SlideShare a Scribd company logo
2106-2501 (การ
                สำารวจ 1)
            หน่วยการเรียนที่ 5
            การวัดระยะจำาลอง
           ใบความรู้ท ี่ 9 เรื่อ งการวัด ระยะ
            ทางข้า มแม่น ำ้า ด้ว ยโซ่ว ิธ ท ี่ 2
                                          ี
               และการวางมุม 60°

นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า วิธ ีท ี่
  2 มีลำาดับขั้นการปฏิบัติงานดังนี้




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า
 1. กำาหนดแนวเส้นตรง AC ขึ้นคนละฟาก
  แม่นำ้า กำาหนดจุด B ขึ้นในแนวเส้นตรง
  ACและให้ตรงจุดที่เราต้องการหาระยะ BC
  แล้วปักห่วงคะแนนไว้ ระยะ AB ต้องยาวกว่า
  ระยะ BC




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า
2. วัดระยะจากจุด B ถึงขอบของแม่นำ้า สมมติ
 ได้เท่ากับ 0.1000 เส้นโซ่ แล้วกำาหนดจุด E
 ขึ้นโดยการวัดระยะจากขอบของแม่นำ้าออกมา
 เท่ากับ 0.1000 เส้นโซ่ ปักห่วงคะแนน ก็จะได้
 จุด E ในสนาม




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า
• 3. ทำาการเล็งแนวจากจุด E ผ่านจุด B เพื่อ
  กำาหนดจุด D มีระยะยาวเท่ากับ BE โดย
  ประมาณแล้วปักห่วงคะแนนที่จุด D ก็จะได้แนว
  เส้นตรง EBD




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า
• 4. กำาหนดจุด F ให้ตั้งฉากกับแนว EBD โดยการใช้เครื่องส่อง
  ฉาก (Optical square) โดยปักหลักขาวแดงที่จุด C ทำาการเล็ง
  แนวที่จุด E ให้ปลายดิ่งของเครื่องส่องฉากอยู่บนแนวเส้นตรง
  EBDแล้วค่อยขยับเครื่องส่องฉากให้ตรงทีจุด C ตรงแล้วปักห่วง
                                         ่
  คะแนนไว้ จุดนั้นก็คือจุด F และทำาการตรวจสอบแนวEFBD ต้อง
  เป็นแนวเส้นตรง




นายมานัส ยอดทอง         อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า
• 5. กำาหนดจุด G ตามแนวเส้นตรง EFBD โดย
  วัดระยะ BG = BF ก็จะได้จุด G ปักห่วงคะแนน
  ไว้ ตรวจสอบแนว EFBGD ต้องเป็นแนวเส้นตรง




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า
• 6. กำาหนดจุด H ให้ตั้งฉากกับแนว EFBGD โดยการ
  ใช้เครื่องส่องฉาก (Optical square) ทำาการเล็งแนว
  ทีจุด D ให้ปลายดิ่งของเครื่องส่องฉากอยูบนจุด G
    ่                                    ่
  แล้วค่อยขยับหลักขาวแดง ให้อยูในแนวเส้นตรง ABC
                                  ่
  แล้วปักห่วงคะแนนไว้ จุดนั้นก็คือจุด H




นายมานัส ยอดทอง      อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า
• 7. วัดระยะ BH ได้เท่าไหร่ระยะนั้นก็คือระยะ
  BC นันเอง
        ่




นายมานัส ยอดทอง    อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ
      ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ
      ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้
• 1. จากรูปต้องการวางมุม 60° ตามเข็มนาฬิกาที่
  จุด G
• 2. กำาหนดจุด E F ระยะห่างกันพอประมาณขึ้น
  ในสนาม ก็จะได้แนวเส้นตรง EF ดังรูป




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ
      ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้
• 3. กำาหนดจุด G และ H บนแนวเส้นตรง EF
  โดยให้ระยะ GH เท่ากับ 0.2000 เส้นโซ่ แล้ว
  ปักห่วงคะแนนไว้ ตรวจสอบแนว E G H F ต้อง
  แนวแนวเส้นตรง ดังรูป




นายมานัส ยอดทอง   อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ
      ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้
• 4. กำาหนดจุด I โดยวัดระยะ GI = 0.2000
  เส้นโซ่ วัดระยะ HI = 0.2000 เส้นโซ่ จุดตัด
  กันของระยะ GI กับระยะ HI ก็คือจุด I นั่นเอง
  ดังรูป




นายมานัส ยอดทอง    อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ
      ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้
• 5. จากการตัดกันของแนว GI กับแนว HI จะ
  เกิดรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า GHI ซึ่งมีด้านเท่ากัน
  ทั้งสามด้านและมีมุมเท่ากันทุกมุมคือ 60° ก็จะ
  ได้ IGH เท่ากับ 60° ตามต้องการ ดังรูป




นายมานัส ยอดทอง     อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
งานที่มอบหมาย
• 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่มๆ ละ
  เท่าๆ กัน
• 2. ปฏิบติงานตามใบงานที่มอบหมายเป็นกลุ่ม
           ั
  จำานวน 2 วิธี
• 3. เมื่อปฏิบติงานเสร็จแล้วในแต่ละวิธให้แจ้งให้
              ั                       ี
  ครูผสอนตรวจให้คะแนนต่อไป
       ู้
• 4. คะแนนคิดเป็นกลุ่มคือกลุ่มไหนได้คะแนน
  เท่าไหร่สมาชิกในกลุ่มจะได้คะแนนเท่ากัน
  ยกเว้นคนที่ไม่ช่วยสมาชิกในกลุ่มปฏิบัติงานจะ
นายมานัส ะแนน
  ไม่ได้ค ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
Chattichai
 
บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2Chattichai
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวNut Seraphim
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณChattichai
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมChattichai
 
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2Chattichai
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้krupornpana55
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้krupornpana55
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้krupornpana55
 
บทที่ 11 ทัชโอเมตรี
บทที่ 11 ทัชโอเมตรีบทที่ 11 ทัชโอเมตรี
บทที่ 11 ทัชโอเมตรีChattichai
 
วงกลม
วงกลมวงกลม
วงกลม
Siwimol Wannasing
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้krupornpana55
 
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
Puchong Yotha
 
มข
มขมข
มข
PetooZaa
 
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่tuiye
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Phiromporn Norachan
 

What's hot (20)

บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
 
บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2บทที่ 4 การระดับ 2
บทที่ 4 การระดับ 2
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
 
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณบทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
บทที่ 8 งานวงรอบและการคำนวณ
 
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยมบทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
บทที่ 10 งานโครงข่ายสามเหลี่ยม
 
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
 
บทที่ 11 ทัชโอเมตรี
บทที่ 11 ทัชโอเมตรีบทที่ 11 ทัชโอเมตรี
บทที่ 11 ทัชโอเมตรี
 
วงกลม
วงกลมวงกลม
วงกลม
 
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้ปริมาณทางการภาพ   กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
ปริมาณทางการภาพ กิจกรรมที่ 1 เดินเพื่อการรู้
 
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
บทที่ 7 การสำรวจด้วยสเตเดีย (stadia surveying)
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
มข
มขมข
มข
 
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

More from Nut Seraphim

16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉากNut Seraphim
 
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่าNut Seraphim
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทางNut Seraphim
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วนNut Seraphim
 
01 หลักการของงานสำรวจ
01 หลักการของงานสำรวจ01 หลักการของงานสำรวจ
01 หลักการของงานสำรวจNut Seraphim
 
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1Nut Seraphim
 

More from Nut Seraphim (6)

16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
16 การเก็บรายละเอียดด้วยเครื่องมือส่องฉาก
 
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
14 คำนวณเนื้อที่รูปหลายเหลี่ยมด้านไม่เท่า
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
 
01 หลักการของงานสำรวจ
01 หลักการของงานสำรวจ01 หลักการของงานสำรวจ
01 หลักการของงานสำรวจ
 
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
โครงการเรียนการสอนการสำรวจ1
 

09 การวัดระยะทางข้ามแม่น้ำ

  • 1. 2106-2501 (การ สำารวจ 1) หน่วยการเรียนที่ 5 การวัดระยะจำาลอง ใบความรู้ท ี่ 9 เรื่อ งการวัด ระยะ ทางข้า มแม่น ำ้า ด้ว ยโซ่ว ิธ ท ี่ 2 ี และการวางมุม 60° นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 2. การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า วิธ ีท ี่ 2 มีลำาดับขั้นการปฏิบัติงานดังนี้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 3. การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า 1. กำาหนดแนวเส้นตรง AC ขึ้นคนละฟาก แม่นำ้า กำาหนดจุด B ขึ้นในแนวเส้นตรง ACและให้ตรงจุดที่เราต้องการหาระยะ BC แล้วปักห่วงคะแนนไว้ ระยะ AB ต้องยาวกว่า ระยะ BC นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 4. การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า 2. วัดระยะจากจุด B ถึงขอบของแม่นำ้า สมมติ ได้เท่ากับ 0.1000 เส้นโซ่ แล้วกำาหนดจุด E ขึ้นโดยการวัดระยะจากขอบของแม่นำ้าออกมา เท่ากับ 0.1000 เส้นโซ่ ปักห่วงคะแนน ก็จะได้ จุด E ในสนาม นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 5. การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า • 3. ทำาการเล็งแนวจากจุด E ผ่านจุด B เพื่อ กำาหนดจุด D มีระยะยาวเท่ากับ BE โดย ประมาณแล้วปักห่วงคะแนนที่จุด D ก็จะได้แนว เส้นตรง EBD นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 6. การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า • 4. กำาหนดจุด F ให้ตั้งฉากกับแนว EBD โดยการใช้เครื่องส่อง ฉาก (Optical square) โดยปักหลักขาวแดงที่จุด C ทำาการเล็ง แนวที่จุด E ให้ปลายดิ่งของเครื่องส่องฉากอยู่บนแนวเส้นตรง EBDแล้วค่อยขยับเครื่องส่องฉากให้ตรงทีจุด C ตรงแล้วปักห่วง ่ คะแนนไว้ จุดนั้นก็คือจุด F และทำาการตรวจสอบแนวEFBD ต้อง เป็นแนวเส้นตรง นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 7. การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า • 5. กำาหนดจุด G ตามแนวเส้นตรง EFBD โดย วัดระยะ BG = BF ก็จะได้จุด G ปักห่วงคะแนน ไว้ ตรวจสอบแนว EFBGD ต้องเป็นแนวเส้นตรง นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 8. การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า • 6. กำาหนดจุด H ให้ตั้งฉากกับแนว EFBGD โดยการ ใช้เครื่องส่องฉาก (Optical square) ทำาการเล็งแนว ทีจุด D ให้ปลายดิ่งของเครื่องส่องฉากอยูบนจุด G ่ ่ แล้วค่อยขยับหลักขาวแดง ให้อยูในแนวเส้นตรง ABC ่ แล้วปักห่วงคะแนนไว้ จุดนั้นก็คือจุด H นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 9. การวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า • 7. วัดระยะ BH ได้เท่าไหร่ระยะนั้นก็คือระยะ BC นันเอง ่ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 10. การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 11. การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้ • 1. จากรูปต้องการวางมุม 60° ตามเข็มนาฬิกาที่ จุด G • 2. กำาหนดจุด E F ระยะห่างกันพอประมาณขึ้น ในสนาม ก็จะได้แนวเส้นตรง EF ดังรูป นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 12. การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้ • 3. กำาหนดจุด G และ H บนแนวเส้นตรง EF โดยให้ระยะ GH เท่ากับ 0.2000 เส้นโซ่ แล้ว ปักห่วงคะแนนไว้ ตรวจสอบแนว E G H F ต้อง แนวแนวเส้นตรง ดังรูป นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 13. การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้ • 4. กำาหนดจุด I โดยวัดระยะ GI = 0.2000 เส้นโซ่ วัดระยะ HI = 0.2000 เส้นโซ่ จุดตัด กันของระยะ GI กับระยะ HI ก็คือจุด I นั่นเอง ดังรูป นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 14. การวางมุม 60° มีล ำา ดับ ขั้น การ ปฏิบ ัต ิง านดัง นี้ • 5. จากการตัดกันของแนว GI กับแนว HI จะ เกิดรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า GHI ซึ่งมีด้านเท่ากัน ทั้งสามด้านและมีมุมเท่ากันทุกมุมคือ 60° ก็จะ ได้ IGH เท่ากับ 60° ตามต้องการ ดังรูป นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 15. งานที่มอบหมาย • 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่มๆ ละ เท่าๆ กัน • 2. ปฏิบติงานตามใบงานที่มอบหมายเป็นกลุ่ม ั จำานวน 2 วิธี • 3. เมื่อปฏิบติงานเสร็จแล้วในแต่ละวิธให้แจ้งให้ ั ี ครูผสอนตรวจให้คะแนนต่อไป ู้ • 4. คะแนนคิดเป็นกลุ่มคือกลุ่มไหนได้คะแนน เท่าไหร่สมาชิกในกลุ่มจะได้คะแนนเท่ากัน ยกเว้นคนที่ไม่ช่วยสมาชิกในกลุ่มปฏิบัติงานจะ นายมานัส ะแนน ไม่ได้ค ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ