SlideShare a Scribd company logo
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่แบบเชิงเสน
แนวคิดเรืองการเคลือนที่ของวัตถุ
         ่        ่
 แนวคิดของอริสโตเติล

                1. วัตถุที่หนักกวาจะตกสูพื้นโลกเร็วกวา โดยจะเร็วกวา
                   เปนสัดสวนตรงกับน้ําหนักของวัตถุ
                2. โลกของเราไมเคลือนทีหรือหยุดนิ่ง
                                     ่ ่
แนวคิดเรืองการเคลือนที่ของวัตถุ
         ่        ่
 แนวคิดของคอเปอรนิคส
                    ั

               โลกของเราไมหยุดนิ่ง แตโคจรไปรอบดวงอาทิตย
แนวคิดเรืองการเคลือนที่ของวัตถุ
         ่        ่
 แนวคิดของกาลิเลโอ

               1. วัตถุที่หนักกวาอีกกอนเปนสองเทา ไมไดตกถึงพื้น
                  เร็วกวาเปนสองเทา
               2. ถาวัตถุไมมีแรงใดมาขัดขวางการเคลื่อนที่ มันจะมี
                  แนวโนมที่จะเคลื่อนที่ในแนวตรงตอไปตลอดกาล
                  และคุณสมบัตินี้ของวัตถุ เรียกวา ความเฉื่อย

               ดังนั้นโลกเราจึงเคลื่อนที่ไปรอบดวงอาทิตยไดความเฉื่อย
แนวคิดเรืองการเคลือนที่ของวัตถุ
         ่        ่
                     1. การทดลองที่หอเอนเมืองปซา ทําใหเรา
                        เห็นวา ถาแรงตานทานจากอากาศมี
                        ผลกระทบนอยๆ ไมวาวัตถุจะมีน้ําหนัก
                        เทาไร เมื่อปลอยใหตกอยางอิสระพรอมๆ
                        กัน จะตกถึงพื้นพรอมกัน
ระยะทางและการกระจัด
สมมุตวัตถุเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B
     ิ
ระยะทาง เปนปริมาณสเกลาร
      ที่บอกถึงระยะทั้งหมดที่วัตถุเคลื่อนที่ (เมตร, m)
การกระจัด เปนปริมาณเวกเตอร
      ที่แสดงถึงการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุ (เมตร, m)
                             การกระจัด
                                             B
 A
                             ระยะทาง
ระยะทางและการกระจัด
                  เชียงใหม                                          เชียงใหม




                                            การกระจัดที่เครื่องบิน
ระยะทางที่เดินทางดวย
                                            บิน คือทิศเหนือ 600 km
รถยนต ทั้งสิ้น 800 km          นครสวรรค                                          นครสวรรค




                     กรุงเทพฯ                                           กรุงเทพฯ
ตัวอยาง
                           A                            B             C
                                       5m                     2m
                           เดินจาก A ไป B ระยะทาง       5   เมตร
                                          การกระจัด     5   เมตร ไปทางขวา
                           เดินจาก A ไป C ระยะทาง       7   เมตร
                                          การกระจัด     7   เมตร ไปทางขวา
                   เดินจาก A ไป C กลับมา B ระยะทาง      9   เมตร
                                            การกระจัด   5   เมตร ไปทางขวา
                                   ระยะทาง ≥ การกระจัด
จาก slide ของ อ.ศุภกัลย
การกระจัด
 เดินทางไปทางทิศตะวันออก เปนระยะทาง 4 กม. แลวเดินตอไปทาง
 ทิศเหนือ 3 กม. หาระยะทางและการกระจัดจากจุดเริ่มตนจนถึง
 จุดสิ้นสุด
                             ระยะทาง = 4 + 3 = 7 กิโลเมตร
  C = 5 km
                             การกระจัด = 42 + 32 = 5 กิโลเมตร
                   B = 3 km
   θ                            θ = tan-1( 3 / 4 ) = 37 องศา
    A = 4 km
 การกระจัดมีคา 5 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 37 องศา
อัตราเร็วเฉลี่ย ( average speed ) , ความเร็วเฉลี่ย ( average velocity )

  อัตราเร็วเฉลี่ย คืออัตราการเปลี่ยนระยะทาง
             อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทาง มีหนวยเปน เมตร / วินาที
                                   เวลา
                           v = ∆d        เปนปริมาณสเกลาร
                                ∆t
    ความเร็วเฉลี่ย คืออัตราการเปลี่ยนการกระจัด
            ความเร็วเฉลี่ย = การกระจัด มีหนวยเปน เมตร / วินาที
                               เวลา
                          v = ∆s      เปนปริมาณเวกเตอร
                              ∆t
อัตราเร็วเฉลี่ย
 สมมุติ
 เดินทางจากกรุงเทพฯ ไปเชียงใหม ไดระยะทาง 800 กม. ใชเวลา 10 ชม.
        อัตราเร็วเฉลี่ย = 800 / 10 = 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง

  ถาจากกรุงเทพฯถึงเชียงใหม มีการกระจัด 700 กิโลเมตร

        ความเร็วเฉลี่ย = 700 / 10 = 70 กิโลเมตรตอชั่วโมง
                                          การกระจัด
                                                          B
           A
                                          ระยะทาง
A                                      B                        C
                   50 m                            30 m
                10 วินาที 50 เมตร               10 วินาที 30 เมตร

                                                 5 วินาที 30 เมตร


  เดินทางจาก A ไป B จาก B ไป C และจาก C กลับมา B
  โดยชวงเวลา    A ถึง B = 10 วินาที
                  B ถึง C = 10 วินาที
                  C ถึง B = 5 วินาที
                                    110
อัตราเร็วเฉลี่ยทั้งหมด =             25
                                        = 4.4 m / s
                                    50
ความเร็วเฉลี่ยทั้งหมด =                = 2.0 m / s          ไปทางขวา
                                    25
ความเร็วคงที่ (Constant velocity)
 การเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ หมายถึงการเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงที่และ
               
 ไมมีการเปลี่ยนทิศทาง การที่รถวิ่งวนเปนวงกลมดวยอัตราเร็วคงที่จะไมมี
 ความเร็วคงที่ เนื่องจากความเร็วเปลี่ยนเมื่อทิศการเคลื่อนที่เปลี่ยนไป
                           v                   ถาความเร็วเทากันตลอดการ
                                               เคลื่อนที่ คือ การเคลื่อนที่ดวย
                                v              ความเร็วคงที่
ความเรง (Acceleration)
  เมื่อวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา กลาวไดวา
  วัตถุมีความเรง
     v = 0 km/h                                 v = 200 km/h
                          ความเร็วเพิ่มขึ้น


    v = 200 km/h                                v = 50 km/h
                           ความเร็วลดลง
ความเรง
     เราอาจเปลี่ยนความเร็วของบางสิ่งไดจาก การเปลี่ยนอัตราเร็ว การ
  เปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่ หรือการเปลี่ยนทั้งอัตราเร็วและทิศการเคลื่อนที่ เรา
  นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ววา ความเรง , a
                                 การเปลี่ยนความเร็ว
                      ความเรง =
                                      ชวงเวลา
                               ∆v
         หรือ               a=
                               ∆t

            เมือ เครืองหมาย ∆ งการเปลี่ยนแปลง (อานวา เดลตา)
               ่ ่          หมายถึ
ความเรงและความเร็ว
              ความเร็วคงที่   เราสามารถยืนนิ่งๆได
                              งายบนรถเมลที่แลนเร็ว
                              ไปบนทางดวนดวย
                              ความเร็วคงที่




                                แตเมื่อคนขับรถเหยียบเบรก
                                อยางแรง ทําใหรถมีความเรง
                                เราจะยืนลําบาก
ความเรง
   การขับรถจากหยุดนิ่งใหมความเร็ว รถจะมีความเรง นั่นคือมีการเปลี่ยนแปลง
                            ี
   ความเร็วเทียบกับเวลา สมมุติวาเราเรงเครื่องรถอยางสม่ําเสมอในทุกๆ 1
   วินาทีจากความเร็ว 30 km/h ไปมีความเร็ว 35 km/h และ 40 km/h ในวินาที
   ถัดมา จะเห็นวาความเร็วเปลี่ยนแปลง 5 km/h ในทุกๆวินาที เรากลาวไดวารถ
   มีความเรง 5 km/h.s หรือ ประมาณ 1.4 m/s.s หรือ 1.4 m/s2

        30 km/h              35 km/h                       40 km/h

                  1 วินาที                    1 วินาที
ความเรงเฉลี่ย
 ความเรงเฉลี่ยในชวงเวลาหนึ่งคืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วใน
 ชวงเวลานั้น
      v
      u                                                     v
                                                            v

      เวลา ณ   0 วินาที                                     เวลา ณ   t วินาที
                       ∆v v − u
                     a= =       หนวยของความเรงคือ m/s2
                       ∆t   t
      เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ จะมีคาความเรงเทากับศูนย
ความเร็วคงที่


ความเรง = 0

       ความเร็วเพิ่มขึ้น


  ความเรงมีทิศเดียวกัน
      ความเร็วลดลง



 ความเรงมีทิศตรงขาม
การเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่
 เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ หมายถึงความเรง ณ ขณะเวลาใดๆ มี
 คาเทากับความเรงเฉลี่ย
           v
           u                                              v
                                                          v
           เวลา ณ   0 วินาที                               เวลา ณ   t วินาที
                                          v−u
                                   a= a =
                                           t
เมื่อยายขางสมการ จะไดสมการความเร็ววา
                                  v = u + at
v
        u                                                                v
                                                                         v
                                                  v
        เวลา ณ   0 วินาที                       t/2                       เวลา ณ   t วินาที
                                                 x
เนื่องจากการเคลื่อนทีนี้มีความเรงคงที่ เมื่อเวลาผานไป t การกระจัด x สามารถหาไดจากคาความเร็ว
                     ่
เฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ คือ
                                                           u+v
        x = vt                               โดยที่    v =
                                                             2
            u+v
          =      t                            แทนคา   v = u + at
              2
                1 2
        x = ut + at
                2
สมการการเคลือนที่ดวย ความเรงคงที่ ในแนวตรง
            ่

             s = vt
            v = u + at
                      1 2
            s = ut + at
                      2
สมการการเคลือนที่ดวย ความเรงคงที่ ในแนวตรง
            ่
1. วัตถุหยุดนิ่ง (ความเร็วเปนศูนย)     3. เคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่
 s (m)
                                           s (m)
      5

                                 t (s)
                                                                          t (s)
2. เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่
 s (m)



                                 t (s)
วัตถุตกอยางอิสระ (Free Falling Objects)
ความเรงที่เกิดบนพื้นเอียง
                             กาลิเลโอพบวาลูกบอลกลิ้งลงมาจากพื้นเอียงจะ
                             มีอัตราเร็วเพิ่มขึนในทุกวินาที นั่นคือลูกบอล
                                               ้
                             เคลื่อนทีดวยความเรงคงที่
                                      ่

                             ลูกบอลที่ทําการทดลองกลิ้งลงมาจากพื้นเอียงที่
                             ทํามุมคาหนึ่ง อาจพบวามีอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้น 2
                             เมตรตอวินาทีในทุกๆวินาที หรือมีความเรงคงที่
                             เทากับ 2

                             กาลิเลโอพบอีกวาถาปรับใหพื้นเอียงชันขึ้นจะ
                             เกิดความเรงสูงขึน
                                              ้
ความเรงสูงสุดบนพื้นเอียง
                            ลูกบอลจะมีความเรงสูงที่สุดเมื่อพื้น
                            เอียงถูกปรับจนเปนแนวตั้ง และ
                            ความเรงนี้จะมีคาเทากับวัตถุที่ตกสู
                            พื้น โดยไมตองคํานึงถึงขนาดและ
                            น้ําหนัก กาลิเลโอพบวาเมื่อแรงตาน
                            อากาศมีผลนอยมากจนตัดทิ้งได วัตถุ
                            ทุกชนิดตกสูพื้นโลกดวยความเรงคงที่
                            ที่เทากัน
การตกอยางอิสระ
                  สิ่งตางๆ ตกสูพื้นโลกดวยแรงจากแรง
                  โนมถวงของโลก เมื่อวัตถุที่กําลังตกสูพื้น
                  โดยปราศจากการตานทานจากสิ่งตางๆ
                  กลาวคือ ไมมความเสียดทานจากอากาศ
                                ี
                  หรือสิ่งอื่นใด และตกลงดวยอิทธิพลจาก
                  แรงโนมถวงเพียงอยางเดียว เราเรียกวา
                  วัตถุดังกลาวอยูในสภาวะการตกอยาง
                                  
                  อิสระ
ความเรงเนื่องจากการตกอยางอิสระ
 กาลิเลโอพบจากการทดลองวา เมื่อปลอยวัตถุใหตกใกลผิวโลก วัตถุจะตกอยาง
 อิสระเนื่องจากแรงโนมถวงโลก ดวยความเรงคงที่ g เมื่อแรงตานอากาศมีผลตอ
 การตกของวัตถุนอยมาก
                 
                   โดยที่ g มีคาประมาณ 9.8 m/s2

 นั่นหมายถึงวา วัตถุที่ตกอยางอิสระจะมีความเร็วในการตก เพิ่มขึ้นประมาณ
 10 m/s ในทุกๆวินาที
                                                                 g
 และเวกเตอร g มีทิศทางพุงเขาศูนยกลางโลก
0 วินาที v = 0 m / s    x1 = 5 m
1 วินาที v = 10 m / s
                                   x 2 = 20 m
2 วินาที
                                                x 3 = 45 m
             v
             a
3 วินาที


                                        1 2
                               x = ut + at
                                        2 1
                               x = 0 ×10 + 10 ×1 2

                                          2
4 วินาที                       x1 = 5 m
ตัวอยาง
                     ปลอยกอนหินใหตกอยางอิสระจากตึกที่ความสูง
                     80 เมตร อยากทราบเวลาที่กอนหินตกถึงพื้น
                     หลังจากปลอยมือ (กําหนดคา g = 10 m/s2)
                         การปลอยกอนหินใหตกอยางอิสระจะหมายถึงวาความเร็ว
           80 เมตร       เริ่มตน u=0 หรือ สมการการเคลื่อนที่นจงเขียนไดวา
                                                              ี้ ึ
                                    1 2              2    2s
                             s = 0 + gt             t =
                                    2                     g
                                                     2    2 ⋅ 80
                                                    t =
                                                           10
                                                      t = 4s
โยนวัตถุขึ้นจากพืน
                 ้
                  3s                     โยนวัตถุขึ้นจากพื้นในแนวดิ่ง ดวยความเร็ว 30 m/s
                  v=0
       2s               4s               ทันทีที่วัตถุหลุดจากมือ จะยังคงเคลื่อนทีขนไปสักพักและ
                                                                                 ่ ึ้
       v=10 m/s         v=10 m/s
                                         ตกกลับลงมา ที่จุดสูงสุดทีวตถุเปลี่ยนแปลงทิศทางจาก
                                                                    ่ั
     1s                   5s             เคลื่อนทีขึ้นเปนตกลงมา อัตราเร็ว ณ ขณะนั้นจะเปนศูนย
                                                   ่
     v=20 m/s             v=20 m/s
                                         แลวมันจะเริ่มตกกลับลงมาราวกลับวา ถูกปลอยใหตกอยาง
   0s                       6s           อิสระ ณ ตําแหนงสูงสุดนัน้
   v=30 m/s                 v=30 m/s

                                         ในชวงทีเ่ คลื่อนทีขน ความเร็วจะคอยๆลดลงจากจุดที่เรา
                                                            ่ ึ้
                                         โยนจนเปนศูนย หรือมีความเรงนันเอง และมีความเรงเปน
                                                                         ่
                                         ลบ เนื่องจากมีทิศตรงขามกับความเร็ว นั่นคือความเร็ว
                              7s         ลดลง 10 m/s ในทุกๆวินาที หรือมีคาความเรงเปน -10 m/s2
                              v=40 m/s
                                         ซึงเปนความเรงอันเดียวกับตอนทีมันเคลื่อนที่ตกลงมา สิ่งที่
                                           ่                               ่
                                         นาสนใจคืออัตราเร็ว ณ ขณะใดๆ ที่ตําแหนงความสูง
                                         เดียวกันมีคาเทากัน
ตัวอยาง
 โยนลูกเทนนิสขึ้นในแนวตรงดวยความเร็ว 20 m/s อยากทราบ
    ก. ตําแหนงสูงสุดของลูกเทนนิสกอนตกกลับลงมา
    ข. เวลาทั้งหมดตั้งแตลูกเทนนิสหลุดจากมือจนตกกลับมาที่เดิม
ตัวอยาง
 ยืนบนหนาผา ปลอยกอนหินตกลงในแนวดิ่ง ไดยินเสียงกอนหินกระทบ
 พื้นดานลางในอีก 5 วินาทีตอมา (สมมติเสียงเดินทางในอากาศเร็วมากๆ
 และแรงตานอากาศมีผลตอการเคลื่อนที่นอยมาก) อยากทราบความสูง
 ของหนาผาแหงนี้

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)Worrachet Boonyong
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันApinya Phuadsing
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
Thepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
Chakkrawut Mueangkhon
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
Thepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
พัน พัน
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
krulef1805
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
Thepsatri Rajabhat University
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
 

What's hot (20)

บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรงแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

Similar to ความเร็ว0

การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
โรงเรียนเทพลีลา
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4Fay Wanida
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วLai Pong
 
การเคลื่อนที่0
การเคลื่อนที่0การเคลื่อนที่0
การเคลื่อนที่0krusridet
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
kungten555
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
wisita42
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
อรนุช เขตสูงเนิน
 

Similar to ความเร็ว0 (20)

การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
2
22
2
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
 
P02
P02P02
P02
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
การเคลื่อนที่0
การเคลื่อนที่0การเคลื่อนที่0
การเคลื่อนที่0
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
111
111111
111
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2
 
แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 

ความเร็ว0

  • 2. แนวคิดเรืองการเคลือนที่ของวัตถุ ่ ่ แนวคิดของอริสโตเติล 1. วัตถุที่หนักกวาจะตกสูพื้นโลกเร็วกวา โดยจะเร็วกวา เปนสัดสวนตรงกับน้ําหนักของวัตถุ 2. โลกของเราไมเคลือนทีหรือหยุดนิ่ง ่ ่
  • 3. แนวคิดเรืองการเคลือนที่ของวัตถุ ่ ่ แนวคิดของคอเปอรนิคส ั โลกของเราไมหยุดนิ่ง แตโคจรไปรอบดวงอาทิตย
  • 4. แนวคิดเรืองการเคลือนที่ของวัตถุ ่ ่ แนวคิดของกาลิเลโอ 1. วัตถุที่หนักกวาอีกกอนเปนสองเทา ไมไดตกถึงพื้น เร็วกวาเปนสองเทา 2. ถาวัตถุไมมีแรงใดมาขัดขวางการเคลื่อนที่ มันจะมี แนวโนมที่จะเคลื่อนที่ในแนวตรงตอไปตลอดกาล และคุณสมบัตินี้ของวัตถุ เรียกวา ความเฉื่อย ดังนั้นโลกเราจึงเคลื่อนที่ไปรอบดวงอาทิตยไดความเฉื่อย
  • 5. แนวคิดเรืองการเคลือนที่ของวัตถุ ่ ่ 1. การทดลองที่หอเอนเมืองปซา ทําใหเรา เห็นวา ถาแรงตานทานจากอากาศมี ผลกระทบนอยๆ ไมวาวัตถุจะมีน้ําหนัก เทาไร เมื่อปลอยใหตกอยางอิสระพรอมๆ กัน จะตกถึงพื้นพรอมกัน
  • 6. ระยะทางและการกระจัด สมมุตวัตถุเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B ิ ระยะทาง เปนปริมาณสเกลาร ที่บอกถึงระยะทั้งหมดที่วัตถุเคลื่อนที่ (เมตร, m) การกระจัด เปนปริมาณเวกเตอร ที่แสดงถึงการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุ (เมตร, m) การกระจัด B A ระยะทาง
  • 7. ระยะทางและการกระจัด เชียงใหม เชียงใหม การกระจัดที่เครื่องบิน ระยะทางที่เดินทางดวย บิน คือทิศเหนือ 600 km รถยนต ทั้งสิ้น 800 km นครสวรรค นครสวรรค กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ
  • 8. ตัวอยาง A B C 5m 2m เดินจาก A ไป B ระยะทาง 5 เมตร การกระจัด 5 เมตร ไปทางขวา เดินจาก A ไป C ระยะทาง 7 เมตร การกระจัด 7 เมตร ไปทางขวา เดินจาก A ไป C กลับมา B ระยะทาง 9 เมตร การกระจัด 5 เมตร ไปทางขวา ระยะทาง ≥ การกระจัด จาก slide ของ อ.ศุภกัลย
  • 9. การกระจัด เดินทางไปทางทิศตะวันออก เปนระยะทาง 4 กม. แลวเดินตอไปทาง ทิศเหนือ 3 กม. หาระยะทางและการกระจัดจากจุดเริ่มตนจนถึง จุดสิ้นสุด ระยะทาง = 4 + 3 = 7 กิโลเมตร C = 5 km การกระจัด = 42 + 32 = 5 กิโลเมตร B = 3 km θ θ = tan-1( 3 / 4 ) = 37 องศา A = 4 km การกระจัดมีคา 5 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 37 องศา
  • 10. อัตราเร็วเฉลี่ย ( average speed ) , ความเร็วเฉลี่ย ( average velocity ) อัตราเร็วเฉลี่ย คืออัตราการเปลี่ยนระยะทาง อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทาง มีหนวยเปน เมตร / วินาที เวลา v = ∆d เปนปริมาณสเกลาร ∆t ความเร็วเฉลี่ย คืออัตราการเปลี่ยนการกระจัด ความเร็วเฉลี่ย = การกระจัด มีหนวยเปน เมตร / วินาที เวลา v = ∆s เปนปริมาณเวกเตอร ∆t
  • 11. อัตราเร็วเฉลี่ย สมมุติ เดินทางจากกรุงเทพฯ ไปเชียงใหม ไดระยะทาง 800 กม. ใชเวลา 10 ชม. อัตราเร็วเฉลี่ย = 800 / 10 = 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง ถาจากกรุงเทพฯถึงเชียงใหม มีการกระจัด 700 กิโลเมตร ความเร็วเฉลี่ย = 700 / 10 = 70 กิโลเมตรตอชั่วโมง การกระจัด B A ระยะทาง
  • 12. A B C 50 m 30 m 10 วินาที 50 เมตร 10 วินาที 30 เมตร 5 วินาที 30 เมตร เดินทางจาก A ไป B จาก B ไป C และจาก C กลับมา B โดยชวงเวลา A ถึง B = 10 วินาที B ถึง C = 10 วินาที C ถึง B = 5 วินาที 110 อัตราเร็วเฉลี่ยทั้งหมด = 25 = 4.4 m / s 50 ความเร็วเฉลี่ยทั้งหมด = = 2.0 m / s ไปทางขวา 25
  • 13. ความเร็วคงที่ (Constant velocity) การเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ หมายถึงการเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงที่และ  ไมมีการเปลี่ยนทิศทาง การที่รถวิ่งวนเปนวงกลมดวยอัตราเร็วคงที่จะไมมี ความเร็วคงที่ เนื่องจากความเร็วเปลี่ยนเมื่อทิศการเคลื่อนที่เปลี่ยนไป v ถาความเร็วเทากันตลอดการ เคลื่อนที่ คือ การเคลื่อนที่ดวย v ความเร็วคงที่
  • 14. ความเรง (Acceleration) เมื่อวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา กลาวไดวา วัตถุมีความเรง v = 0 km/h v = 200 km/h ความเร็วเพิ่มขึ้น v = 200 km/h v = 50 km/h ความเร็วลดลง
  • 15. ความเรง เราอาจเปลี่ยนความเร็วของบางสิ่งไดจาก การเปลี่ยนอัตราเร็ว การ เปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่ หรือการเปลี่ยนทั้งอัตราเร็วและทิศการเคลื่อนที่ เรา นิยามอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ววา ความเรง , a การเปลี่ยนความเร็ว ความเรง = ชวงเวลา ∆v หรือ a= ∆t เมือ เครืองหมาย ∆ งการเปลี่ยนแปลง (อานวา เดลตา) ่ ่ หมายถึ
  • 16. ความเรงและความเร็ว ความเร็วคงที่ เราสามารถยืนนิ่งๆได งายบนรถเมลที่แลนเร็ว ไปบนทางดวนดวย ความเร็วคงที่ แตเมื่อคนขับรถเหยียบเบรก อยางแรง ทําใหรถมีความเรง เราจะยืนลําบาก
  • 17. ความเรง การขับรถจากหยุดนิ่งใหมความเร็ว รถจะมีความเรง นั่นคือมีการเปลี่ยนแปลง ี ความเร็วเทียบกับเวลา สมมุติวาเราเรงเครื่องรถอยางสม่ําเสมอในทุกๆ 1 วินาทีจากความเร็ว 30 km/h ไปมีความเร็ว 35 km/h และ 40 km/h ในวินาที ถัดมา จะเห็นวาความเร็วเปลี่ยนแปลง 5 km/h ในทุกๆวินาที เรากลาวไดวารถ มีความเรง 5 km/h.s หรือ ประมาณ 1.4 m/s.s หรือ 1.4 m/s2 30 km/h 35 km/h 40 km/h 1 วินาที 1 วินาที
  • 18. ความเรงเฉลี่ย ความเรงเฉลี่ยในชวงเวลาหนึ่งคืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วใน ชวงเวลานั้น v u v v เวลา ณ 0 วินาที เวลา ณ t วินาที ∆v v − u a= = หนวยของความเรงคือ m/s2 ∆t t เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ จะมีคาความเรงเทากับศูนย
  • 19. ความเร็วคงที่ ความเรง = 0 ความเร็วเพิ่มขึ้น ความเรงมีทิศเดียวกัน ความเร็วลดลง ความเรงมีทิศตรงขาม
  • 20. การเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ หมายถึงความเรง ณ ขณะเวลาใดๆ มี คาเทากับความเรงเฉลี่ย v u v v เวลา ณ 0 วินาที เวลา ณ t วินาที v−u a= a = t เมื่อยายขางสมการ จะไดสมการความเร็ววา v = u + at
  • 21. v u v v v เวลา ณ 0 วินาที t/2 เวลา ณ t วินาที x เนื่องจากการเคลื่อนทีนี้มีความเรงคงที่ เมื่อเวลาผานไป t การกระจัด x สามารถหาไดจากคาความเร็ว ่ เฉลี่ยตลอดการเคลื่อนที่ คือ u+v x = vt โดยที่ v = 2 u+v = t แทนคา v = u + at 2 1 2 x = ut + at 2
  • 23. สมการการเคลือนที่ดวย ความเรงคงที่ ในแนวตรง ่ 1. วัตถุหยุดนิ่ง (ความเร็วเปนศูนย) 3. เคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ s (m) s (m) 5 t (s) t (s) 2. เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ s (m) t (s)
  • 25. ความเรงที่เกิดบนพื้นเอียง กาลิเลโอพบวาลูกบอลกลิ้งลงมาจากพื้นเอียงจะ มีอัตราเร็วเพิ่มขึนในทุกวินาที นั่นคือลูกบอล ้ เคลื่อนทีดวยความเรงคงที่ ่ ลูกบอลที่ทําการทดลองกลิ้งลงมาจากพื้นเอียงที่ ทํามุมคาหนึ่ง อาจพบวามีอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้น 2 เมตรตอวินาทีในทุกๆวินาที หรือมีความเรงคงที่ เทากับ 2 กาลิเลโอพบอีกวาถาปรับใหพื้นเอียงชันขึ้นจะ เกิดความเรงสูงขึน ้
  • 26. ความเรงสูงสุดบนพื้นเอียง ลูกบอลจะมีความเรงสูงที่สุดเมื่อพื้น เอียงถูกปรับจนเปนแนวตั้ง และ ความเรงนี้จะมีคาเทากับวัตถุที่ตกสู พื้น โดยไมตองคํานึงถึงขนาดและ น้ําหนัก กาลิเลโอพบวาเมื่อแรงตาน อากาศมีผลนอยมากจนตัดทิ้งได วัตถุ ทุกชนิดตกสูพื้นโลกดวยความเรงคงที่ ที่เทากัน
  • 27. การตกอยางอิสระ สิ่งตางๆ ตกสูพื้นโลกดวยแรงจากแรง โนมถวงของโลก เมื่อวัตถุที่กําลังตกสูพื้น โดยปราศจากการตานทานจากสิ่งตางๆ กลาวคือ ไมมความเสียดทานจากอากาศ ี หรือสิ่งอื่นใด และตกลงดวยอิทธิพลจาก แรงโนมถวงเพียงอยางเดียว เราเรียกวา วัตถุดังกลาวอยูในสภาวะการตกอยาง  อิสระ
  • 28. ความเรงเนื่องจากการตกอยางอิสระ กาลิเลโอพบจากการทดลองวา เมื่อปลอยวัตถุใหตกใกลผิวโลก วัตถุจะตกอยาง อิสระเนื่องจากแรงโนมถวงโลก ดวยความเรงคงที่ g เมื่อแรงตานอากาศมีผลตอ การตกของวัตถุนอยมาก  โดยที่ g มีคาประมาณ 9.8 m/s2 นั่นหมายถึงวา วัตถุที่ตกอยางอิสระจะมีความเร็วในการตก เพิ่มขึ้นประมาณ 10 m/s ในทุกๆวินาที g และเวกเตอร g มีทิศทางพุงเขาศูนยกลางโลก
  • 29. 0 วินาที v = 0 m / s x1 = 5 m 1 วินาที v = 10 m / s x 2 = 20 m 2 วินาที x 3 = 45 m v a 3 วินาที 1 2 x = ut + at 2 1 x = 0 ×10 + 10 ×1 2 2 4 วินาที x1 = 5 m
  • 30. ตัวอยาง ปลอยกอนหินใหตกอยางอิสระจากตึกที่ความสูง 80 เมตร อยากทราบเวลาที่กอนหินตกถึงพื้น หลังจากปลอยมือ (กําหนดคา g = 10 m/s2) การปลอยกอนหินใหตกอยางอิสระจะหมายถึงวาความเร็ว 80 เมตร เริ่มตน u=0 หรือ สมการการเคลื่อนที่นจงเขียนไดวา ี้ ึ 1 2 2 2s s = 0 + gt t = 2 g 2 2 ⋅ 80 t = 10 t = 4s
  • 31. โยนวัตถุขึ้นจากพืน ้ 3s โยนวัตถุขึ้นจากพื้นในแนวดิ่ง ดวยความเร็ว 30 m/s v=0 2s 4s ทันทีที่วัตถุหลุดจากมือ จะยังคงเคลื่อนทีขนไปสักพักและ ่ ึ้ v=10 m/s v=10 m/s ตกกลับลงมา ที่จุดสูงสุดทีวตถุเปลี่ยนแปลงทิศทางจาก ่ั 1s 5s เคลื่อนทีขึ้นเปนตกลงมา อัตราเร็ว ณ ขณะนั้นจะเปนศูนย ่ v=20 m/s v=20 m/s แลวมันจะเริ่มตกกลับลงมาราวกลับวา ถูกปลอยใหตกอยาง 0s 6s อิสระ ณ ตําแหนงสูงสุดนัน้ v=30 m/s v=30 m/s ในชวงทีเ่ คลื่อนทีขน ความเร็วจะคอยๆลดลงจากจุดที่เรา ่ ึ้ โยนจนเปนศูนย หรือมีความเรงนันเอง และมีความเรงเปน ่ ลบ เนื่องจากมีทิศตรงขามกับความเร็ว นั่นคือความเร็ว 7s ลดลง 10 m/s ในทุกๆวินาที หรือมีคาความเรงเปน -10 m/s2 v=40 m/s ซึงเปนความเรงอันเดียวกับตอนทีมันเคลื่อนที่ตกลงมา สิ่งที่ ่ ่ นาสนใจคืออัตราเร็ว ณ ขณะใดๆ ที่ตําแหนงความสูง เดียวกันมีคาเทากัน
  • 32. ตัวอยาง โยนลูกเทนนิสขึ้นในแนวตรงดวยความเร็ว 20 m/s อยากทราบ ก. ตําแหนงสูงสุดของลูกเทนนิสกอนตกกลับลงมา ข. เวลาทั้งหมดตั้งแตลูกเทนนิสหลุดจากมือจนตกกลับมาที่เดิม
  • 33. ตัวอยาง ยืนบนหนาผา ปลอยกอนหินตกลงในแนวดิ่ง ไดยินเสียงกอนหินกระทบ พื้นดานลางในอีก 5 วินาทีตอมา (สมมติเสียงเดินทางในอากาศเร็วมากๆ และแรงตานอากาศมีผลตอการเคลื่อนที่นอยมาก) อยากทราบความสูง ของหนาผาแหงนี้