SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
[1]
สิทธา&นวารยธัมม์
สิทธิ (อดีตรองผอ.โรงเรียนฯ)หรือ "สิทธา นวารยธัมม์" ได้ศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติจิต-
ภาวนาตามอัธยาศรัย ตามความสงสัยความสนใจ อยากรู้ อยากพิสูจน์ความจริง ไม่อยาก
เชือตามทีคนส่วนใหญ่เชือ บอกเล่า สังสอนตามๆกันมา โดยอาศัยแรงศรัทธาเป็นทีตัง
จาก การศึกษา ปริยัติ ปฏิบัติ ภาวนาฯ มา มากกว่า ๑๐ ปี (เริม๒๕๔๗) ได้ เข้าใจ
ความหมาย ความสอดคล้อง ของ “ปริยัติ กับการ ปฏิบัติ” ได้ สัมผัส สภาวะธรรม ทางกาย
ทางจิต ได้รู้ความจริงทางธรรมชาติ ทีเป็นประโยชน์ ในการนํามา ประพฤติ ปฏิบัติ ให้ชีวิต
ผ่อนคลาย สงบเย็น เป็นสุข และ ได้ ตระหนักรู้ ใน คุณค่าของ “ระบบโลกวิญญาณ” คือ
ระบบการ กระจาย หมุนเวียน กลัน กรอง ทําความสะอาด ปรับปรุง ตนเอง ของ ธรรมชาติ
สืงแลดล้อม” และ เข้าใจ เข้าถึง ความจริงทางธรรมชาติ อืนๆ ค่อนข้างมาก
เดือน มีนาคม ๒๕๕๘ สิทธา มีอายุครบ ๖๗ ปี แล้ว น่าเสียดาย ถ้า สิงที ได้สัมผัส
เรียนรู้ มา ต้องสูญหายไป กับชีวิตสิทธาโดยสูญเปล่า จึงคิดว่า น่าจะมีคนที มี ความสนใจ
อยากทีจะ ร่วมศึกษา ธัมมะ อันเป็น ความจริงใน “ธรรมชาติแห่งจักรวาล” ความจริง ใน
ธรรมชาติของร่างกายจิตใจ ศึกษาทําความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่าอันสูงยิงของ ธรรมชาติ
“ธรรมชาติแวดล้อมทีสะอาดสวยงามอุดมสมบูรณ์ นัน เป็น ทุกอย่างแห่ง ปัจจัยสุขภาวะ
ของทุกชีวิตและสุขภาวะ ของโลก อันเป็น นิเวศนสถาน แห่งเดียวของเราและของเผ่าพันธุ์
ลูกหลานมนุษย์เรา ในอนาคต”
สิทธา จําเป็นต้องบอกความจริงกับท่าน ทีบังเอิญมาอ่านพบว่า สิทธามิได้หวังว่า จะ
มีคนมาร่วมศึกษา“นวารยธัมม์” นี มากมาย แม้แต่ คนใกล้ชิดในครอบครัว สิทธา เองก็ตาม
เพราะ ตามหลักนวารยธัมม์ สิงมีชีวิต สะสมความรู้ ประสบการณ์ ในรูป “ธัมมสัจจะ”คือ
ความรู้ ความจริง ของแต่ละชีวิตทางกาย(ใน ดีเอ็นเอ)และทางจิต(ในภวังคจิต)ที ถ่ายทอด
[2]
สืบต่อมาประมาณ ๑๐๐ล้านปี (นับแต่เป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนม)ทีเป็นโปรแกรมชีวภาพทีเรา
ใช้ในการดําเนินชีวิตใช้ เพือการเกิดใหม่ในภพชาติต่อๆไปได้ นัน แม้ว่าความรู้ดังกล่าว เมือ
เทียบกับ ความรู้ “ปริพัทธสัจจะ”(หรือสมมุติสัจจะ อันเป็นความรู้ ความจําในสมอง ทีได้พบ
เห็น สัมผัสเรียนรู้ในชาตินี อย่างเช่น ความรู้ความจําประวัติเรืองราวต่างๆ ภาษา วัฒนธรรม
ความรู้ทัวไป ซึง ไม่สามารถ จดจําถ่ายทอด สืบต่อไปสู่ไปใช้ในชีวิตเกิดใหม่ในภพชาติใหม่
นัน) ธัมมสัจจะ มีมากกว่ามากก็ตาม แต่ ธรรมชาติของกายและจิต แม้ว่า จิตจะใช้ “ข้อมูล
ธัมมสัจจะ”จากภวังคจิต มาวิเคราะห์เหตุการณ์ สถานการณ์ ออกมา เป็นลักษณะอารมณ์
เป็น ลักษณะสัญชาตญาณ ก็ตาม จิตก็ยังให้โอกาส ให้ สมองใช้ข้อมูลในชาตินี เป็นอันดับ
แรก ในการดํารงชีวิต เรียนรู้ประสบการณ์ ชีวิต ข้อมูลใน“ภวังคจิต”นอกจากสะสมมา จาก
ประสบการณ์ ข้ามภพชาติแล้ว ประสบการณ์ ในชาตินี ทีกระทําบ่อยๆจนเกิดความเคยชิน
เกิดทักษะ ความชํานาญ ใช้ “ความรู้สึก” ในการกระทํา มากกว่า ใช้สมอง สมอง จะ บันทึก
เป็น“โปรแกรมอัตโนมัติ” จิต ก็จะยอมรับ บันทึกลงในภวังคจิต และนําข้อมูล ไปใช้ด้วย
เหตุการณ์ ทีให้ อารมณ์ ในระดับสูง คือ ระดับ อติมหันตารมณ์ จากปัญจทวารา (ตา
หู จมูก ลิน ผิว) หรือ วิภูตารมณ์ จาก มโทวารา ภวังคจิต ก็จะบันทึกอารมณ์ นัน เป็นข้อมูล
บุคลิกภาพส่วนบุคคล นํามาใช้ ดังหนึงเป็นสัญชาตญาณของคน คนนันด้วย จะเห็นว่า คน
ถูกหลอกให้กลัวผี ถูกจีจนหัวเราะแทบใจจะขาดแล้วต้องทําตามคําสังเขา ถูกหลอกให้ตก-
ใจ กลัวจิงจก หรือ ถูกหลอก ถูกล้างสมอง แบบอืนๆ ถูกสอนให้เชือ ให้ยึดมัน ถือมัน ในสิงที
ผิดเพียน คนเหล่านันก็จะ กลัวผี บ้าจี กลัวจิงจก หรือ เกิด “อุปาทาน-ยึดมัน ถือมัน ผิดๆ”
ความกลัว ความโกรธ เกลียด ฯลฯ มันเป็นอารมณ์ มันถูกสร้างด้วยจิต มิใช่สมอง ถึง
สมองจะคิดว่า ไม่กลัวๆๆ มันก็ยัง กลัวอยู่ แต่ ถ่าเราฝืน เราฝึกมันจะค่อยๆ ลดลง คนที มี
อุปาทานต่อสิงใดอยู่ก่อน สิงนันจะยึดติดในจิตใจเขา เป็นอัตตาตัวตน ของเขา หาก มีใคร
พูดในสิงทีเขาเชือ ทีเขามีอุปาทาน แต่พูด ข้อมูลไม่ครบ หรือ บางอย่างไม่ตรง เขาจะ อยาก
[3]
ทักท้วงโต้เถียง แต่ ถ้าพูดในทาง ตรงกันข้ามอุปาทานของเขา เขาจะ ไม่พอใจ ขุ่นเคือง ตัง
กําแพงใจ ปกป้ องอุปาทาน อัตตาตัวตนของเขา เห็นคน คนนันเป็น “ปรปักษ์”กับเขาทันที
การ สร้างสม ประสบการณ์ คุณธรรม ใน ภวังคจิต (ใน สันชาตญาณ) ต้อง ใช้เวลา
สะสม เพราะบ่ม “ขัดเกลาอุปาทาน มากและ ใช้เวลาเพือการ วิวัฒนาการ มามาก คนที จะ
รู้สึกสนใจใฝ่ธัมมะและ มีความสุขุมคําภีรภาพ พิจารณา ศึกษาธัมม์ จนเห็น ความถูกต้อง
จริงแท้ เหมาะสม ตาม เหตุ ผล สภาพการณ์ โดย ทําใจยุติธรรม เป็นกลางได้ โดย ไม่ยอม
ให้ ความ อคติ อุปาทาน โลภะ โทสะ โมหะ และ อกุศลต่างๆ มา บดบังความฉลาดแห่งจิต
ตนนัน หาได้ยากยิง เช่นเดียวกันกับ การศึกษา “นวารยธัมม์” ถ้าคนไม่ใฝ่รู้ ใฝ่ธัมม์ จริงๆ
ย่อม หาความสนใจ หาความเป็นกลางแห่งจิต และ หาคนทีพากเพียรจริง ได้ยากยิง
สิทธา จึง มิได้หวังว่า จะ มีคนมาสนใจ “นวารยะธัมม์”มากๆ หากจะมีบ้าง แม้ ไม่ถึง
สิบคน ก็ยังดี ทียังมี “คนในยุคเลยกึงพุทธกาล” สนใจ ศึกษาธัมมะทําความเข้าใจความจริง
แห่งธรรมชาติ สามารถนําไปปฏิบัติพัฒนาจิต เห็น“อุปทาน”ในจิตตน เห็น ภัย ในอุปาทาน
สังคม ได้ เปลียนแปลง ลบล้าง อุปาทานในจิตท่านเหล่านันเอง บันทึกกุศลจิดเหล่านัน ลง
ภวังคจิต ได้สืบต่อ ไปพัฒนาจิตให้ รู้แจ้งใน ธัมม์ เป็นผู้เจิญสุข ใน อนาคตชาติ ยิงๆขึน
“นวารยธัมม์” มีทังเนือหา หลักการ ทีเหมือนธรรมะทัวไปและต่างไปคนละอย่างหรือ
ตรงข้ามไปเลย “นวารยธัมม์” ไม่ใช่ ลัทธิไม่ใช่นิกายหรือ ฝ่ายฯของศาสนาใดๆ นวารยธัมม์
เน้น การพัฒนาจิต ศรัทธาเชือมัน ในความดีงาม พลังอํานาจแห่งจิตตนจิตมนุษย์ และ จิต
จักรวาล(พลังธรรมชาติ) ไม่งมงายในสิงศักดิสิทธิไม่เน้นพิธีกรรม และอุปาทานศรัทธา
เมือชาวนวารยะ สาธยาย ร่วมสาธยาย บทวรรณกรรม ทีเป็น ความรู้ แนววัฒนธรรม
สังคม แนวอุดมคติ ทีใช้ดําเนินชีวิตร่วมกัน สร้างสรรค์ ความเป็นธรรม เสรีภาพ สันติภาพ
เสมอภาค ภราดรภาพ(กัลยาณมิตร) ความอุดม สมบูรณ์ และ ความไพบูลย์แห่งมนุษย์ชาติ
นัน เป็น กิจกรรมสังคม เพือพัฒนาเอกัตตจิต(ลักษณะจิตเฉพาะบุคคล) พัฒนา“สหธัมมิก-
จิต” พัฒนาความสัมพันธ์ความผูกพัน กลมเกลียวกัน ในชุมชน และ สังคมมนุษยชาติ.

More Related Content

What's hot

วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาPadvee Academy
 

What's hot (20)

วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษา
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
 

Viewers also liked

GJF Portfolio 2015
GJF Portfolio  2015GJF Portfolio  2015
GJF Portfolio 2015Gary Fern
 
Knitkart final pitch deck
Knitkart  final pitch deckKnitkart  final pitch deck
Knitkart final pitch deckAmit Kumar
 
Iglesia santiago de pomata
Iglesia santiago de pomataIglesia santiago de pomata
Iglesia santiago de pomataRogher Ch Scobar
 
TFG L'aprenentatge cooperatiu a través d'un informatiu de l'escola NPallarés
TFG L'aprenentatge cooperatiu a través d'un informatiu de l'escola NPallarésTFG L'aprenentatge cooperatiu a través d'un informatiu de l'escola NPallarés
TFG L'aprenentatge cooperatiu a través d'un informatiu de l'escola NPallarésNoemi Pallarés Millán
 
Knitkart final pitch deck
Knitkart  final pitch deckKnitkart  final pitch deck
Knitkart final pitch deckAmit Kumar
 
Thysse krupp introducing tke_nov_2014_16-9_final
Thysse krupp introducing tke_nov_2014_16-9_finalThysse krupp introducing tke_nov_2014_16-9_final
Thysse krupp introducing tke_nov_2014_16-9_finalDavid Heaney
 

Viewers also liked (8)

GJF Portfolio 2015
GJF Portfolio  2015GJF Portfolio  2015
GJF Portfolio 2015
 
Knitkart final pitch deck
Knitkart  final pitch deckKnitkart  final pitch deck
Knitkart final pitch deck
 
JFITZ_Resume_2015
JFITZ_Resume_2015JFITZ_Resume_2015
JFITZ_Resume_2015
 
Procuretopia
ProcuretopiaProcuretopia
Procuretopia
 
Iglesia santiago de pomata
Iglesia santiago de pomataIglesia santiago de pomata
Iglesia santiago de pomata
 
TFG L'aprenentatge cooperatiu a través d'un informatiu de l'escola NPallarés
TFG L'aprenentatge cooperatiu a través d'un informatiu de l'escola NPallarésTFG L'aprenentatge cooperatiu a través d'un informatiu de l'escola NPallarés
TFG L'aprenentatge cooperatiu a través d'un informatiu de l'escola NPallarés
 
Knitkart final pitch deck
Knitkart  final pitch deckKnitkart  final pitch deck
Knitkart final pitch deck
 
Thysse krupp introducing tke_nov_2014_16-9_final
Thysse krupp introducing tke_nov_2014_16-9_finalThysse krupp introducing tke_nov_2014_16-9_final
Thysse krupp introducing tke_nov_2014_16-9_final
 

Similar to Aboutpdf

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมniralai
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขniralai
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงLove Oil
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์nok_bb
 
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุราทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุราareeluck pooknoy
 

Similar to Aboutpdf (20)

Chapter 11
Chapter 11Chapter 11
Chapter 11
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
 
Emotion604
Emotion604Emotion604
Emotion604
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6   intrinsic nature of a personCarita 6 จริต 6   intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma  Bhaddhatath Dhamma
Bhaddhatath Dhamma
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุราทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 

Aboutpdf

  • 1. [1] สิทธา&นวารยธัมม์ สิทธิ (อดีตรองผอ.โรงเรียนฯ)หรือ "สิทธา นวารยธัมม์" ได้ศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติจิต- ภาวนาตามอัธยาศรัย ตามความสงสัยความสนใจ อยากรู้ อยากพิสูจน์ความจริง ไม่อยาก เชือตามทีคนส่วนใหญ่เชือ บอกเล่า สังสอนตามๆกันมา โดยอาศัยแรงศรัทธาเป็นทีตัง จาก การศึกษา ปริยัติ ปฏิบัติ ภาวนาฯ มา มากกว่า ๑๐ ปี (เริม๒๕๔๗) ได้ เข้าใจ ความหมาย ความสอดคล้อง ของ “ปริยัติ กับการ ปฏิบัติ” ได้ สัมผัส สภาวะธรรม ทางกาย ทางจิต ได้รู้ความจริงทางธรรมชาติ ทีเป็นประโยชน์ ในการนํามา ประพฤติ ปฏิบัติ ให้ชีวิต ผ่อนคลาย สงบเย็น เป็นสุข และ ได้ ตระหนักรู้ ใน คุณค่าของ “ระบบโลกวิญญาณ” คือ ระบบการ กระจาย หมุนเวียน กลัน กรอง ทําความสะอาด ปรับปรุง ตนเอง ของ ธรรมชาติ สืงแลดล้อม” และ เข้าใจ เข้าถึง ความจริงทางธรรมชาติ อืนๆ ค่อนข้างมาก เดือน มีนาคม ๒๕๕๘ สิทธา มีอายุครบ ๖๗ ปี แล้ว น่าเสียดาย ถ้า สิงที ได้สัมผัส เรียนรู้ มา ต้องสูญหายไป กับชีวิตสิทธาโดยสูญเปล่า จึงคิดว่า น่าจะมีคนที มี ความสนใจ อยากทีจะ ร่วมศึกษา ธัมมะ อันเป็น ความจริงใน “ธรรมชาติแห่งจักรวาล” ความจริง ใน ธรรมชาติของร่างกายจิตใจ ศึกษาทําความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่าอันสูงยิงของ ธรรมชาติ “ธรรมชาติแวดล้อมทีสะอาดสวยงามอุดมสมบูรณ์ นัน เป็น ทุกอย่างแห่ง ปัจจัยสุขภาวะ ของทุกชีวิตและสุขภาวะ ของโลก อันเป็น นิเวศนสถาน แห่งเดียวของเราและของเผ่าพันธุ์ ลูกหลานมนุษย์เรา ในอนาคต” สิทธา จําเป็นต้องบอกความจริงกับท่าน ทีบังเอิญมาอ่านพบว่า สิทธามิได้หวังว่า จะ มีคนมาร่วมศึกษา“นวารยธัมม์” นี มากมาย แม้แต่ คนใกล้ชิดในครอบครัว สิทธา เองก็ตาม เพราะ ตามหลักนวารยธัมม์ สิงมีชีวิต สะสมความรู้ ประสบการณ์ ในรูป “ธัมมสัจจะ”คือ ความรู้ ความจริง ของแต่ละชีวิตทางกาย(ใน ดีเอ็นเอ)และทางจิต(ในภวังคจิต)ที ถ่ายทอด
  • 2. [2] สืบต่อมาประมาณ ๑๐๐ล้านปี (นับแต่เป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนม)ทีเป็นโปรแกรมชีวภาพทีเรา ใช้ในการดําเนินชีวิตใช้ เพือการเกิดใหม่ในภพชาติต่อๆไปได้ นัน แม้ว่าความรู้ดังกล่าว เมือ เทียบกับ ความรู้ “ปริพัทธสัจจะ”(หรือสมมุติสัจจะ อันเป็นความรู้ ความจําในสมอง ทีได้พบ เห็น สัมผัสเรียนรู้ในชาตินี อย่างเช่น ความรู้ความจําประวัติเรืองราวต่างๆ ภาษา วัฒนธรรม ความรู้ทัวไป ซึง ไม่สามารถ จดจําถ่ายทอด สืบต่อไปสู่ไปใช้ในชีวิตเกิดใหม่ในภพชาติใหม่ นัน) ธัมมสัจจะ มีมากกว่ามากก็ตาม แต่ ธรรมชาติของกายและจิต แม้ว่า จิตจะใช้ “ข้อมูล ธัมมสัจจะ”จากภวังคจิต มาวิเคราะห์เหตุการณ์ สถานการณ์ ออกมา เป็นลักษณะอารมณ์ เป็น ลักษณะสัญชาตญาณ ก็ตาม จิตก็ยังให้โอกาส ให้ สมองใช้ข้อมูลในชาตินี เป็นอันดับ แรก ในการดํารงชีวิต เรียนรู้ประสบการณ์ ชีวิต ข้อมูลใน“ภวังคจิต”นอกจากสะสมมา จาก ประสบการณ์ ข้ามภพชาติแล้ว ประสบการณ์ ในชาตินี ทีกระทําบ่อยๆจนเกิดความเคยชิน เกิดทักษะ ความชํานาญ ใช้ “ความรู้สึก” ในการกระทํา มากกว่า ใช้สมอง สมอง จะ บันทึก เป็น“โปรแกรมอัตโนมัติ” จิต ก็จะยอมรับ บันทึกลงในภวังคจิต และนําข้อมูล ไปใช้ด้วย เหตุการณ์ ทีให้ อารมณ์ ในระดับสูง คือ ระดับ อติมหันตารมณ์ จากปัญจทวารา (ตา หู จมูก ลิน ผิว) หรือ วิภูตารมณ์ จาก มโทวารา ภวังคจิต ก็จะบันทึกอารมณ์ นัน เป็นข้อมูล บุคลิกภาพส่วนบุคคล นํามาใช้ ดังหนึงเป็นสัญชาตญาณของคน คนนันด้วย จะเห็นว่า คน ถูกหลอกให้กลัวผี ถูกจีจนหัวเราะแทบใจจะขาดแล้วต้องทําตามคําสังเขา ถูกหลอกให้ตก- ใจ กลัวจิงจก หรือ ถูกหลอก ถูกล้างสมอง แบบอืนๆ ถูกสอนให้เชือ ให้ยึดมัน ถือมัน ในสิงที ผิดเพียน คนเหล่านันก็จะ กลัวผี บ้าจี กลัวจิงจก หรือ เกิด “อุปาทาน-ยึดมัน ถือมัน ผิดๆ” ความกลัว ความโกรธ เกลียด ฯลฯ มันเป็นอารมณ์ มันถูกสร้างด้วยจิต มิใช่สมอง ถึง สมองจะคิดว่า ไม่กลัวๆๆ มันก็ยัง กลัวอยู่ แต่ ถ่าเราฝืน เราฝึกมันจะค่อยๆ ลดลง คนที มี อุปาทานต่อสิงใดอยู่ก่อน สิงนันจะยึดติดในจิตใจเขา เป็นอัตตาตัวตน ของเขา หาก มีใคร พูดในสิงทีเขาเชือ ทีเขามีอุปาทาน แต่พูด ข้อมูลไม่ครบ หรือ บางอย่างไม่ตรง เขาจะ อยาก
  • 3. [3] ทักท้วงโต้เถียง แต่ ถ้าพูดในทาง ตรงกันข้ามอุปาทานของเขา เขาจะ ไม่พอใจ ขุ่นเคือง ตัง กําแพงใจ ปกป้ องอุปาทาน อัตตาตัวตนของเขา เห็นคน คนนันเป็น “ปรปักษ์”กับเขาทันที การ สร้างสม ประสบการณ์ คุณธรรม ใน ภวังคจิต (ใน สันชาตญาณ) ต้อง ใช้เวลา สะสม เพราะบ่ม “ขัดเกลาอุปาทาน มากและ ใช้เวลาเพือการ วิวัฒนาการ มามาก คนที จะ รู้สึกสนใจใฝ่ธัมมะและ มีความสุขุมคําภีรภาพ พิจารณา ศึกษาธัมม์ จนเห็น ความถูกต้อง จริงแท้ เหมาะสม ตาม เหตุ ผล สภาพการณ์ โดย ทําใจยุติธรรม เป็นกลางได้ โดย ไม่ยอม ให้ ความ อคติ อุปาทาน โลภะ โทสะ โมหะ และ อกุศลต่างๆ มา บดบังความฉลาดแห่งจิต ตนนัน หาได้ยากยิง เช่นเดียวกันกับ การศึกษา “นวารยธัมม์” ถ้าคนไม่ใฝ่รู้ ใฝ่ธัมม์ จริงๆ ย่อม หาความสนใจ หาความเป็นกลางแห่งจิต และ หาคนทีพากเพียรจริง ได้ยากยิง สิทธา จึง มิได้หวังว่า จะ มีคนมาสนใจ “นวารยะธัมม์”มากๆ หากจะมีบ้าง แม้ ไม่ถึง สิบคน ก็ยังดี ทียังมี “คนในยุคเลยกึงพุทธกาล” สนใจ ศึกษาธัมมะทําความเข้าใจความจริง แห่งธรรมชาติ สามารถนําไปปฏิบัติพัฒนาจิต เห็น“อุปทาน”ในจิตตน เห็น ภัย ในอุปาทาน สังคม ได้ เปลียนแปลง ลบล้าง อุปาทานในจิตท่านเหล่านันเอง บันทึกกุศลจิดเหล่านัน ลง ภวังคจิต ได้สืบต่อ ไปพัฒนาจิตให้ รู้แจ้งใน ธัมม์ เป็นผู้เจิญสุข ใน อนาคตชาติ ยิงๆขึน “นวารยธัมม์” มีทังเนือหา หลักการ ทีเหมือนธรรมะทัวไปและต่างไปคนละอย่างหรือ ตรงข้ามไปเลย “นวารยธัมม์” ไม่ใช่ ลัทธิไม่ใช่นิกายหรือ ฝ่ายฯของศาสนาใดๆ นวารยธัมม์ เน้น การพัฒนาจิต ศรัทธาเชือมัน ในความดีงาม พลังอํานาจแห่งจิตตนจิตมนุษย์ และ จิต จักรวาล(พลังธรรมชาติ) ไม่งมงายในสิงศักดิสิทธิไม่เน้นพิธีกรรม และอุปาทานศรัทธา เมือชาวนวารยะ สาธยาย ร่วมสาธยาย บทวรรณกรรม ทีเป็น ความรู้ แนววัฒนธรรม สังคม แนวอุดมคติ ทีใช้ดําเนินชีวิตร่วมกัน สร้างสรรค์ ความเป็นธรรม เสรีภาพ สันติภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ(กัลยาณมิตร) ความอุดม สมบูรณ์ และ ความไพบูลย์แห่งมนุษย์ชาติ นัน เป็น กิจกรรมสังคม เพือพัฒนาเอกัตตจิต(ลักษณะจิตเฉพาะบุคคล) พัฒนา“สหธัมมิก- จิต” พัฒนาความสัมพันธ์ความผูกพัน กลมเกลียวกัน ในชุมชน และ สังคมมนุษยชาติ.