง (Shape) ของพื้นที่ บริเวณหรือสิ่งอื่น
     ใด เช่น รูปร่างของอาคาร ถนน อ่างเก็บนำ้า พื้นที่
     ฯลฯ เป็นต้น
    4. ทิศทาง (Direction ) เช่น แนวทิศเหนือ

    5. ตำาแหน่ง (Location) เช่น พิกดเหนือ-ใต้ ,
                                       ั
     ออก-ตก ของจุด
นายมานัส กำยอดทอง (Elevation)ผนกวิค่าระดับของจุด
    6. าหนดสูง
                       อาจารย์แ เช่น ชาช่างสำารวจ
ประโยชน์แ ละความสำา คัญ ของ
   วิช าการสำา รวจ
    วิชาการสำารวจเป็นวิทยาการทีเก่าแก่ มีความ
                                    ่
     จำาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ
     เริ่มตั้งแต่มการจับจองทีดิน การเป็นเจ้าของที่ดน
                  ี            ่                    ิ
     การกำาหนดเขต การแบ่งแยกทีดินออกเป็นแปลง ๆ
                                      ่
     ตลอดจนการคำานวณพืนทีของทีดิน เป็นต้น
                              ้ ่         ่
    ในปัจจุบันการสำารวจได้เจริญก้าวหน้า มีการนำา
     มาใช้งานกว้างขวางมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะงาน
     ทางด้านวิศวกรรมโยธา การสำารวจต้องเข้ามา
     เกี่ยวข้องกับงานเกือบทุกแขนง ไม่ว่าจะเป็นงาน
     ขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ เป็นงาน
     บุกเบิกตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ ซึ่งจะต้องมีการ
     สำารวจอย่างต่อเนืองจนเสร็จสิ้นโครงการ การ
                         ่
     สำารวจจึงมีความสำาคัญต่อการทีนำาเอาแผนทีและ
                                        ่         ่
นายมานัส มูลต่าง ๆ ที่ได้อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
     ข้อ ยอดทอง          มาจากการสำารวจมาวางแผน
ประวัต ข องการสำา รวจ
          ิ
   (History of Surveying)
    1. สมัย ยีย ิป ต์ อียิปต์เป็นชาติหนึ่งที่มี
     อารยธรรมเก่าแก่และเจริญที่สุด วิชาการ
     สำารวจเริ่มต้นในสมัยนัน กล่าวคือผู้ครอง
                               ้
     นครหรือที่เรียกกันว่า “ฟาโรห์ (Faroh)” จัด
     แบ่งที่ดินออกเป็นแปลงๆ เพื่อมอบให้
     ขุนนาง และพวกขุนนางก็ได้แบ่งไปให้
     ราษฏรอีกต่อหนึ่ง ซึ่งขุนนางจะเก็บภาษีจา
     กราษฏร โดยเก็บจากการคำานวณเนื้อที่ของ
     ที่ดินที่จัดแบ่งให้ ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องมีช่าง
     สำารวจเป็นผู้ทำาการรังวัดที่ดินและคำานวณ
นายมานัส้อที่โดยใช้เชือาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
     เนื ยอดทอง อกวัดเรียกว่า “โรปสเตรท
ประวัต ข องการสำา รวจ
          ิ
   (History of Surveying)
    2. สมัย บาบิโ ลเนีย ชาวบาบิโลเนียนใช้ความรู้
     เกี่ยวกับวิชาดาราศาสตร์ เป็นผลให้มการตั้งชื่อ
                                           ี
     กลุ่มดาวไว้หลายชื่อ ตลอดจนแบ่งเวลาใน 1 วัน
     ออกเป็น 24 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 60 นาที 1 นาที
     แบ่งออกเป็น 60 วินาที แล้วยังรู้จักแบ่งวงกลมออก
     เป็น 360 องศาอีกด้วย
    3. สมัย กรีก ชาวกรีกเป็นนักปราชญ์ที่มความ
                                             ี
     สามารถในด้านการสำารวจ มีการปรับปรุงความรู้
     ด้านการสำารวจและวิชาเรขาคณิตเข้าด้วยกัน มี
     การคำานวณการวัดระยะทางเพื่อหาพืนที่ ดังนั้น
                                         ้
นายมานัส กยอดทองงอียอาจารย์แผนกวิ:ชาช่างสำารวจ
     หลั การทีช่า่    ปต์ใช้วัด 3 : 4 5 พีทากอรัส
                      ิ
ประวัต ข องการสำา รวจ
          ิ
   (History of Surveying)
    4. สมัย โรมัน ชาวโรมัน ใช้ความรู้ต่างๆ ทีมาจาก
                                              ่
     สมัยก่อนๆ นำามาประยุกต์ใช้ มีการนำา วิชา
     คณิตศาสตร์ประยุกต์กับโครงการทางวิศวกรรมและ
     การปฏิบัติการทางทหาร ความเจริญอันนี้ได้ปรากฏ
     ในหนังสือของชาวโรมัน ซึ่งเขียนไว้ราว ค.ศ.
     200 เป็นครั้งแรก หลักการสำารวจของชาวโรมัน
     เป็นหลักการทีสร้างขึ้นตามหลักการทาง
                    ่
     วิทยาศาสตร์ หลังจากนันต่อมาสิ่งทีสำาคัญและน่า
                            ้         ่
     สนใจจึงได้เริ่มพัฒนาเพิ่มมากขึ้น
    5. สมัย กลางและสมัย ปัจ จุบ ัน การสำารวจใน
     สมัยกลางปรากฏว่าไม่พบข้อเขียนทีสำาคัญเกี่ยวกับ
                                        ่
     การสำารวจ จนกระทังในครึ่งศตวรรษหลังจากที่
                        ่
     โคลัมบัสได้ค้นพบอเมริกาโดยใช้เข็มทิศแบบง่ายๆ
นายมานัส ยอดทอง1556 อากริแผนกวิชาช่างสำารวจ
     และใน ค.ศ.       อาจารย์ โคลา (Agricola) ได้
ประวัต ข องการสำา รวจ
          ิ
   (History of Surveying)
    6. ประวัต ิก ารสำา รวจในประเทศไทย การ
     สำารวจในประเทศไทยเริ่มมีมาตั้งแต่สมัยกรุง
     ศรีอยุธยาโดยพระเจ้าทรงธรรมโปรดเกล้าฯ ให้นก        ั
     สำารวจชาวโปรตุเกสตัดถนนตั้งแต่พระพุทธบาท
     สระบุรีถงอำาเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
              ึ
     และในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรด
     เกล้าฯ ให้ทำาการก่อสร้างพระบรมมหาราชวังและ
     อาคารบางแห่ง มีการวางท่อนำ้ามาใช้ในพระบรม
     มหาราชวัง ซึ่งเป็น แบบของชาวตะวันตก การวาง
     ผังเมือง จึงเป็นทีเชื่อแน่ว่ามีการสำารวจทำาแผนที่
                       ่
     มาแล้ว นอกจากนียงมีปรากฏในตำาราพิชัยรวจ
นายมานัส ยอดทอง           ้ ั
                         อาจารย์แผนกวิชาช่างสำา
ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds
   of Surveying)
      1. การสำา รวจภูม ป ระเทศ
                        ิ
       (Topographic Surveying)
       เป็นการสำารวจทีทำาขึ้นเพือให้ทราบรูปร่าง
                          ่      ่
        ลักษณะของภูมประเทศ ทั้งทีเกิดขึ้นเองและที่
                        ิ          ่
        มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ถนน ทางรถไฟ อุโมงค์
        สะพาน ภูเขา แม่นำ้า คลอง บึง ลำาธาร เป็นต้น
        จึงเป็นการสำารวจทีหาข้อมูลจากภูมประเทศ ซึ่ง
                            ่             ิ
        มีรายละเอียดจากธรรมชาติ รวมทังที่มนุษย์
                                        ้
        สร้างขึ้นโดยการวัดระยะทางเพือหาความกว้าง
                                      ่
        ความยาว ความสูง แล้วนำามาเขียนเป็นแผนที่
นายมานัส ยอดทอง        อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds
  of Surveying)
     2. การสำา รวจที่ด ิน (Land Surveying)
         เป็นการสำารวจเพือหาขอบเขตทีตั้ง ทิศทางที่
                          ่             ่
          แน่นอนของทีดินทีมีผู้ถือกรรมสิทธิ์อยู่ เพื่อ
                      ่     ่
          ต้องการทราบพื้นทีของทีดินแปลงนันๆ เพือ
                              ่   ่          ้        ่
          โอนกรรมสิทธิ์ในการซือขาย เพือความสะดวก
                                ้         ่
          ในการวางแผนงาน




นายมานัส ยอดทอง        อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds
   of Surveying)
      3. การสำา รวจเส้น ทาง (Route
       Surveying)
       เป็นการสำารวจทีเน้นหนักไปทางวิศวกรรม
                       ่
        โยธา เช่น การวางแผนเพื่อประโยชน์ทาง
        คมนาคมและการขนส่ง เช่น งานทางหลวง
        แผ่นดิน (highway) ทางรถไฟ (rail road)
        สนามบิน (air port) การวางท่อประปา (pipe
        line) การกำาหนดทางเดินของนำ้า (water way
        s) การวางสายไฟแรงสูง (electric transmis
        sion line for power) โทรเลขและโทรศัพท์
นายมานัส ยอดทอง      อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds
   of Surveying)
      4. การสำา รวจเพื่อ ออกโฉนดที่ด ิน
       (Cadastral Surveying)
       เป็นการสำารวจบริเวณทีดินเฉพาะแปลง เพื่อ
                               ่
        แบ่งแยกทีดินโดยกำาหนดเขตติดต่อ ทิศทาง
                  ่
        และลงหมุดหลักฐานให้ถูกต้องแน่นอน เพื่อ
        สิทธิในการครอบครอง การออกโฉนดจะ
        กระทำาโดยเจ้าหน้าที่ของกรมทีดิน โดยมี
                                    ่
        หนังสือถึงเจ้าของทีดินและเขตติดต่อ เพื่อชี้เขต
                           ่
        ตกลงเขตแดน การสำารวจนีจึงคล้ายกับการ
                                  ้
        สำารวจทีดิน (land surveying) จะผิดกันก็แต่
                ่
นายมานัส ยอดทอง       อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds
  of Surveying)
     5. การสำา รวจเพื่อ วางผัง เมือ ง (City
      Surveying)
         เป็นการสำารวจวางผังของเมือง เช่น การตัด
          หรือวางแนวถนน การวางท่อประปา การวาง
          ท่อระบายนำ้า เพื่อให้เกิดความสะดวกปลอดภัย
          เกิดประโยชน์กบผู้อยู่อาศัย การสุขาภิบาล การ
                         ั
          ศึกษา การดับเพลิง ตลอดจนเศรษฐกิจและ
          สังคม


นายมานัส ยอดทอง       อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds
   of Surveying)
      6. การสำา รวจเหมือ งแร่ (Mine
       Surveying)
       เป็นการสำารวจรายละเอียดทังหมดของพืนที่
                                  ้          ้
        เพือกำาหนดเขตสัมปทานเหมือง โดยอาศัยวิชา
           ่
        สำารวจภูมประเทศ (topographic
                  ิ
        surveying) และการสำารวจเส้นทาง (route s
        urveying) หาตำาแหน่งบริเวณทีจะปฏิบัติ
                                      ่
        ใต้ดิน ผิวโครงสร้างต่างๆ ในเหมือง กำาหนด
        ตำาแหน่งทิศทางของอุโมงค์ ท่อระบายอากาศ
        และสิ่งต่างๆ ทีต้องการ
                       ่
นายมานัส ยอดทอง       อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds
  of Surveying)
     7. การสำา รวจทางอุท กศาสตร์
      (Hydrographic Surveying)
         เป็นการสำารวจเพือหาข้อมูลเกี่ยวกับนำ้า เพือ
                             ่                      ่
          ทราบลักษณะของผิวนำ้า ใต้นำ้า ปริมาณการ
          ไหลของนำ้า และทำาการสำารวจบริเวณพืนที่ ้
          เบื้องล่างของคลอง ทะเลสาบ ริมฝั่งทะเล
          ท่าเรือ ทังนี้เพือประโยชน์เกี่ยวกับการเดินเรือ
                    ้      ่
          สร้างเขื่อน ฝายกั้นนำ้า แหล่งธรรมชาติ และ
          การประปา

นายมานัส ยอดทอง         อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds
   of Surveying)
      8. การสำา รวจเพื่อ ทำา แผนที่ท างอากาศ
       (Aerial Surveying
       Photogrammetry)
        เป็นการสำารวจทีใช้เครื่องบินถ่ายรูปเพื่อทำา
                        ่
         แผนทีทางอากาศตรงจุดใดจุดหนึงแล้วนำาเอา
                 ่                       ่
         ภาพถ่ายมาเรียงต่อกัน (mosaic) เพื่อแปล
         ความหมายของภาพมาเขียนเป็นแผนที่ จะได้
         ประโยชน์อย่างมากต่อการสำารวจทำาแผนที่
         ภูมประเทศ การสำารวจเส้นทางขั้นมูลฐาน การ
             ิ
         สำารวจเพือการเกษตรกรรม การชลประทาน
                    ่
         และทางทหาร การสำารวจทำาแผนที่ทางอากาศ
นายมานัส นียอดทอง ต้องลงทุนมาก ลักษณะงานค่รวจ าง
           จึงจำาเป็น อาจารย์แผนกวิชาช่างสำา อนข้
           ้
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน
     ตัว อย่า ง การกำา หนดจุด C




นายมานัส ยอดทอง    อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน
     ตัว อย่า ง การกำา หนดจุด C




นายมานัส ยอดทอง    อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน
     ตัว อย่า ง การกำา หนดจุด C




นายมานัส ยอดทอง    อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน
     ตัว อย่า ง การกำา หนดจุด C




นายมานัส ยอดทอง    อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
   ดิน
    2. จุด A และ B คงที่ กำาหนดจุด C โดยใช้
     การวัดระยะ AD หรือระยะ BD ตาม
     มาตราส่วนของแผนที่ เพื่อกำาหนดจุด D
     แล้วใช้จุด D เป็นจุดศูนย์กลางใช้ set-
     square วัดเส้นตั้งฉาก DC ตามมาตราส่วน
     ของแผนที่ ก็จะได้จุด C ตามต้องการ วิธีนี้
     ใช้ร่วมกับวิธีอื่น ๆ และวิธีนี้เป็นการ plot
     รายละเอียดที่ได้จากการเก็บรายละเอียด
     ด้วยวิธี offset ด้วย optical square หรือ
นายมานัส ยอดทอง
     ฉากด้วยโซ่ อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน
     3. จุด A และ B คงที่ ใช้จุด A เป็น
      จุดศูนย์กลางวัดง่ามมุม BAC โดยการใช้
      โปรแทรคเตอร์ และวัดระยะ AC ตาม
      มาตราส่วนของแผนที่ ก็จะได้จุด C ตาม
      ต้องการ หรือวิธีทางตรีโกณ ซึ่งวิธีการวัด
      แบบนี้เป็นหลักการของการทำาวงรอบ
      (Traverse)


นายมานัส ยอดทอง     อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน
     4. จุด A และ B คงที่ ใช้จุด A เป็น
      จุดศูนย์กลางวัดง่ามมุม BAC ได้แล้วขีด
      แนวตามง่ามมุม BAC และใช้จุด B เป็น
      จุดศูนย์กลางวัดง่ามมุม ABC ได้แล้วขีด
      แนวตามง่ามมุม ABC ก็จะได้แนว AC และ
      BC ตัดกัน จุดตัดก็คือจุด C นั่นเอง ซึ่งจะ
      ต้องทราบระยะ AB ก่อน หลักการนี้เป็น
      หลักการในการทำาการสามเหลี่ยม
      (Triangulation)
นายมานัส ยอดทอง     อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน
     5. จุด A และ B คงที่ ใช้จุด A เป็น
      จุดศูนย์กลางวัดง่ามมุม BAC ได้แล้วขีด
      แนวตามง่ามมุม BAC ใช้จุด B เป็น
      จุดศูนย์กลางกางวงเวียนเท่ากับระยะ BC
      ตามมาตราส่วนของแผนที่ ตัดแนวเส้นของ
      ง่ามมุม BAC จุดตัดนั่นก็คอจุด C แต่มี
                               ื
      ข้อแม้ว่ามุม C จะต้องไม่เท่ากับ 90° วิธีนี้
      นิยมใช้น้อย

นายมานัส ยอดทอง      อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น
  ดิน




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2Chattichai
 
18.azimuth ดวงอาทิตย์
18.azimuth  ดวงอาทิตย์18.azimuth  ดวงอาทิตย์
18.azimuth ดวงอาทิตย์Kasetsart University
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
การจัดการศึกษาในระบบ
การจัดการศึกษาในระบบการจัดการศึกษาในระบบ
การจัดการศึกษาในระบบRatchakan Sungkawadee
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย ssuserd40879
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)Prachyanun Nilsook
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทางNut Seraphim
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมChattichai
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 

What's hot (20)

บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
 
18.azimuth ดวงอาทิตย์
18.azimuth  ดวงอาทิตย์18.azimuth  ดวงอาทิตย์
18.azimuth ดวงอาทิตย์
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
การจัดการศึกษาในระบบ
การจัดการศึกษาในระบบการจัดการศึกษาในระบบ
การจัดการศึกษาในระบบ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 

Similar to 01 หลักการของงานสำรวจ

เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ Tay Chaloeykrai
 
แผนที่ ลูกโลก
แผนที่   ลูกโลกแผนที่   ลูกโลก
แผนที่ ลูกโลกthnaporn999
 
9789740329602
97897403296029789740329602
9789740329602CUPress
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่Freedom Soraya
 
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 fileเอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 filesaintja
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32krupornpana55
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์2
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์2เครื่องมือทางภูมิศาสตร์2
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์2nasomyon13
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์nasomyon13
 
เกม+แผนที่
เกม+แผนที่เกม+แผนที่
เกม+แผนที่0619874120
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมWatta Poon
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407Proud Meksumpun
 

Similar to 01 หลักการของงานสำรวจ (14)

เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่ เล่มที่ 1เผยแพร่
เล่มที่ 1เผยแพร่
 
แผนที่ ลูกโลก
แผนที่   ลูกโลกแผนที่   ลูกโลก
แผนที่ ลูกโลก
 
9789740329602
97897403296029789740329602
9789740329602
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
แนวคิดเกี่ยวกับแผนที่
 
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 fileเอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์2
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์2เครื่องมือทางภูมิศาสตร์2
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์2
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces
 
เกม+แผนที่
เกม+แผนที่เกม+แผนที่
เกม+แผนที่
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
 
Start
StartStart
Start
 

More from Nut Seraphim

16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉากNut Seraphim
 
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่าNut Seraphim
 
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทปNut Seraphim
 
10 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 7510 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 75Nut Seraphim
 
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำNut Seraphim
 
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำNut Seraphim
 
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวางNut Seraphim
 
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวางNut Seraphim
 
05 การวัดระยะจำลอง
05 การวัดระยะจำลอง05 การวัดระยะจำลอง
05 การวัดระยะจำลองNut Seraphim
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วนNut Seraphim
 
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1Nut Seraphim
 

More from Nut Seraphim (11)

16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
 
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
 
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
11 การแก้ระยะโซ่หรือเทป
 
10 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 7510 การวางมุม 30 75
10 การวางมุม 30 75
 
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ
 
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
08 การหาความสูงและการวัดระยะข้ามแม่น้ำ
 
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
07 การวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวาง
 
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
06 การวางแนวผ่านสิ่งกีดขวาง
 
05 การวัดระยะจำลอง
05 การวัดระยะจำลอง05 การวัดระยะจำลอง
05 การวัดระยะจำลอง
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
 
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
 

01 หลักการของงานสำรวจ

  • 1. หน่วยที่ 1 หลัก การของ การสำา รวจ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 2. รายการเรีย นการสอน  1. ความหมายของการสำารวจ  2. จุดมุ่งหมายของการสำารวจ  3. ประโยชน์และความสำาคัญของการ สำารวจ  4. ประวัติของการสำารวจ  5. ชนิดของการสำารวจ  6. หลักการของการสำารวจทางภาคพื้นดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 3. จุด ประสงค์  1. อธิบายความหมายของการสำารวจได้ อย่างถูกต้อง  2. บอกจุดมุ่งหมายของการสำารวจได้อย่าง ถูกต้อง  3. บอกประโยชน์และความสำาคัญของการ สำารวจได้อย่างถูกต้อง  4. อธิบายประวัติของการสำารวจได้อย่างถูก ต้อง นายมานัส อธิบายชนิดของการสำารวจได้องสำารวจ  5. ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่า ย่างถูก
  • 4. ความหมายของการสำา รวจ  พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ (2530 : 535) ได้ให้ความหมายของคำาว่า สำารวจ หมายถึง ตรวจ สอบ, ตรวจค้น ซึ่งมีความหมายทีรู้ทั่วกันไป แต่ใน ่ พจนานุกรมศัพท์ภาษาอังกฤษของลองค์แมน (Dic tionary of Contemporary English, 1993 : 1065) ได้ให้ความหมายเพิ่มเติมว่าเป็นความรู้ เกี่ยวกับการวัดและการบันทึกรายละเอียดลงบน แผนที่  เจิมศักดิ์ หัวเพชร (2525 : 1) ได้ให้ความหมาย ของการสำารวจว่า เป็นวิทยาศาสตร์และศิลปะของ การหาความสัมพันธ์ของตำาแหน่งของจุดต่างๆ ที่ อยูบน เหนือ หรือใต้ผิวพิภพ หรือเป็นการสร้างจุด ่ บังคับโดยการวัดระยะทิศทางและความสูง ทังทาง้ นายมานัส ยอดทอง อม แล้วนำารายละเอีชาช่างสำารวจ ตรงและทางอ้ อาจารย์แผนกวิ ยดในการวัดใน
  • 5. ความหมายของการสำา รวจ  จากความหมายของการสำารวจตามที่กล่าว มานี้ จึงอาจสรุปความหมายของการสำารวจ ได้ว่า หมายถึง การตรวจสอบหรือการ ปฏิบติงานเพื่อหาความสัมพันธ์เกี่ยวกับ ั ตำาแหน่งที่แน่นอนของจุดต่าง ๆ ที่อยู่บน อยู่ ใต้ผวโลก หรืออยู่ในอวกาศ โดยมีพิกัด ิ กำากับ เพื่อกำาหนดจุดบังคับแผนที่ การตรวจ สอบหรือการปฏิบัติงานนี้ เป็นการวัดระยะ ทางราบ (Distance) ระยะทางดิ่ง (Elevation) และการวัดทิศทาง (Directio นายมานัส แล้วนำาผลที่ได้มาสร้างเป็นแผนที่หรวจ n) ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำา รือ
  • 6. จุด มุ่ง หมายของการสำา รวจ  1. เนือที่ (Area) ของบริเวณหรือพืนทีทต้องการ ้ ้ ่ ี่ ทราบ  2. ขอบเขต (Boundary) หรือแนวเขตของพื้นที่  3. รูปร่าง (Shape) ของพื้นที่ บริเวณหรือสิ่งอื่น ใด เช่น รูปร่างของอาคาร ถนน อ่างเก็บนำ้า พื้นที่ ฯลฯ เป็นต้น  4. ทิศทาง (Direction ) เช่น แนวทิศเหนือ  5. ตำาแหน่ง (Location) เช่น พิกดเหนือ-ใต้ , ั ออก-ตก ของจุด นายมานัส กำยอดทอง (Elevation)ผนกวิค่าระดับของจุด  6. าหนดสูง อาจารย์แ เช่น ชาช่างสำารวจ
  • 7. ประโยชน์แ ละความสำา คัญ ของ วิช าการสำา รวจ  วิชาการสำารวจเป็นวิทยาการทีเก่าแก่ มีความ ่ จำาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่มการจับจองทีดิน การเป็นเจ้าของที่ดน ี ่ ิ การกำาหนดเขต การแบ่งแยกทีดินออกเป็นแปลง ๆ ่ ตลอดจนการคำานวณพืนทีของทีดิน เป็นต้น ้ ่ ่  ในปัจจุบันการสำารวจได้เจริญก้าวหน้า มีการนำา มาใช้งานกว้างขวางมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะงาน ทางด้านวิศวกรรมโยธา การสำารวจต้องเข้ามา เกี่ยวข้องกับงานเกือบทุกแขนง ไม่ว่าจะเป็นงาน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ เป็นงาน บุกเบิกตั้งแต่เริ่มต้นโครงการ ซึ่งจะต้องมีการ สำารวจอย่างต่อเนืองจนเสร็จสิ้นโครงการ การ ่ สำารวจจึงมีความสำาคัญต่อการทีนำาเอาแผนทีและ ่ ่ นายมานัส มูลต่าง ๆ ที่ได้อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ ข้อ ยอดทอง มาจากการสำารวจมาวางแผน
  • 8. ประวัต ข องการสำา รวจ ิ (History of Surveying)  1. สมัย ยีย ิป ต์ อียิปต์เป็นชาติหนึ่งที่มี อารยธรรมเก่าแก่และเจริญที่สุด วิชาการ สำารวจเริ่มต้นในสมัยนัน กล่าวคือผู้ครอง ้ นครหรือที่เรียกกันว่า “ฟาโรห์ (Faroh)” จัด แบ่งที่ดินออกเป็นแปลงๆ เพื่อมอบให้ ขุนนาง และพวกขุนนางก็ได้แบ่งไปให้ ราษฏรอีกต่อหนึ่ง ซึ่งขุนนางจะเก็บภาษีจา กราษฏร โดยเก็บจากการคำานวณเนื้อที่ของ ที่ดินที่จัดแบ่งให้ ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องมีช่าง สำารวจเป็นผู้ทำาการรังวัดที่ดินและคำานวณ นายมานัส้อที่โดยใช้เชือาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ เนื ยอดทอง อกวัดเรียกว่า “โรปสเตรท
  • 9. ประวัต ข องการสำา รวจ ิ (History of Surveying)  2. สมัย บาบิโ ลเนีย ชาวบาบิโลเนียนใช้ความรู้ เกี่ยวกับวิชาดาราศาสตร์ เป็นผลให้มการตั้งชื่อ ี กลุ่มดาวไว้หลายชื่อ ตลอดจนแบ่งเวลาใน 1 วัน ออกเป็น 24 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 60 นาที 1 นาที แบ่งออกเป็น 60 วินาที แล้วยังรู้จักแบ่งวงกลมออก เป็น 360 องศาอีกด้วย  3. สมัย กรีก ชาวกรีกเป็นนักปราชญ์ที่มความ ี สามารถในด้านการสำารวจ มีการปรับปรุงความรู้ ด้านการสำารวจและวิชาเรขาคณิตเข้าด้วยกัน มี การคำานวณการวัดระยะทางเพื่อหาพืนที่ ดังนั้น ้ นายมานัส กยอดทองงอียอาจารย์แผนกวิ:ชาช่างสำารวจ หลั การทีช่า่ ปต์ใช้วัด 3 : 4 5 พีทากอรัส ิ
  • 10. ประวัต ข องการสำา รวจ ิ (History of Surveying)  4. สมัย โรมัน ชาวโรมัน ใช้ความรู้ต่างๆ ทีมาจาก ่ สมัยก่อนๆ นำามาประยุกต์ใช้ มีการนำา วิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์กับโครงการทางวิศวกรรมและ การปฏิบัติการทางทหาร ความเจริญอันนี้ได้ปรากฏ ในหนังสือของชาวโรมัน ซึ่งเขียนไว้ราว ค.ศ. 200 เป็นครั้งแรก หลักการสำารวจของชาวโรมัน เป็นหลักการทีสร้างขึ้นตามหลักการทาง ่ วิทยาศาสตร์ หลังจากนันต่อมาสิ่งทีสำาคัญและน่า ้ ่ สนใจจึงได้เริ่มพัฒนาเพิ่มมากขึ้น  5. สมัย กลางและสมัย ปัจ จุบ ัน การสำารวจใน สมัยกลางปรากฏว่าไม่พบข้อเขียนทีสำาคัญเกี่ยวกับ ่ การสำารวจ จนกระทังในครึ่งศตวรรษหลังจากที่ ่ โคลัมบัสได้ค้นพบอเมริกาโดยใช้เข็มทิศแบบง่ายๆ นายมานัส ยอดทอง1556 อากริแผนกวิชาช่างสำารวจ และใน ค.ศ. อาจารย์ โคลา (Agricola) ได้
  • 11. ประวัต ข องการสำา รวจ ิ (History of Surveying)  6. ประวัต ิก ารสำา รวจในประเทศไทย การ สำารวจในประเทศไทยเริ่มมีมาตั้งแต่สมัยกรุง ศรีอยุธยาโดยพระเจ้าทรงธรรมโปรดเกล้าฯ ให้นก ั สำารวจชาวโปรตุเกสตัดถนนตั้งแต่พระพุทธบาท สระบุรีถงอำาเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ึ และในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรด เกล้าฯ ให้ทำาการก่อสร้างพระบรมมหาราชวังและ อาคารบางแห่ง มีการวางท่อนำ้ามาใช้ในพระบรม มหาราชวัง ซึ่งเป็น แบบของชาวตะวันตก การวาง ผังเมือง จึงเป็นทีเชื่อแน่ว่ามีการสำารวจทำาแผนที่ ่ มาแล้ว นอกจากนียงมีปรากฏในตำาราพิชัยรวจ นายมานัส ยอดทอง ้ ั อาจารย์แผนกวิชาช่างสำา
  • 12. ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds of Surveying)  1. การสำา รวจภูม ป ระเทศ ิ (Topographic Surveying) เป็นการสำารวจทีทำาขึ้นเพือให้ทราบรูปร่าง ่ ่ ลักษณะของภูมประเทศ ทั้งทีเกิดขึ้นเองและที่ ิ ่ มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ถนน ทางรถไฟ อุโมงค์ สะพาน ภูเขา แม่นำ้า คลอง บึง ลำาธาร เป็นต้น จึงเป็นการสำารวจทีหาข้อมูลจากภูมประเทศ ซึ่ง ่ ิ มีรายละเอียดจากธรรมชาติ รวมทังที่มนุษย์ ้ สร้างขึ้นโดยการวัดระยะทางเพือหาความกว้าง ่ ความยาว ความสูง แล้วนำามาเขียนเป็นแผนที่ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 13. ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds of Surveying)  2. การสำา รวจที่ด ิน (Land Surveying)  เป็นการสำารวจเพือหาขอบเขตทีตั้ง ทิศทางที่ ่ ่ แน่นอนของทีดินทีมีผู้ถือกรรมสิทธิ์อยู่ เพื่อ ่ ่ ต้องการทราบพื้นทีของทีดินแปลงนันๆ เพือ ่ ่ ้ ่ โอนกรรมสิทธิ์ในการซือขาย เพือความสะดวก ้ ่ ในการวางแผนงาน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 14. ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds of Surveying)  3. การสำา รวจเส้น ทาง (Route Surveying) เป็นการสำารวจทีเน้นหนักไปทางวิศวกรรม ่ โยธา เช่น การวางแผนเพื่อประโยชน์ทาง คมนาคมและการขนส่ง เช่น งานทางหลวง แผ่นดิน (highway) ทางรถไฟ (rail road) สนามบิน (air port) การวางท่อประปา (pipe line) การกำาหนดทางเดินของนำ้า (water way s) การวางสายไฟแรงสูง (electric transmis sion line for power) โทรเลขและโทรศัพท์ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 15. ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds of Surveying)  4. การสำา รวจเพื่อ ออกโฉนดที่ด ิน (Cadastral Surveying) เป็นการสำารวจบริเวณทีดินเฉพาะแปลง เพื่อ ่ แบ่งแยกทีดินโดยกำาหนดเขตติดต่อ ทิศทาง ่ และลงหมุดหลักฐานให้ถูกต้องแน่นอน เพื่อ สิทธิในการครอบครอง การออกโฉนดจะ กระทำาโดยเจ้าหน้าที่ของกรมทีดิน โดยมี ่ หนังสือถึงเจ้าของทีดินและเขตติดต่อ เพื่อชี้เขต ่ ตกลงเขตแดน การสำารวจนีจึงคล้ายกับการ ้ สำารวจทีดิน (land surveying) จะผิดกันก็แต่ ่ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 16. ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds of Surveying)  5. การสำา รวจเพื่อ วางผัง เมือ ง (City Surveying)  เป็นการสำารวจวางผังของเมือง เช่น การตัด หรือวางแนวถนน การวางท่อประปา การวาง ท่อระบายนำ้า เพื่อให้เกิดความสะดวกปลอดภัย เกิดประโยชน์กบผู้อยู่อาศัย การสุขาภิบาล การ ั ศึกษา การดับเพลิง ตลอดจนเศรษฐกิจและ สังคม นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 17. ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds of Surveying)  6. การสำา รวจเหมือ งแร่ (Mine Surveying) เป็นการสำารวจรายละเอียดทังหมดของพืนที่ ้ ้ เพือกำาหนดเขตสัมปทานเหมือง โดยอาศัยวิชา ่ สำารวจภูมประเทศ (topographic ิ surveying) และการสำารวจเส้นทาง (route s urveying) หาตำาแหน่งบริเวณทีจะปฏิบัติ ่ ใต้ดิน ผิวโครงสร้างต่างๆ ในเหมือง กำาหนด ตำาแหน่งทิศทางของอุโมงค์ ท่อระบายอากาศ และสิ่งต่างๆ ทีต้องการ ่ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 18. ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds of Surveying)  7. การสำา รวจทางอุท กศาสตร์ (Hydrographic Surveying)  เป็นการสำารวจเพือหาข้อมูลเกี่ยวกับนำ้า เพือ ่ ่ ทราบลักษณะของผิวนำ้า ใต้นำ้า ปริมาณการ ไหลของนำ้า และทำาการสำารวจบริเวณพืนที่ ้ เบื้องล่างของคลอง ทะเลสาบ ริมฝั่งทะเล ท่าเรือ ทังนี้เพือประโยชน์เกี่ยวกับการเดินเรือ ้ ่ สร้างเขื่อน ฝายกั้นนำ้า แหล่งธรรมชาติ และ การประปา นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 19. ชนิด ของการสำา รวจ (Kinds of Surveying)  8. การสำา รวจเพื่อ ทำา แผนที่ท างอากาศ (Aerial Surveying Photogrammetry)  เป็นการสำารวจทีใช้เครื่องบินถ่ายรูปเพื่อทำา ่ แผนทีทางอากาศตรงจุดใดจุดหนึงแล้วนำาเอา ่ ่ ภาพถ่ายมาเรียงต่อกัน (mosaic) เพื่อแปล ความหมายของภาพมาเขียนเป็นแผนที่ จะได้ ประโยชน์อย่างมากต่อการสำารวจทำาแผนที่ ภูมประเทศ การสำารวจเส้นทางขั้นมูลฐาน การ ิ สำารวจเพือการเกษตรกรรม การชลประทาน ่ และทางทหาร การสำารวจทำาแผนที่ทางอากาศ นายมานัส นียอดทอง ต้องลงทุนมาก ลักษณะงานค่รวจ าง จึงจำาเป็น อาจารย์แผนกวิชาช่างสำา อนข้ ้
  • 20. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน  ตัว อย่า ง การกำา หนดจุด C นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 21. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน  ตัว อย่า ง การกำา หนดจุด C นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 22. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน  ตัว อย่า ง การกำา หนดจุด C นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 23. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน  ตัว อย่า ง การกำา หนดจุด C นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 24. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน  2. จุด A และ B คงที่ กำาหนดจุด C โดยใช้ การวัดระยะ AD หรือระยะ BD ตาม มาตราส่วนของแผนที่ เพื่อกำาหนดจุด D แล้วใช้จุด D เป็นจุดศูนย์กลางใช้ set- square วัดเส้นตั้งฉาก DC ตามมาตราส่วน ของแผนที่ ก็จะได้จุด C ตามต้องการ วิธีนี้ ใช้ร่วมกับวิธีอื่น ๆ และวิธีนี้เป็นการ plot รายละเอียดที่ได้จากการเก็บรายละเอียด ด้วยวิธี offset ด้วย optical square หรือ นายมานัส ยอดทอง ฉากด้วยโซ่ อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 25. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 26. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 27. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 28. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 29. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน  3. จุด A และ B คงที่ ใช้จุด A เป็น จุดศูนย์กลางวัดง่ามมุม BAC โดยการใช้ โปรแทรคเตอร์ และวัดระยะ AC ตาม มาตราส่วนของแผนที่ ก็จะได้จุด C ตาม ต้องการ หรือวิธีทางตรีโกณ ซึ่งวิธีการวัด แบบนี้เป็นหลักการของการทำาวงรอบ (Traverse) นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 30. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 31. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 32. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 33. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 34. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน  4. จุด A และ B คงที่ ใช้จุด A เป็น จุดศูนย์กลางวัดง่ามมุม BAC ได้แล้วขีด แนวตามง่ามมุม BAC และใช้จุด B เป็น จุดศูนย์กลางวัดง่ามมุม ABC ได้แล้วขีด แนวตามง่ามมุม ABC ก็จะได้แนว AC และ BC ตัดกัน จุดตัดก็คือจุด C นั่นเอง ซึ่งจะ ต้องทราบระยะ AB ก่อน หลักการนี้เป็น หลักการในการทำาการสามเหลี่ยม (Triangulation) นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 35. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 36. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 37. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 38. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 39. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน  5. จุด A และ B คงที่ ใช้จุด A เป็น จุดศูนย์กลางวัดง่ามมุม BAC ได้แล้วขีด แนวตามง่ามมุม BAC ใช้จุด B เป็น จุดศูนย์กลางกางวงเวียนเท่ากับระยะ BC ตามมาตราส่วนของแผนที่ ตัดแนวเส้นของ ง่ามมุม BAC จุดตัดนั่นก็คอจุด C แต่มี ื ข้อแม้ว่ามุม C จะต้องไม่เท่ากับ 90° วิธีนี้ นิยมใช้น้อย นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 40. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 41. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 42. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 43. หลัก การสำา รวจทางภาคพื้น ดิน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ