Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

04 develop2

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad

Check these out next

1 of 30 Ad

More Related Content

Slideshows for you (20)

Similar to 04 develop2 (20)

Advertisement

More from etcenterrbru (20)

04 develop2

  1. 1. การพัฒนาตนเอง..พัฒนาอะไร..? ๑. การพัฒนากาย ๒. การพัฒนาจิตใจหรืออารมณ ๓. การพัฒนาทางสติปญญา รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 1 31
  2. 2. การพัฒนารางกาย ๑. การแตงกาย และกิริยาทาทางตาง ๆ ๒. รูปราง รูปทรง สุขภาพกาย ๓. เรื่องอาหาร การกิน ๔. ระบบภายในตาง ๆ ๕. การสรางภูมิคมกัน ุ รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 2 32
  3. 3. ปจจัยพื้นฐานในการพัฒนารางกาย ตองมีความเชื่อมันเปนพืนฐานวา ลักษณะทางกาย ่ ้ พฤติกรรม หรือนิสัยตาง ๆ พัฒนาไดโดยตองมีความ มุงมัน หรือ มีวินยในตนเอง ่ ั หลัก 6 อ. พื้นฐานในการพัฒนารางกาย -อาหาร -อุจจาระ -ออกกําลังกาย -อากาศ -เอนกาย(พักผอน) -เอาพิษออก รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 3 33
  4. 4. การพัฒนาจิตใจ-อารมณ 1.สุขภาพจิต สํารวจจิตใจโดยทั่วไปวาตนมีความสุข ทุกข หรือไมอยางไร สามารถอดทนตอปญหาหรือความกดดันได เพียงใด มีความคับของใจ หรือเบิกบานใจเพียงใด 2. นิสัยใจคอเปนอยางไร ไดแกนิสัยการเรียนรู นิสัยการ ทํางาน นิสยการแสดงออกทางอารมณเปนผลจากพฤติกรรม ั เคยชิน 3. การควบคุมตน และสภาพอารมณโดยรวมเปนอยางไร รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 4 34
  5. 5. ลักษณะของอารมณและ EQ ของบุคคล อารมณคออะไร ื คือสภาพความรูสึกที่เปลี่ยนแปลงตามกระแสสิ่งเราที่มา กระทบประสาทสัมผัส เชน รูสึกดีใจ เสียใจ รูสึกโกรธ รูสึกเกลียด รูสึกสงสาร ฯ EQ คืออะไร คือความสามารถในการใชอารมณ การบริหารอารมณ เพื่อใหเกิดประโยชนตอการทํางาน :ความฉลาดทาง  อารมณ 5 35
  6. 6. ลักษณะอารมณ 2 มิติ มิติที่ 1 ลักษณะดีหรืออารมณในทางกอ(EQ สูง) ไดแก 1. อารมณแหงมุงมั่นทุมเท 2. อารมณแหงความรักความเห็นใจ 3. อารมณแหงความตื่นตัวกระตือรือรน 4. อารมณแหงความหวัง 5. อารมณแหงความศรัทธา 6 36
  7. 7. ลักษณะอารมณ 2 มิติ มิติที่ 2 ลักษณะอารมณในทางทําลาย(EQ ต่ํา) 1. อารมณแหงความกลัว-วิตกกังวล 2. อารมณแหงความอิจฉา 3. อารมณแหงความเกลียดชัง-โกรธ 4. อารมณแหงความอาฆาตพยาบาท 5. อารมณแหงความโลภ อยากไดไมสนสุด ิ้ “อารมณราย ทําลายตนเองและผูอื่น” 7 37
  8. 8. อารมณเครียด.. อารมณราย ผลเสียของอารมณเครียด ๑. สุขภาพรางกายบกพรอง ๒. สุขภาพจิตเสื่อม ๓. พฤติกรรมผิดปกติ(กายกับอารมณสมพันธกัน) ั ๔. มีสัมพันธภาพที่ๆไมดี ๕. อาจทําใหเปนโรคจิตหรือโรคประสาท ๖. การทํางานบกพรอง ลมเหลว รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 8 38
  9. 9. เทคนิคการปรับลดความเครียด ๑. ทําความเขาใจแยกแยะกับสิ่งที่ทําใหเครียด ๒. ปรับเจตคติตอปญหา ใหคดวาปญหาเปนเรื่อง ิ ปกติของการทํางาน ๓. ปรับนิสยใหเปนคนมองโลกในแงดี ั ๔. การฝกสมาธิ หรือบริหารจิต ๕. ตองปลอยวาง อยายึดติด รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 9 39
  10. 10. การจัดการกับอารมณโกรธ อารมณโกรธ คืออารมณรายที่ทําลายตนเองและคนรอบ ขาง..จงเตือนตนเสมอวา.” โกรธคือโง...โมโหคือบา “ . ผลเสียของอารมณโกรธ 1. ทําใหเสียบุคลิกภาพ ดูไมสงา ไมนาดู 2. ทําใหเสียสัมพันธภาพทางสังคม 3. ทําใหขาดสติยับยั้งในการคิดการทํางาน 4. ทําใหเกิดความผิดปกติในระบบภายใน รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 10 40
  11. 11. แนวทางควบคุมอารมณโกรธ ๑. อยาเปนคนใจรอนวูวาม ๒. ฝกฝนตรวจสอบจิตใจตนเองเสมอ ๓. อยาฝกนิสยใหเปนคนขี้อิจฉาตารอน ั ๔. อยาเปนคนมีนสัยผูกใจเจ็บ อาฆาตแคน ิ ๕. ฝกความอดทน ใจเย็น หนักแนน ๖. ฝกนิสยใหเปนคนใหอภัยคนอืน ั ่ ๗. ใชสติทบทวนถึงผลเสียของอารมณโกรธ รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 11 41
  12. 12. อารมณรายทําลายตนเอง อารมณโกรธ เกลียด คืออารมณรายทําลายตนเองและคน รอบขาง “อารมณโกรธ เกลียด เปรียบเสมือนไฟ ..ไฟเผาไหมดนุ ฟนใหมอดไหมไดฉันใด อารมณโกรธก็จะเผาตัวเองและ คนรอบขางไดฉนนัน” ั ้ ..จงดูจตใจตนเอง ทานเปนคนมีอารมณโกรธ เกลียด เปน ิ นิสัยหรือไม..? ..? รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 12 42
  13. 13. อารมณรายทําใหกลายเปนคนนาชัง เมือมีอารมณรายเขามา...... ่ คนใจสูง กลายเปน คนใจต่ํา คนใจดี กลายเปน คนใจดํา คนใจงาม กลายเปน คนใจงาย คนไวใจได กลายเปน คนโลเล คนมีเสนห กลายเปน คนนาชัง “จึงตองระมัดระวัง อารมณตนเองตลอดเวลา” 43
  14. 14. ลักษณะผูที่มี EQ สูง 1.แสดงความรูสึกตนไดชดเจน ั ตรงไปตรงมา 2.สามารถผสมผสานความคิด เหตุผล และความเปนจริง ไดอยางสมดุล 3.มีความเปนอิสระ พึ่งพาตนเองได 4.สามารถปรับตัว นําอารมณกลับสูภาวะปกติไดดี  5.มองโลกในแงดี ไมยอมแพอุปสรรค 14 44
  15. 15. ลักษณะผูที่มี EQ สูง 6. ใหความสําคัญความคิดความรูสกผูอื่น ึ 7. ไมถูกครอบงําดวยอารมณรายตาง ๆ 8. มีความรูสึกเปนธรรมชาติ 9. สามารถแยกแยะความคิดออกจากความรูสึก 10. มองหาแงมุมทีดี จากภาวะอารมณทางลบใน ่ สถานการณอันเลวราย
  16. 16. ลักษณะผูที่มี EQ ต่ํา 1. ไมรับผิดชอบตอความรูสกตน แตชอบวิพากษตําหนิ ึ ผูอื่น 2. ชอบกลาวหา ตําหนิ ตัดสิน ทําลายขวัญผูอื่น 3. บุมบาม ฉุนเฉียว ทําเรื่องเล็กใหเปนเรื่องใหญ 4. ขาดสติสัมปชัญญะ สิ่งที่พูดกับสิงที่ทําไมตรงกัน ่ 5. ผูกใจเจ็บ อาฆาตแคน ใหอภัยคนไมได 16
  17. 17. ลักษณะผูที่มี EQ ต่ํา 6. ไมใสใจความรูสกนึกคิดของผูอื่น ึ 7. ชอบทําใหผูอื่นรูสึกวาเขาผิด 8. ยึดมันในความคิด ความเชื่อของตนเอง ่ 9. ไมเปนผูฟงที่ดี บันทองกําลังใจคูสนทนา ่  10. สรางภาพวาตนเองดี เกง ฉลาดเหนือใคร ไมสนใจวา คนอื่นจะมองตนเองอยางไร 17
  18. 18. ลักษณะจริยธรรมที่ควรพัฒนา 1. หลักธรรมที่ควรยึดมันในการเรียน ประกอบกิจการตางๆ ่ คือธรรมมีอปการะมาก 2 คือ สติ สัมปชัญญะ ุ สติ : หมายถึงความรูตัว ความระลึกได ความระลึก ชอบ คือระมัดระวังไมประมาทพลั้งเผลอในโอกาส ตางๆ สัมปชัญญะ : คือความรูตัวตลอดเวลาวาเราเปนใคร เรากําลังทําอะไร 18
  19. 19. ลักษณะจริยธรรมที่ควรพัฒนา 2.หลักธรรมที่ควรยึดเปนแนวทางในการทํางาน หรือการเรียน ใหสําเร็จ คือ อิทธิบาท 4 ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา ฉันทะ : หมายถึง การมีความรักความพอใจในสิ่งที่ทํา วิริยะ : คือความพากเพียรพยายามในการทํางาน จิตตะ : คือการเอาใจใส จดจอตอการทํางานนั้น วิมังสา : คือการพิจารณาใครครวญไตรตรองใหรอบคอบ 19
  20. 20. ลักษณะจริยธรรมที่ควรพัฒนา 3.หลักธรรมที่ควรยึดเปนแนวทางในการผูกมิตร เหนี่ยวรั้งน้ําใจ กัน คือ สังคหวัตถุ 4 ทาน ปยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา ทาน : การให ความเอื้อเฟอเผื่อแผ ความเสียสละ ปยวาจา : การสื่อสาร พูดคุยดวยถอยคําออนหวาน อัตถจริยา : การเกื้อกูล ชวยเหลือกันและกัน สมานัตตตา: การวางตัวเหมาะสม เสมอตนเสมอปลาย 20
  21. 21. สรุปแนวทางพัฒนาอารมณ/จริยธรรมตน 1. สรางความเขาใจตน ตรวจสอบอารมณ/ จริยธรรมของตน รูเทาทันอารมณ จิตใจของตน ศึกษาตรวจสอบอารมณตนเสมอ มีความเชื่อมั่นในตนเอง แยกแยะอารมณของตนได 21
  22. 22. สรุปแนวทางพัฒนาอารมณจริยธรรมตน 2. ฝกฝนการควบคุมตนเอง สามารถจัดการกับภาวะอารมณตน มีวนย มีความรับผิดชอบ ิ ั ยึดมันในจริยธรรมความดี ่ เปนคนใจกวางยอมรับการ เปลี่ยนแปลง 22
  23. 23. การพัฒนาการคิด/สติปญญา สติปญญา หมายถึงความสามารถในการคิด การแกปญหา  1. ดานความรูทั่วไป ขอมูลเกียวกับการดําเนินชีวิต การเมือง ่ เศรษฐกิจ และสังคมและอาชีพ 2. การคิด ตัดสินใจ การแกปญหา มีความสามารถในการ  ตัดสินใจแกปญหา การคิดแยกแยะวิเคราะห-สังเคราะหดดี ี เพียงใด มีความคิดสรางสรรค มีความคิดที่เปนระบบหรือไม 3. ความสามารถพิเศษ หรือมีทักษะพิเศษอะไรบาง รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 23
  24. 24. คุณสมบัติบางประการที่เอือตอการคิด ้ 1. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 2. กระตือรือรนตื่นตัวอยูเสมอ 3. ชางสังเกตและวิเคราะห 4. เปนคนใจกวาง 5. มีความขยันและอดทน 6. ใฝรูและไวตอความรูสึกนึกคิด 54
  25. 25. อุปสรรคขัดขวางการพัฒนาความคิด การตอบสนองตามความเคยชิน ขาดความเชื่อมั่นชอบพูดวาตนไรความสมารถ มีอคติชอบคิดทุกเรื่องในทางลบ กลัววาตนเองจะเปนแกะดํา กลัวตอความลมเหลว ติดยึดกรอบความคิดเดิม ๆ 55
  26. 26. การฝกฝนเพือพัฒนาการคิด ่ 1. ฝกการสังเกตสิ่งตาง ๆ ที่พบเห็น 2. ฝกการบันทึกขอมูลเรื่องราว 3. ฝกการนําเสนอตอที่ประชุม 4. ฝกการฟง สรางสมาธิในการฟง 5. ฝกปุจฉา-วิสชนา ั 56
  27. 27. การฝกฝนเพือพัฒนาการคิด(ตอ) ่ 6. ฝกการตั้งสมมติฐานและตั้งคําถาม 7. ฝกการคนหาคําตอบ ดวยการวิเคราะห 8. ฝกการวิจัย เพือคนพบความรูใหม ่ 9. ฝกการเชื่อมโยงและบูรณาการความคิด 10. ฝกการเขียนและการเรียบเรียง 57
  28. 28. การพัฒนาตนเองภายใน 30 วัน เลิกนิสัยตอไปนี้ใหได 1. การผัดวันประกันพรุง 2. การคิดในทางลบ หรือในทางไมดี 3. การชอบนินทาวารายคนอื่น 4. ดู T.V เกิน 60 นาที/วัน รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 28
  29. 29. การพัฒนาตนเองภายใน 30 วัน(ตอ) สรางนิสัยตอไปนี้ 1. สํารวจตนเองทุกวัน 2. วางแผนการทํางานทุกวัน 3. ชืนชมคนอืนทุกโอกาส ่ ่ ลับสมองตนเอง 1. ใชเวลาคิดวันละ 30 นาที 2. อานหนังสือพิมพ/วารสาร สัปดาหละ 4 ชัวโมง ่ 3. อานหนังสือพัฒนาตนเองเดือนละ 1 เลม รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 29
  30. 30. จบแลวครับ รศ. เฉลา ประเสริฐสังข 30

×