SlideShare a Scribd company logo
1 of 90
Download to read offline
โครงการ “การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น
เพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน”
โดย...นายฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล
ปลัดเทศบาลเมืองลาพูน
มติคณะรัฐมนตรี
ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณเมืองเก่าลาพูน
กรอบแนวคิดหลัก
คุณค่าของเมือง
เก่าลาพูน
องค์ประกอบของเมืองเก่า
- คูเมือง
- กำแพงเมืองและประตูเมือง
ศิลปะหริภุญไชยที่ยัง
มีให้เห็น
อาคารเก่าที่พักอาศัย
ที่มีความงดงาม
ต้นไม้ใหญ่ที่ปรากฏให้
เห็นในเขตเมืองเก่า
คุณค่าความสาคัญ
ความเป็นของแท้
ดั้งเดิม
โครงการอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่นเพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่ง
เรียนรู้ชุมชน
การท่องเที่ยว รายได้ การมีงานทา
• พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง
• แหล่งเรียนรู้คุ้มเจ้ายอดเรือน
• การอนุรักษ์บ้านเก่า
• การจัดทาฐานข้อมูลบ้านเก่า
• โรงเรียนสังกัดเทศบาลฯ
• การจัดประชุม
• วารสารเมืองเก่าลาพูน
• เฮือนศิลปิน
• คณะวิศวกรรมศาสตร์ มช.
• เทคโนโลยีราชมงคล
• เจ้าของบ้านเก่า
• การจัดนิทรรศการ
งบประมาณในภาพรวมของเทศบาลเมืองลาพูน
-
20,000,000
40,000,000
60,000,000
80,000,000
100,000,000
120,000,000
140,000,000
160,000,000
180,000,000
ปี 2555 ปี 2556(รวมเงินอุดหนุน
ทางการศึกษา)
งบประมาณที่ตั้งไว้ 103,956,700 160,224,570
103,956,700
160,224,570
บาท
ภาพรวมงบประมาณของเทศบาลเมืองลาพูน ในปี พ.ศ. 2555-2556
ภาพรวมการใช้งบประมาณในปี 2555-2556
ในการดาเนินโครงการอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่นเพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน
20%
50%
1%
2%
2%
2%
19%
4%
งบประมาณที่ใช้ต่อโครงการ
แหล่งเรียนรู้ชุมชนคุ้มเจ้ำยอดเรือน (600,000)
โครงกำรอนุรักษ์บ้ำนเก่ำ (1,500,000)
โครงกำรจัดทำฐำนข้อมูลบ้ำนเก่ำ (50,000)
โครงกำรแหล่งเรียนรู้ “เฮือนภูมิปัญญำ ตำมวิถี
พอเพียง” (50,000)
โครงกำรเรียนรู้รอบเมือง รู้เรื่องถิ่นเกิด (50,000)
โครงกำรแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมพื้นบ้ำน สืบสำนภูมิ
ปัญญำเมืองหริภุญชัย(50,000)
โครงกำรรถรำงนำเที่ยวลำพูน เมืองบุญหลวงแห่ง
ล้ำนนำ (580,000)
โครงกำรเปิดบ้ำนศิลปินทัศนศิลป์ เมืองลำพูน
(120,000)
เรือนพื้นถิ่น
เป็นมรดกทำงสถำปัตยกรรมที่แสดงให้เห็นถึงรำกเหง้ำของภูมิปัญญำ วิถีชีวิตและ
ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งเสมือนสมุดบันทึกเรื่องรำวจำกอดีตถึงปัจจุบัน
เรือนพื้นถิ่นลาพูน มีจุดเด่นที่เป็นลักษณะเฉพำะตัว นั่นคือเป็นเรือนไม้ ยกใต้ถุนสูง มี
หลังคำทรงจั่วมนิลำ ส่วนยอดและมุมตกแต่งด้วยสรไน ซึ่งเป็นแท่งไม้กลมกลึง เรียกกัน
ว่ำ “เรือนสำระไน” ถือเป็นอัตลักษณ์ของเมืองลำพูน
ลักษณะเด่นด้านสถาปัตยกรรมเมืองลาพูน
อาคาร สิ่งก่อสร้างทางศาสนา (สมัยหริภุณไชย)
รัตนเจดีย์
เจดีย์กู่กุด
เจดีย์เชียงยืน เจดีย์ปทุมวดี
กู่ช้าง
รูปแบบสถำปัตยกรรม บ้ำนโบรำณ
 เรือนเครื่องไม้แบบใต้ถุนสูง ประดับประดำหน้ำจั่ว สำระไน และฉลุลำย เครือเถำ เรขำคณิต
 เรือนสมัยกลำง กำรเจำะช่องประตูหน้ำต่ำง กำรขึ้นทรงหลังคำที่ซับซ้อน เอกลักษณ์พื้นถิ่น
 สถำปัตยกรรมแบบช่ำงไม้ร่วมสมัย ลดควำมชันของหลังคำ
ลักษณะเด่นด้านสถาปัตยกรรมเมืองลาพูน
อาคารที่พักอาศัยของเจ้านาย - เป็นสิ่งก่อสร้างหลังปี พ.ศ. 2400
- ได้รับอิทธิพลจากลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตก
ลักษณะเด่นด้านสถาปัตยกรรมเมืองลาพูน
อาคารที่พักอาศัยของราษฎรทั่วไป
อาคารพาณิชย์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานรางวัลอนุรักษ์ศิลปะ
สถาปัตยกรรมดีเด่น
ด้านหน้าอาคารพิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลาพูน เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๐
หลังคาเรือนไม้ประดับตกแต่งอาคารด้วยสะระไนที่สง่างามที่สุดในจังหวัดลาพูน
ผังบริเวณอาคารสถานที่
รูปด้านหน้า-ด้านหลัง อาคารคุ้มเจ้าราชสัมพันธวงศ์
ห้องประวัติคุ้มเจ้าราชสัมพันธ์วงษ์ และการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลาพูน
จัดแสดงภาพถ่ายวิถีชีวิตของชาวลาพูนเมื่อในอดีต สถานที่สาคัญต่างๆ ในจังหวัดลาพูน
เป็นห้องจัดแสดงภาพถ่ายวัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตของเมืองลาพูนในอดีต
กล่องไม้ขีดไฟโบราณ
สลากกินแบ่งรัฐบาลสมัยก่อนจนถึงในปัจจุบัน
ของเล่นของสะสมในอดีต
อุปกรณ์การเรียนต่างๆ ในอดีต ตุ๊กตายางหลากหลายรูปแบบ
ภาพนางสาวถิ่นไทยงาม คนแรกของจังหวัดลาพูน
ภาพบรรดาสาวงามในอดีตของจังหวัดลาพูน
สถิติจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าชมพิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง
-
2,000
4,000
6,000
8,000
10,000
12,000
14,000
ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557
(สค.)
จานวน (คน) 771 1,064 5,155 13,194 11,315 8,219 5,720
จานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าชมพิพิธภัณฑ์ (คน)
ทาบุญ 100 ปี พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง
โครงกำร/กิจกรรมย่อย สืบเนื่องตำม
นวัตกรรมที่นำเสนอ
1. โครงการแหล่งเรียนรู้คุ้มเจ้ายอดเรือน
คุ้มเจ้ายอดเรือน สร้ำงเมื่อเดือนมิถุนำยน พ.ศ. 2470 รูปแบบเป็นเรือนหลวงสรไน บริเวณคุ้ม
ประกอบด้วยยุ้งข้ำว และสิ่งของเครื่องใช้ที่บ่งบอกถึงควำมเป็นเอกลักษณ์เรือนหลวงพื้นถิ่นหลำยสิ่ง ตัวอำคำรเป็น
เรือนไม้ใต้ถุนสูง ฐำนรำกและเสำชั้นล่ำงเป็นคอนกรีตอำบปูนซีเมนต์ขัดมันไม่เสริมเหล็กรองรับคำนคู่ที่วำงบนเสำ
ผนังไม้ตีแนวนอน พื้นปูด้วยไม้สักที่ละเอียดและประณีตจนน้ำไม่สำมำรถไหลผ่ำนได้สัดส่วนเรือนจำกพื้นถึงเพดำน
ค่อนข้ำงสูงแบบบ้ำนตะวันตก มีช่องระบำยอำกำศใต้เพดำน หลังคำทรงจั่วและองค์ประกอบอื่นๆ ที่คงควำมประณีต
สวยงำม ควรค่ำอนุรักษ์ไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับทรำบและเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ชุมชนคุ้มเจ้ายอดเรือน
บรรยากาศภายในแหล่งเรียนรู้ชุมชนคุ้มเจ้ายอดเรือน
การจัดเตรียมพื้นที่ภายในแหล่งเรียนรู้ชุมชนคุ้มเจ้ายอดเรือน
งำนเปิดป้ำยแหล่งเรียนรู้ชุมชนคุ้มเจ้ำยอดเรือน
บรรยากาศแหล่งเรียนรู้ชุมชนคุ้มเจ้ายอดเรือน
ภำพนักท่องเที่ยวที่มำเที่ยวชม
เรือนสรไนของ เจ้ายอดเรือน ได้รับรางวัลเรือนอนุรักษ์ดีเด่น ดังนี้
ครั้งแรกเมื่อเจ้ำยอดเรือนยังมีชีวิตอยู่ ได้รับรำงวัล “บ้ำนสะอำด เป็นระเบียบ” จำก
เทศบำลเมืองลำพูน
ครั้งที่สอง เดือนเมษำยน 2546 คุ้มเจ้ำยอดเรือน ได้รับรำงวัลที่ 1 ประเภท “ บ้ำน
โบรำณอนุรักษ์พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมกำรท่องเที่ยวจังหวัดลำพูน” จำกเทศบำล
เมืองลำพูน
เรือนสรไนของ เจ้ายอดเรือน ได้รับรางวัลเรือนอนุรักษ์ดีเด่น ดังนี้
ครั้งที่สำม เดือนพฤศจิกำยน 2546 คุ้มเจ้ำยอดเรือนได้รับรำงวัล “ลำพูนงำม ประเภท
อำคำรอนุรักษ์ดีเด่น” หัวข้อเมืองลำพูนงำม โดยกรรมำธิกำรสถำปนิกล้ำนนำ สมำคม
สถำปนิกสยำม ในพระบรมรำชูปถัมภ์
เรือนสรไนของ เจ้ายอดเรือน ได้รับรางวัลเรือนอนุรักษ์ดีเด่น ดังนี้
ครั้งที่สี่ คุ้มเจ้ำยอดเรือนได้รับพระรำชทำนรำงวัลจำกสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ
สยำมบรมรำชกุมำรี รำงวัลอนุรักษ์ศิลปะสถำปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2554 ประเภท
เคหสถำนและบ้ำนเรือนเอกชน จังหวัดลำพูน เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2556
สถิติจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าชมคุ้มเจ้ายอดเรือน
-
2,000
4,000
6,000
8,000
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557
จำนวน (คน) 3,385 2,662 7,616
จานวน (คน)
โครงกำร/กิจกรรมย่อย สืบเนื่องตำม
นวัตกรรมที่นำเสนอ
2. โครงการอนุรักษ์บ้านเก่า
โครงการอนุรักษ์บ้านเก่าลาพูน
 เมื่อปี พ.ศ. 2555 เทศบำลได้เริ่มดำเนินกำรขึ้นทะเบียน บ้ำนโบรำณ/บ้ำนเก่ำที่ยังคง
ควำมเป็นเอกลักษณ์ของชำวลำพูนเพื่อนำมำบูรณะให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง
สถำปัตยกรรมท้องถิ่น ก่อให้เกิดประโยชน์กับประชำชนในเขตเทศบำล
บ้านเลขที่ 115 บ้านเลขที่ 117 บ้านเลขที่ 119
ผู้มีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการ
กำรเคหะแห่งชำติ
เทศบำลเมืองลำพูน
ประชำชน
คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
คณะศิลปกรรมและสถำปัตยกรรมฯ เทคโนโลยีรำชมงคลฯ
แบบแปลนการดาเนินงานในปี 2557-2558
โครงกำร/กิจกรรมย่อย สืบเนื่องตำม
นวัตกรรมที่นำเสนอ
3. โครงการจัดทาฐานข้อมูลบ้านเก่า
นำโปรแกรมสำรสนเทศทำงภูมิศำสตร์( GIS ) มำจัดทำฐำนข้อมูลบ้ำนเก่ำ ใน
เขตชุมชนเมืองเพื่อเป็นกำรกระตุ้นให้ประชำชนหันมำสนใจ และสนับสนุนกำรอนุรักษ์
เรือนพื้นถิ่น ลำพูน ให้มำกขึ้น
ปัจจุบันเทศบาลได้มีการสารวจบ้านโบราณในเบื้องต้น
ทั้งหมด 62 หลัง อาทิเช่น
บ้านเลขที่ 304 ถ.เจริญราษฏร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ลาพูน
เจ้าของบ้าน นายวิจิตร ภู่เจริญ
การสารวจบ้านโบราณในเบื้องต้น
ฯลฯ
โครงกำร/กิจกรรมย่อย สืบเนื่องตำม
นวัตกรรมที่นำเสนอ
4.โครงการแหล่งเรียนรู้
“เฮือนภูมิปัญญา ตามวิถีพอเพียง”
โรงเรียนเทศบาลสันป่ ายางหน่อม
แหล่งเรียนรู้ “เฮือนภูมิปัญญา ตามวิถีพอเพียง”
เป็นการประยุกต์ใช้เฮือนพื้นถิ่นมาเป็นแหล่งเรียนรู้
- เพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียนและประชำชนในพื้นที่ได้ทรำบถึง รูปแบบของสถำปัตยกรรม
เรือนพื้นถิ่นลำพูนผ่ำนทำงสถำนที่ของแหล่งเรียนรู้
- นำปรำชญ์ภูมิปัญญำท้องถิ่นในชุมชนทั้ง 17 ชุมชน ร่วมเป็นวิทยำกรในกำรให้ควำมรู้
ในกิจกรรมต่ำงๆ อำทิ กิจกรรมกำรทำควักหมำกพลู, กิจกรรมกำรตัดตุง เป็นต้น
- สำมำรถนำควำมรู้ทำงภูมิปัญญำที่ได้ปรำชญ์ท้องถิ่นไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
อย่ำงต่อเนื่อง
แหล่งเรียนรู้ “เฮือนภูมิปัญญา ตามวิถีพอเพียง”
จัดทาเอกสารอธิบายองค์ประกอบเฮือนพื้นถิ่นเพื่อจัดแสดงในเฮือนภูมิปัญญาฯ
กิจกรรมอุ้ยสอนหลาน สานสองวัย
จัดให้มีกิจกรรมสืบสานภูมิปัญญาทั้งหมด 10 กิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 การประดิษฐ์ตุง
กิจกรรมที่ 2 การประดิษฐ์กรวยดอกไม้
กิจกรรมที่ 3 การประดิษฐ์กระทงใบตอง
กิจกรรมอุ้ยสอนหลาน สานสองวัย
จัดให้มีกิจกรรมสืบสานภูมิปัญญาทั้งหมด 10กิจกรรม อาทิ
กิจกรรมที่ 4 การประดิษฐ์โคม
กิจกรรมที่ 5 การประดิษฐ์ควักหมากพลู
กิจกรรมที่ 6 การประดิษฐ์การสานสัตว์
กิจกรรมอุ้ยสอนหลาน สานสองวัย
จัดให้มีกิจกรรมสืบสานภูมิปัญญาทั้งหมด 10กิจกรรม อาทิ
กิจกรรมที่ 7 การประดิษฐ์การดอกไม้ใส่ครัวทาน
กิจกรรมที่ 8 การประดิษฐ์หมากเบ็ง
กิจกรรมที่ 9 การประดิษฐ์การพับกลีบดอกบัว
กิจกรรมที่ 10 การประดิษฐ์ต้นสลากภัตร
โครงกำร/กิจกรรมย่อย สืบเนื่องตำม
นวัตกรรมที่นำเสนอ
5. โครงการเรียนรู้รอบเมือง รู้เรื่องถิ่นเกิด
โรงเรียนเทศบาลประตูลี้
ดาเนินการตาม จุดแข็งของเมืองลาพูน ในด้านของการเป็นเมืองเก่า
และมีอารยธรรมที่สืบทอดกันมานานมากกว่า 1,400 ปี
กำรสร้ำงโอกำสและฝึกฝนมัคคุเทศก์น้อย เน้นกำรจัดกิจกรรมส่งเสริมกำรเรียนรู้
เกี่ยวกับประวัติศำสตร์ สถำปัตยกรรมพื้นถิ่นศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและ ภูมิปัญญำ
ท้องถิ่นของเมืองลำพูน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดควำมภำคภูมิใจในถิ่นเกิดของตน โดยกำหนด
แหล่งเรียนรู้รอบเมืองไว้14 จุดด้วยกัน อำทิ
วัดพระธาตุหริภุญชัยฯ วัดจามเทวี อาคารมรดกแผ่นดิน
จัดทาแผ่นพับแนะนาโครงการเรียนรู้รอบเมืองฯ
สร้างโอกาสและฝึกฝนมัคคุเทศก์น้อย
ตัวอย่าง กิจกรรมตามโครงการฯ
โครงกำร/กิจกรรมย่อย สืบเนื่องตำม
นวัตกรรมที่นำเสนอ
6. โครงการแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมพื้นบ้าน
สืบสานภูมิปัญญาเมืองหริภุญชัย
โรงเรียนเทศบาลสันป่ ายางหลวง
ดาเนินการภายใต้แนวคิด
กำรอนุรักษ์ประเพณี และวัฒนธรรมล้ำนนำ เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลำงกำรศึกษำ และเผยแพร่
รูปแบบสถำปัตยกรรมดั้งเดิม ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้ำนต่ำงๆ พร้อมทั้งจัดแหล่งเรียนรู้ จำนวน 4 แหล่ง
เรียนรู้
จัดแหล่งเรียนรู้ จานวน 4 แหล่งเรียนรู้ ดังนี้
แหล่งเรียนรู้ที่ 1 ศูนย์ศึกษาศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านหริภุญชัย
แหล่งเรียนรู้ที่ 2 หอจดหมายเหตุเทศบาลเมืองลาพูน
จัดแหล่งเรียนรู้ จานวน 4 แหล่งเรียนรู้ ดังนี้
แหล่งเรียนรู้ที่ 3 หอสมุดแห่งชาติหริภุญชัย
แหล่งเรียนรู้ที่ 4 ห้องเรียน School Online
การเผยแพร่ภูมิปัญญาจากโรงเรียนสู่ชุมชน
รางวัลที่ได้รับ
ระดับจังหวัด
รางวัล ผลงำนนวัตกรรมระดับเขตพื้นที่กำรศึกษำ หน่วยงำน สำนักเลขำ
คุรุสภำ พ.ศ.2555
ระดับประเทศ
รางวัล เหรียญทอง หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรมหน่วยงำน สำนักเลขำ
คุรุสภำพ.ศ.2555
โครงกำร/กิจกรรมย่อย สืบเนื่องตำม
นวัตกรรมที่นำเสนอ
7. โครงการรถรางนาเที่ยวลาพูน เมืองบุญหลวงแห่งล้านนา
โครงการของเทศบาลเมืองลาพูน
โครงการรถรางนาเที่ยวลาพูน
๑. วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร
๒. พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมืองลาพูน
๓. คุ้มเจ้ายอดเรือน
๔. อนุสาวรีย์พระนางจามเทวี
๕. วัดจามเทวี
๖. วัดมหาวัน(วัดมหาวนาราม)
๗. วัดพระคงฤาษี
๘. วัดสันป่ายางหลวง
๙. กู่ช้าง-กู่ม้า
๑๐. วัดพระยืน
๑๑. วัดต้นแก้ว
๑๒. บ้านเก่าลาพูน
ราคาตั๋วรถนาเที่ยวในเขตเมืองลาพูน
Tram Ticket office
เด็ก / Child Fee 20 Baht.
ผู้ใหญ่ / Adult Fee 50 Baht.
ชาวต่างชาติ / Foreigner Fee 100 Baht.
สอบถามรายละเอียดได้ที่ ....
งานพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว เทศบาลเมืองลาพูน โทร.053 – 511013 ต่อ 110
บูธจาหน่ายตั๋วรถนาเที่ยวฯ (หน้าวัดพระธาตุหริภุญชัย) โทร.053-530757
สถิติผู้ใช้บริการรถรางนาเที่ยวลาพูนประจาปี พ.ศ. 2554-2557
8,032
9,262
11,213
12,517
ปี 2557 จำนวน 8,032 รำย(สค.)
ปี 2556 จำนวน9,262 รำย
ปี 2555 จำนวน 11,213 รำย
ปี 2554 จำนวน12,517 รำย
โครงกำร/กิจกรรมย่อย สืบเนื่องตำม
นวัตกรรมที่นำเสนอ
8. โครงการเปิดบ้านศิลปิน ทัศนศิลป์ เมืองลาพูน
โครงการของเทศบาลเมืองลาพูน
โครงการเปิดบ้านศิลปิน ทัศนศิลป์ เมืองลาพูน
เป็นโครงกำรที่สืบเนื่องมำจำก กำรประชุมกิจกรรมส่งเสริมศิลปินลำพูน ตำมโครงกำร
พิพิธภัณฑ์ชุมชนเมือง เมื่อวันที่ 9 สิงหำคม 2555 ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อจะสร้ำงควำมร่วมมือใน
กำรผลักดัน ค้นหำเอกลักษณ์ควำมเป็นเมืองเก่ำลำพูนไว้
โครงการของเทศบาลเมืองลาพูน
โครงการเปิดบ้านศิลปิน ทัศนศิลป์ เมืองลาพูน
ครั้งที่ 1 เป็นผลงำนภำพวำดที่มีควำมสดชื่นสดใส ด้วยสีสันของดอกไม้ของอำจำรย์จรูญ
บุญสวน จัดแสดงตั้งแต่เดือนพฤศจิกำยน 2555 – มกรำคม 2556
ตัวอย่างข้อคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมผลงานภาพวาดของ อาจารย์จรูญ บุญสวน
ครั้งที่ 2 เป็นผลงำนภำพวำด ในรูปแบบกำร์ตูนแอนิเมชั่น ของ
อำจำรย์จำรุพงษ์ ณ ลำพูน จัดแสดงตั้งแต่ เดือนกุมภำพันธ์ – พฤษภำคม 2556
ตัวอย่างข้อคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมผลงานภาพวาด ใน
รูปแบบการ์ตูนแอนิเมชั่น
ครั้งที่ 3 ผลงำนแกะสลักไม้รูปเหมือนพระเถระชั้นผู้ใหญ่ ครูบำชื่อดังของเมืองลำพูน
ของอำจำรย์สมพล หล้ำสกุล จัดแสดงตั้งแต่ เดือนมิถุนำยน – สิงหำคม 2556
ตัวอย่างข้อคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมผลงานแกะสลักไม้รูปเหมือน
พระเถระชั้นผู้ใหญ่ ของอาจารย์สมพล หล้าสกุล
ครั้งที่ 4 เป็นกำรจัดแสดงภำพจำลองจิตรกรรมฝำผนังวัดสะปุ๋ งน้อย ภำยใต้ชื่องำน เส้นสี
วิถียอง ของอำจำรย์ประสิทธิ์ ศิลปะเดชำกุล
จัดแสดงตั้งแต่ เดือนกันยำยน 2556 – มกรำคม 2557
ตัวอย่างข้อคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมผลงาน เส้นสี วิถียอง
ของอาจารย์ประสิทธิ์ ศิลปะเดชากุล
ครั้งที่ 5 จัดแสดงภำพวำดจิตรกรรมสีน้ำ รูปดอกไม้ที่อ่อนช้อยงดงำมเต็มไปด้วย
ควำมทรงจำ ของอำจำรย์ชำติชำย ปันมงคล
จัดแสดงตั้งแต่ เดือนกุมภำพันธ์ – มิถุนำยน 2557
ตัวอย่างข้อคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมผลงาน ภาพวาดจิตรกรรมสีน้า
ของของอาจารย์ชาติชาย ปันมงคล
ครั้งที่ 6 จัดแสดง “มหัศจรรย์ปูนปั้น” ของอำจำรย์วัฒนำ บุญยืน จัดแสดง
ตั้งแต่ เดือนกรกฎำคม 2557 มำจนถึงปัจจุบัน
ผลที่ได้รับจากการอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น
 พัฒนำฐำนข้อมูลกำรจัดกำรควำมรู้เรือนพื้นถิ่น จังหวัดลำพูน
 ได้ข้อมูลเรือนพื้นถิ่นจังหวัดลำพูน สำหรับกำรสร้ำงเครือข่ำยกำรท่องเที่ยวเชิง
อนุรักษ์
 สร้ำงจิตสำนึกในกำรอนุรักษ์เมืองเก่ำลำพูน
 ได้ฟื้นฟูช่ำงฝีมือหริภุญไชย และช่ำงฝีมือท้องถิ่นเพื่อกำรอนุรักษ์ภูมิปัญญำท้องถิ่น
อย่ำงยั่งยืน
 เป็นกำรส่งเสริมกำรท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สร้ำงรำยได้ และกำรมีงำนทำ
LAMPHUN MUNICIPALITY

More Related Content

Similar to การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจำปี 2556 และรางวัลพระปกเกล้า ประจำปี 2558)

07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนามthammanoon laohpiyavisut
 
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนามthammanoon laohpiyavisut
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...ฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าchatkul chuensuwankul
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
06 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
06  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม06  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
06 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนามthammanoon laohpiyavisut
 
โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมโครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมปิยนันท์ ราชธานี
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)ปิยนันท์ ราชธานี
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักbuntawee
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...ปิยนันท์ ราชธานี
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.PptMate Soul-All
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)ฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล
 

Similar to การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจำปี 2556 และรางวัลพระปกเกล้า ประจำปี 2558) (20)

07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
 
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม07  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
07 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า (สาธารณูปโภคใต้ดินเ...
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่าโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม10เมืองเก่า
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
 
06 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
06  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม06  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
06 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม
 
โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมโครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน(ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำประจำปี 2559)
 

การอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น (ได้รับรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจำปี 2556 และรางวัลพระปกเกล้า ประจำปี 2558)